SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
1
บรรยายเรื่อง”สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับ
การผลิตแรงงานในประเทศ”
โดย
รศ. ดร.ยงยทธ แฉล้มวงษ์
ผู้อานวยการวืจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
เสนอต่อที่ประชุมเวทีสาธารณะ “ปฏิรูปประเทศไทย ปฏิรูปการศึกษาไทย”
ณ. โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ
25 พฤศจิกายน 2553 เวลา 10:30-12:00 น.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
-1-
2
การจัดการศึกษาที่ผ่านมา
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
-2-
มูลศึกษา - Kindergarten
ประถม 4 ปี
มัธยมต้น 4 ปี
ประถมวิสามัญ 2 ปี ประถมวิสามัญ 2 ปี
การศึกษาในอดีตสร้างคนเข้าสู่การ
ประกอบอาชีพได้ทุกระดับการศึกษา
ปัจจุบันไม่ได้เตรียมคนเข้าสู่อาชีพ
เหมือนเมื่อก่อน
มัธยมวิสามัญอุตสาหกรรม
มัธยมวิสามัญกสิกรรม
มัธยมวิสามัญอื่นๆ
มัธยมวิสามัญพณิชยการ
มัธยมปลายอักษรศาสตร์
มัธยมปลายวิทยาศาสตร์
มัธยมปลายการช่างฝีมือ
อุดมเศรษฐศาสตร์
อุดมธรรมศาสตร์
อุดมอักษรศาสตร์
อุดมแพทยศาสตร์
อุดมวิศวกรรมศาสตร์
อุดมเกษตรศาสตร์
อุดมวิทยาศาสตร์
ค้นหาความรู้ต่อไป
4
ผลการจัดการศึกษาเกิดความไม่สอดคล้อง
ระหว่าง
การผลิตแรงงานกับความต้องการแรงงานทั้ง
ในระดับประเทศและกลุ่มจังหวัด
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
-4-
แรงงานที่ไม่มีวุฒิ 1.17ล้าน แรงงานที่มีวุฒิประถมฯ 20.49 ล้าน
ม.ต้น 5.94ล้าน ม.ปลาย 3.78 ล้าน ปวช. 1.34 ล้าน ปวส. 1.69
ล้าน ป .ตรีขึ้นไป 4.36 ล้าน
เราจัดการศึกษาเพื่ออะไร?
เพื่อการทางานและหรือเพื่อชีวิต
Flow และ Stock ของคน
มนุษย์เงินเดือนในภาคราชการ ธุรกิจ อุตสาหกรรม ที่มีวุฒิ
ประมาณ 3-5 ล้านคน
พนักงานในภาคการผลิตและบริการที่ไม่มีวุฒิวิชาการวิชาชีพ
แต่ต้องการพัฒนาความรู้และทักษะ 7-10 ล้าน??
เกษตรกร 11-12 ล้านคน
ผู้ประกอบอาชีพอิสระ 10ล้าน??
คนในวัยทางาน 38. 8 ล้านคน (2552)
แรงงานต่างด้าว 2 ล้านม.3 ม.6
อุดมศึกษาผู้เรียนส่วนมากมุ่ง
สู่อุดมศึกษา
จบ ม.3 ออกทางาน
0.1 ล้านคนต่อปี
0.85 ล้านคนต่อปี
0.6 ล้าน 0.3 ล้าน
จบ ม.6 ออกทางาน
0,2 ล้านคน
จบ ปวส. ออกทางาน
การศึกษาในระบบปกติ
อาชีพปฐมวัยและ
อนุบาล
การศึกษา
พื้นฐาน 12 ปี
Productivity และ ความสามารถในการแข่งขัน ช่วง 10-15 ปีข้างหน้า มาจากกาลังแรงงาน
ที่มา: ดัดแปลงจาก กฤณพงศ์ กีรติกร, วิกฤติ กระบวนทัศน์ มโนทัศน์ เพื่อการปฏิรูปการศึกษา (2552), หน้า 29
6
โครงสร้างกาลังแรงงาน
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ที่มา: ข้อมูลการสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาส 2,สานักงานสถิติแห่งชาติ
 กาลังแรงงาน ตามระดับการศึกษา ขาดสมดุลอย่างรุนแรง
(1)
(1)
(2) (3)
1 2 31 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
ประเภทอาชีพ
ระดับการศึกษาที่จบ (คน)
ม.ต้นหรือ
ต่ากว่า
ม.ปลาย ปวช ปวส ป.ตรี ป.โท ขึ้นไป รวม
ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับ
อาวุโสและผู้จัดการ
413,124 125,950 44,357 71,688 267,534 124,914 1,047,567
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 36,223 16,748 12,094 30,101 1,180,737 211,199 1,487,102
ช่างเทคนิคสาขาต่างๆ และผู้ประกอบ
วิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
275,037 146,436 127,455 266,500 661,961 42,127 1,519,516
เสมียน 259,839 198,467 133,582 226,762 575,463 32,114 1,426,227
พนักงานบริการ และพนักงานขายใน
ร้านค้าและตลาด
4,270,056 996,305 358,078 392,658 596,855 40,237 6,654,189
ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร
และการประมง
11,663,550 939,917 177,175 189,096 150,271 2,457 13,122,466
ผู้ปฏิบัติงานในธุรกิจด้านความสามารถ
ทางฝีมือและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3,778,938 467,641 187,647 245,384 118,506 2,113 4,800,229
ผู้ปฏิบัติการเครื่องจักรโรงงานและ
เครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการ
ประกอบ
2,146,494 458,455 151,745 140,262 54,576 169 2,951,701
อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ 4,076,923 392,819 85,188 82,238 47,847 5,331 4,690,346
รวม 26,920,184 3,742,738 1,277,321 1,644,689 3,653,750 460,661 37,699,343
7
โครงสร้างการจ้างงาน
 การจ้างงานใช้คนการศึกษาน้อยมากเกินไปแต่กลับใช้คนจบสายวิชาชีพน้อยเกินไป
ที่มา: ข้อมูลการสารวจภาวะการทางานของประชากร เฉลี่ย 4 ไตรมาส,สานักงานสถิติแห่งชาติ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ม.ต้น หรือต่ากว่า
0
100
200
300
400
500
600
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ปี พ.ศ.
จานวน(พันคน)
Demand
Supply(Con1)
Supply(Con2)
8ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,2552
หมายเหตุ: Supply(Con1) = อุปทานแรงงานใหม่ + ผู้ว่างงานที่หางานทา + ผู้ว่างงานที่ไม่หางานทา
Supply(Con2) = อุปทานแรงงานใหม่ + ผู้ว่างงานที่หางานทา
เปรียบเทียบอุปสงค์แรงงานและอุปทานแรงงานในตลาดแรงงาน
จาแนกตามระดับการศึกษา ปี 2553-2562
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ม.ปลาย
0
50
100
150
200
250
300
350
400
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ปี พ.ศ.
จานวน(พันคน)
Demand
Supply(Con1)
Supply(Con2)
-8-
ยังต้องการใช้คนจบ
มัธยมมากเกินไป
9
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,2552
หมายเหตุ: Supply(Con1) = อุปทานแรงงานใหม่ + ผู้ว่างงานที่หางานทา + ผู้ว่างงานที่ไม่หางานทา
Supply(Con2) = อุปทานแรงงานใหม่ + ผู้ว่างงานที่หางานทา
ปวช.
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
50
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ปี พ.ศ.
จานวน(พันคน)
Demand
Supply(Con1)
Supply(Con2)
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
เปรียบเทียบอุปสงค์แรงงานและอุปทานแรงงานในตลาดแรงงาน
จาแนกตามระดับการศึกษา ปี 2553-2562(ต่อ)
ปวส.
0
20
40
60
80
100
120
140
160
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ปี พ.ศ.
จานวน(พันคน)
Demand
Supply(Con1)
Supply(Con2)
-9-
มีคนจบสายอาชีพที่ไม่มีใครต้องการมากเกินไป
10
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,2552
หมายเหตุ: Supply(Con1) = อุปทานแรงงานใหม่ + ผู้ว่างงานที่หางานทา + ผู้ว่างงานที่ไม่หางานทา
Supply(Con2) = อุปทานแรงงานใหม่ + ผู้ว่างงานที่หางานทา
ป. ตรี
0
50
100
150
200
250
300
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ปี พ.ศ.
จานวน(พันคน)
Demand
Supply(Con1)
Supply(Con2)
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
เปรียบเทียบอุปสงค์แรงงานและอุปทานแรงงานในตลาดแรงงาน
จาแนกตามระดับการศึกษา ปี 2553-2562(ต่อ)
ป. โท ขึ้นไป
0
20
40
60
80
100
120
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ปี พ.ศ.
จานวน(พันคน)
Demand
Supply(Con1)
Supply(Con2)
-10-
ยังใช้ผู้จบป.ตรีน้อยเกินไป ยังมีผู้ต้องการจ้างป.โทอีกมาก
8 กลุ่มจังหวัดที่ทาการศึกษา
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ภาคเหนือ 2 กลุ่ม
ภาคกลาง 2 กลุ่ม
ภาคใต้ 1 กลุ่ม
ภาคตะวันออก
1 กลุ่ม
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2 กลุ่ม
-11-
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน (D & S) ในแต่
กลุ่มจังหวัดเปรียบเทียบกับทั้งประเทศ
-12-
13
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
1 = ม.ต้นหรือต่ากว่า 2 = ม.ปลาย 3 = ปวช.
4 = ปวส. 5 = ปริญญาตรี 6 = ปริญญาโทขึ้นไป ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
14
ระดับการศึกษา
ความไม่สมดุล
กลุ่มภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ทั้งประเทศ
ม.ต้นหรือต่ากว่า D > S มากที่สุด D > S มากที่สุด
ม.ปลาย D > S มาก D > S มาก
ปวช./ปวส D > Sมาก/D< Sค่อนข้างมาก D < S มาก /D≈S
ป.ตรี D > S มาก D < S
ป.โท D > S มาก D > S มาก
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
เปรียบเทียบเงินเดือนเฉลี่ยของ
ลูกจ้างเอกชนกับประเทศ ปี 2552
15
4,890
5,748 6,712
8,802
10,002
16,350
35,094
7,224
5,096 5,270 6,242 6,350 6,954
9,255
22,200
5,690
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
40,000
บาทต่อเดือน
ประเทศ ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
ที่มา: ข้อมูลสารวจภาวะการมีงานทาของประชากร,สานักงานสถิติแห่งชาติ
D&S
15
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16
1 = ม.ต้นหรือต่ากว่า 2 = ม.ปลาย 3 = ปวช.
4 = ปวส. 5 = ปริญญาตรี 6 = ปริญญาโทขึ้นไป
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนกลาง
ระดับการศึกษา
ความไม่สมดุล
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียง
เหนือตอนกลาง
ทั้งประเทศ
ม.ต้นหรือต่ากว่า D > S มากที่สุด D > S มากที่สุด
ม.ปลาย D < S ค่อนข้างมาก D > S มาก
ปวช./ปวส D < S มาก/D< S มากที่สุด D < S มาก /D≈S
ป.ตรี D < S มากที่สุด D < S
ป.โท D < S มากที่สุด D > S มาก
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
17
เปรียบเทียบเงินเดือนเฉลี่ยของ
ลูกจ้างเอกชนกับประเทศ ปี 2552
18
ที่มา: ข้อมูลสารวจภาวะการมีงานทาของประชากร,สานักงานสถิติแห่งชาติ
3,684 4,521 4,663 5,631
8,131
11,629
17,788
4,7364,890 5,748 6,712
8,802
10,002
16,350
35,094
7,224
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
40,000
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ทั้งประเทศ
D&S
18
19
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
1 = ม.ต้นหรือต่ากว่า 2 = ม.ปลาย 3 = ปวช.
4 = ปวส. 5 = ปริญญาตรี 6 = ปริญญาโทขึ้นไป
20
ระดับการศึกษา
ความไม่สมดุล
กลุ่มภาคกลางตอนบน 1 ทั้งประเทศ
ม.ต้นหรือต่ากว่า D > S มากที่สุด D > S มากที่สุด
ม.ปลาย D > S มาก D > S มาก
ปวช./ปวส D ≈ S/D< S มากที่สุด D < S มาก /D≈S
ป.ตรี D < S มากที่สุด D < S
ป.โท D ≈ S D > S มาก
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
21
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
1 = ม.ต้นหรือต่ากว่า 2 = ม.ปลาย 3 = ปวช.
4 = ปวส. 5 = ปริญญาตรี 6 = ปริญญาโทขึ้นไป
22
ระดับการศึกษา
ความไม่สมดุล
กลุ่มภาคกลางตอนล่าง 1 ทั้งประเทศ
ม.ต้นหรือต่ากว่า D > S มากที่สุด D > S มากที่สุด
ม.ปลาย D > S มาก D > S มาก
ปวช./ปวส
D > S ค่อนข้างมาก/D< S
มาก
D < S มาก /D≈S
ป.ตรี D < S มาก D < S
ป.โท D < S มากที่สุด D > S มาก
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 23
1 = ม.ต้นหรือต่ากว่า 2 = ม.ปลาย 3 = ปวช.
4 = ปวส. 5 = ปริญญาตรี 6 = ปริญญาโทขึ้นไป
24
ระดับการศึกษา
ความไม่สมดุล
กลุ่มภาคตะวันออก ทั้งประเทศ
ม.ต้นหรือต่ากว่า D > S มากที่สุด D > S มากที่สุด
ม.ปลาย D > S มาก D > S มาก
ปวช./ปวส D ≈ S/D< S มาก D < S มาก /D≈S
ป.ตรี D < S มาก D < S
ป.โท D > S ค่อนข้างมาก D > S มาก
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
25
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
1 = ม.ต้นหรือต่ากว่า 2 = ม.ปลาย 3 = ปวช.
4 = ปวส. 5 = ปริญญาตรี 6 = ปริญญาโทขึ้นไป
ระดับการศึกษา
ความไม่สมดุล
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน1
ทั้งประเทศ
ม.ต้นหรือต่ากว่า D > S มากที่สุด D > S มากที่สุด
ม.ปลาย D < S ค่อนข้างมาก D > S มาก
ปวช./ปวส D < S มาก/D< S มากที่สุด D < S มาก /D≈S
ป.ตรี D < S มากที่สุด D < S
ป.โท D > S ค่อนข้างมาก D > S มาก
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 26
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
1 = ม.ต้นหรือต่ากว่า 2 = ม.ปลาย 3 = ปวช.
4 = ปวส. 5 = ปริญญาตรี 6 = ปริญญาโทขึ้นไป 27
ระดับการศึกษา
ความไม่สมดุล
กลุ่มภาคเหนือตอนบน1 ทั้งประเทศ
ม.ต้นหรือต่ากว่า D > S มากที่สุด D > S มากที่สุด
ม.ปลาย D > S ค่อนข้างน้อย D > S มาก
ปวช./ปวส. D ≈ S /D< S มากที่สุด D < S มาก /D≈S
ป.ตรี D < S มากที่สุด D < S
ป.โท D < S มากที่สุด D > S มาก
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 28
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 29
1 = ม.ต้นหรือต่ากว่า 2 = ม.ปลาย 3 = ปวช.
4 = ปวส. 5 = ปริญญาตรี 6 = ปริญญาโทขึ้นไป
ระดับการศึกษา
ความไม่สมดุล
กลุ่มภาคเหนือตอนล่าง 1 ทั้งประเทศ
ม.ต้นหรือต่ากว่า D > S มากที่สุด D > S มากที่สุด
ม.ปลาย D < S ค่อนข้างมาก D > S มาก
ปวช./ปวส. D < S ค่อนข้างมาก/D< S มากที่สุด D < S มาก /D≈S
ป.ตรี D < S มากที่สุด D < S
ป.โท D < S มากที่สุด D > S มาก
ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 30
31
2. ด้านการผลิตกาลังคน ประเทศไทยมีผู้จบม.ปลายเฉลี่ยเกือบปีละ 3 แสนคน ขณะที่มี
ผู้จบอาชีวศึกษา(ปวช.+ปวส.)เฉลี่ยเกือบปีละ 4 แสนคน แต่กลับพบว่าทั้ง 2 กลุ่มมี
สัดส่วนผู้เข้าสู่ตลาดแรงงานน้อยมาก เนื่องจากต้องการเรียนต่อเพื่อให้ได้ใบปริญญา
และคาดหวังว่าจะได้งานที่เงินเดือนสูงขึ้น
สิ่งที่เรียนรู้คือตลาดแรงงานตามระดับการศึกษาขาดสมดุล
1. โครงสร้างการจ้างงานของประเทศยังคงพึ่งพาแรงงานระดับล่างเป็นสัดส่วนที่สูงมาก
ขณะที่กลุ่มแรงงานที่จบปริญญาตรีมีสัดส่วนการว่างงานสูงกว่าแรงงานในระดับการศึกษาอื่นๆ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
3. ตลาดแรงงานในระดับมัธยมหรือต่ากว่า มีอุปสงค์เกินกว่าอุปทานราวปีละ 3-4
แสนคนทาให้การขาดแคลนแรงงานระดับล่างอยู่ในขั้นวิกฤติ แต่ที่ผ่านมาสถาน
ประกอบยังดาเนินการและแข่งขันอยู่ได้ เพราะใช้พวกนักเรียน drop- out และ
แรงงานต่างด้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน
-31-
32
6. ตลาดแรงงานปริญญาตรีจัดอยู่ในขั้นวิกฤติ จะมีอุปทานมากกว่าอุปสงค์ไปอีกนาน
(ถ้ายังไม่แก้ไข) อย่างน้อยจะมีผู้ที่จบปริญญาตรีว่างงานประมาณร้อยละ 30 ของผู้ที่
จบทุกปีและจะสะสมจนว่างงานนับแสนคน(เป็นการสูญเปล่าทางสังคมมหาศาล)
สรุป (ต่อ)
5. ตลาด ปวส. เป็นตลาดที่ใหญ่กว่าตลาด ปวช. และแนวโน้มความต้องการ ปวส. มีมากกว่า
ปวช. โดยในช่วงแรกอุปทานจะมากกว่าอุปสงค์เล็กน้อย แต่ในระยะยาว อุปสงค์จะปรับตัวเพิ่ม
สูงขึ้นจนมากกว่าอุปทานซึ่งการขยายอุปทาน ปวช.จะช่วยแก้ปัญหานี้ได้ในระยะยาว
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
สรุป ประเทศไทยมีผู้ประกอบการเศรษฐกิจที่ติดกับดักอยู่กับการใช้แรงงานที่มีการศึกษาต่าๆ
(กว่าม.ต้น) และไม่สามารถหลุดพ้นวังวนนี้ไปได้ในเวลาอันใกล้นี้ รวมทั้งปัญหา mismatch ของ
D&S เชิงโครงสร้างและคุณภาพจะยังคงอยู่กับตลาดแรงงานไทยไปอีกหลายปี (ถ้าไม่ช่วยกันแก้
อย่างจริงจังก็จะต้องพึ่งพาแรงงานต่างด้าวไปอีกนาน
-32-
4. ตลาด ปวช. เป็นตลาดที่ยังเล็กมาก มีอุปทานมากกว่าอุปสงค์ เฉลี่ยประมาณปีละ 2-3
หมื่น ทั้งนี้อาจสืบเนื่องจากแรงงาน ปวช. ส่วนใหญ่ขาดวัยวุฒิและคุณลักษณะที่ไม่
เหมาะสมที่จะปฏิบัติงาน ดังนั้น การเพิ่มศักยภาพฝีมือแรงงานระดับนี้จึงเป็นสิ่งจาเป็น
33
คุณภาพการศึกษาไทยตกต่าเหตุผลหนึ่งคือมีปัญหา
ขาดแคลนครูทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
นอกจากนั้นยังต้องสอนโดยไม่ตรงวุฒิ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
-33-
จานวนการขาดแคลนข้าราชการครูตามเกณฑ์
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย-34-
ประเภท
โรงเรียน
จานวน(คน/อัตรา)
นักเรียน ครูควรมี
ตามเกณฑ์
ครูมีจริง -ครูขาด/+
เกิน
จ้าง
พนักงาน
ราชการ
-สรุปครูขาด/+
เกิน
ประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา
8,300,810 484,777 426,363 -58,414 16,887 -41,527
ศึกษาพิเศษและ
ศูนย์การศึกษา
พิเศษ
29,647 6,301 1,338 -4,963 1,285 -3,678
ที่มา: สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2551)
จานวนการขาดแคลนข้าราชการครูอาชีวศึกษาตามเกณฑ์
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย-35-
ที่มา: สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (2551)
จานวนนักเรียน/นักศึกษา จานวน
ข้าราชการ
ครูที่สอน
จริง
จานวนข้าราชการครูที่ควรมีตาม
เกณฑ์
สรุป
ขาดครู
ปวช.และ
ปวส.
หลักสูตร
ระยะสั้น
รวม
รวม ปวช.และ
ปวส.
ระยะสั้น รวม
689,252 357,370 1,046,622 15,491 34,463 4,467 38,478 -23,439
จานวนครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายที่สอนตรงและไม่ตรงตามวุฒิ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
-36-
ที่มา: รศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์และคณะ (2549)
ครูระดับ
มัธยมศึกษา
สอนตรงตามคุณวุฒิ
วิชาเอก
สอนตรงตามคุณวุฒิ
วิชาโท
สอนไม่ตรงตามคุณวุฒิ
วิชาเอกและโท
รวม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
ภาษาไทย 8,644 76.03 289 2.54 2,436 21.43 11,369 100.00
คณิตศาสตร์ 8,613 73.80 304 2.60 2,753 23.60 11,670 100.00
วิทยาศาสตร์ 11,483 85.35 162 1.20 1,809 13.45 13,454 100.00
ศิลปะ 3,722 58.86 153 2.42 2,448 38.72 6,323 100.00
สังคมศึกษา
ศาสนาและ
ศิลปวัฒนธรรม
9,555 73.79 270 2.09 324 24.12 12,949 100.00
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
8,414 70.71 174 1.46 3,311 27.83 11,899 100.00
สุขศึกษาและพละ
ศึกษา
6,187 71.77 195 2.26 2,238 25.97 8,620 100.00
ภาษาอังกฤษ 8,218 80.67 305 2.30 1,664 16.33 10,187 100.00
รวม 64,836 74.98 1,852 2.14 19,783 22.88 86,471 100.00
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาลังมีปัญหา
ครูช่างเข้าขั้นวิกฤติ
• มีสัดส่วนของครูอายุ 20-29 ปี ซึ่งเป็นครูรุ่นใหม่เพียง 0.8% เท่านั้น
• มีสัดส่วนของครูอายุ 50-59 ปี ซึ่งเป็นครูใกล้เกษียณอายุถึง 37.6%
หรือประมาณ 6,300 คน ซึ่งจะทยอยเกษียณปีละประมาณ 6,000 คน
• การอาชีวศึกษาน่าจะขาดแคลนครูที่มีประสบการณ์ในวิชาชีพที่ทันสมัย
• การอาชีวศึกษาควรเปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาสโดยการ “รับครู
คุณภาพสูง” เข้าไปทดแทนครูเกษียณในช่วง 10-15 ปีข้างหน้าโดย
ทันที
-37-สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
รายงานจานวนบุคลากรสายวิชาการ (มีหน้าที่สอน) จาแนกตามประเภท
บุคลากร สถาบันอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2550
กลุ่มสถาบัน
ประเภทบุคลการ
(ที่ว่าง) ข้าราชการ
พนักงาน
มหาวิทยาลัย
พนักงาน
ราชการ
จ้างประจา จ้างชั่วคราว ผลรวมทั้งหมด
สถาบันอุดมศึกษารัฐ 1 26,945 10,126 684 229 4,707 42,692
สถาบันอุดมศึกษา
เอกชน 7,838
ผลรวมทั้งหมด 50,530
ที่มา : ข้อมูลรายบุคคลด้านบุคลากรปีการศึกษา 2550
หมายเหตุ : รายงานไม่มีข้อมูล ม. สงฆ์ 2 แห่ง
-38-
 1.ปัญหาอาจารย์สายวิชาการเกือบ 30,000 คน(2550) จะทะยอยเกษียณอายุประมาณปีละ 1,000
คน หรือร้อยละ 3 ถ้าอัตราบรรจุทดแทนเพียง 2% ก็จะทาให้ปริมาณอาจารย์ลดลงไปเรื่อยๆ
 2.การขยายอายุเกษียณของอาจารย์ถึง 65 ปี จะช่วยรักษาอาจารย์คุณภาพไว้ได้ไม่ต่ากว่า 1,600
คน ในช่วง 5 ปี ข้างหน้า
 3.จากจานวนดังกล่าวในข้อ 2 จะมี รศ. และ ศ. เกษียณอายุประมาณปีละ 100 คน หรือ 500 คนใน
5 ปีข้างหน้า คิดเป็น 31% ของผู้เกษียณ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
39
ปัญหาที่สั่งสมมานานทั้งด้านครู, ผู้เรียน, การ
เรียนการสอนและการบริหารจัดการส่งผลให้
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับ
วิชาชีพตกต่าในขั้นวิกฤติ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
-39-
0
20
40
60
ร้อยละ
Thai Math Eng Science
ประถมศึกษาปีที่ 6
2550 2551
ที่มา: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ปีการศึกษา 2550-2551
0
10
20
30
40
50
60
ร้อยละ
Thai Math Eng Science Social
มัธยมศึกษาปีที่ 3
2550 2551
0
20
40
60
ร้อยละ
Thai Math Eng Science Social
มัธยมศึกษาปีที่ 6
2550 2551
-40-
(1) (2)
(1)
1 2 1 2 1 2 1 2
(2)
1 2 21 1 2 1 2 21
(1) (2)
1 1 1 1 1 22222
41
0
10
20
30
40
50
60
70
ร้อยละ
อัตราการมีงานทา อัตราผู้ที่ไม่ได้ทางาน อัตราการเรียนต่อ
ระดับปริญญาตรี
ชาย
หญิง
ที่มา:สารสนเทศอุดมศึกษา ข้อมูล ณ วันที่ 12 พ.ค.2552
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
สภาพการทางานของบัณฑิต ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2551
-41-
(1)
(2)
(1) (2) (1) (2) (1) (2)
42
แนวทางการปฏิรูป(ปฎิวัติ)การศึกษารอบสอง
เพื่อสร้างคนสร้างงานและสร้างชาติ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
-42-
ที่มา: คณะทางานพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง,2555
กรอบแนวคิดในการกาหนดยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปทางการศึกษา
การจัดการศึกษาเพื่อการ
พัฒนาประเทศแบบ
บูรณาการ
การพัฒนาการศึกษาให้มีพลังในการเสริมสร้างการ
พัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศและเป็นสังคมอุดมปํญญา
2
3 1
4 5
การพัฒนาการศึกษาให้มี
พลังในการพัฒนาทุนทาง
สังคม การแก้ปัญหาความ
ยากจน และยกระดับ
คุณภาพชีวิต
การพัฒนาการศึกษาให้มี
พลังในการเพิ่มศักยภาพการ
แข่งขันของประเทศ
การพัฒนาการศึกษาให้มีพลัง
ในการเสริมสร้างการบริหาร
จัดการประเทศที่ดี
การพัฒนาการศึกษาให้มีพลัง
ในการเสริมสร้างความมั่นคง
ของชาติ การต่างประเทศ และ
การอานวยความยุติธรรม
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2554
ยุทธศาสตร์สู่การปฏิรูปการศึกษาทศวรรษ
ที่สอง กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2552-61
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(พ.ศ. 2553-2554 และ 2555-2559)
ที่มา: ดัดแปลงจากโจทย์วิจัยทางการศึกษาเพื่อการ
พัฒนาประเทศ: แผนงานวิจัยทางการศึกษาแบบ
บูรณาการ โดย รศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และ
คณะ (2547), หน้า 17
/
·
·
·
·
·
·
/
·
·
·
·
·
·
·
·
· /
·
·
·
·
· GDP
·
·
· GDP
·
· GDP
·
· GDP
· Stage of Industry
·
· GDP
·
Cluster
Cluster Cluster Cluster
· SMEs
· Self-Employment
( )
· ( / )
· /
Policy Driven
·
·
· Cluster
·
· r
·
· /
·
·
·
·
·
·
·
·
·
·
·
46ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
100
200
300
400
500
600
700
800
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ปี พ.ศ.
จานวน(พันคน)
ม.ต้น ม.ปลาย ปวช. ปวส. ป.ตรี ป.โท
ประมาณการผู้สาเร็จการศึกษา ตามระดับการศึกษา
ปี 2553-2562 (ตามแนวโน้มในอดีต)
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย-46-
(1)
(1)
(2)
(2)
(3)
(3)
(4)
(4)
(5)
(5)
(6)
(6)
47
ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
20
40
60
80
100
120
140
160
180
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ปี พ.ศ.
จานวน(พันคน)
ม.ต้น ม.ปลาย ปวช. ปวส. ป.ตรี ป.โทขึ้นไป
ประมาณการผู้สาเร็จการศึกษาและเข้าสู่ตลาดแรงงาน
ตามระดับการศึกษา ปี 2553-2562 (ตามแนวโน้มในอดีต)
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย-47-
(1) (2) (3) (4) (5) (6)
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
48
จบการบรรยายและขอบคุณที่ให้ความสนใจ
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
-48-

More Related Content

Similar to สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 nov2010

แบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาแบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาwasan
 
แบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณแบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณwasan
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยการเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
คู่มือการใช้งาน Data center 2010
คู่มือการใช้งาน  Data center 2010คู่มือการใช้งาน  Data center 2010
คู่มือการใช้งาน Data center 2010chanphen
 
4 april.pdf tdri
4 april.pdf   tdri4 april.pdf   tdri
4 april.pdf tdriBTNHO
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้pooh_monkichi
 

Similar to สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 nov2010 (20)

แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
3 23-6-53
3 23-6-533 23-6-53
3 23-6-53
 
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาแบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
 
แบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณแบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณ
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
 
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยการเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
 
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
 
คู่มือการใช้งาน Data center 2010
คู่มือการใช้งาน  Data center 2010คู่มือการใช้งาน  Data center 2010
คู่มือการใช้งาน Data center 2010
 
What is e clip?
What is e clip?What is e clip?
What is e clip?
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
4
44
4
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
4 april.pdf tdri
4 april.pdf   tdri4 april.pdf   tdri
4 april.pdf tdri
 
T3
T3T3
T3
 
Qualities school
Qualities schoolQualities school
Qualities school
 
T1
T1T1
T1
 
Tdriapril
TdriaprilTdriapril
Tdriapril
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
 

More from แผนงาน นสธ.

โครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationโครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationแผนงาน นสธ.
 
Presentation ภาษีคาร์บอน 25Jan2011
Presentation ภาษีคาร์บอน 25Jan2011Presentation ภาษีคาร์บอน 25Jan2011
Presentation ภาษีคาร์บอน 25Jan2011แผนงาน นสธ.
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชแผนงาน นสธ.
 
สารี อ๋องสมหวัง ข้อเสนอปฏิรูปนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร บทเรียนการเผ้าระวังข...
สารี  อ๋องสมหวัง ข้อเสนอปฏิรูปนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร บทเรียนการเผ้าระวังข...สารี  อ๋องสมหวัง ข้อเสนอปฏิรูปนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร บทเรียนการเผ้าระวังข...
สารี อ๋องสมหวัง ข้อเสนอปฏิรูปนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร บทเรียนการเผ้าระวังข...แผนงาน นสธ.
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหารพิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหารแผนงาน นสธ.
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แผนงาน นสธ.
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้านวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้าแผนงาน นสธ.
 
อุดม งามเมืองสกุล เปิดการเสวนาข้อเสนอปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
อุดม  งามเมืองสกุล  เปิดการเสวนาข้อเสนอปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยอุดม  งามเมืองสกุล  เปิดการเสวนาข้อเสนอปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
อุดม งามเมืองสกุล เปิดการเสวนาข้อเสนอปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010แผนงาน นสธ.
 

More from แผนงาน นสธ. (13)

Co2 tax 25jan11
Co2 tax 25jan11Co2 tax 25jan11
Co2 tax 25jan11
 
โครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationโครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentation
 
Presentation ภาษีคาร์บอน 25Jan2011
Presentation ภาษีคาร์บอน 25Jan2011Presentation ภาษีคาร์บอน 25Jan2011
Presentation ภาษีคาร์บอน 25Jan2011
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
 
สารี อ๋องสมหวัง ข้อเสนอปฏิรูปนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร บทเรียนการเผ้าระวังข...
สารี  อ๋องสมหวัง ข้อเสนอปฏิรูปนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร บทเรียนการเผ้าระวังข...สารี  อ๋องสมหวัง ข้อเสนอปฏิรูปนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร บทเรียนการเผ้าระวังข...
สารี อ๋องสมหวัง ข้อเสนอปฏิรูปนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร บทเรียนการเผ้าระวังข...
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหารพิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
พิเชฐ อิฐกอ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้านวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
 
อุดม งามเมืองสกุล เปิดการเสวนาข้อเสนอปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
อุดม  งามเมืองสกุล  เปิดการเสวนาข้อเสนอปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยอุดม  งามเมืองสกุล  เปิดการเสวนาข้อเสนอปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
อุดม งามเมืองสกุล เปิดการเสวนาข้อเสนอปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010
 

สถานการณ์ของการจัดการศึกษากับการผลิตแรงงานในประเทศ โดย ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ 25 nov2010