SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ใบความรู้ เรื่องหลักการทางานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
การทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ สร้างขึ้นเพื่อใช้แก้ปัญหาต่างๆทั้งในรูปแบบที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธี
ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งปฎิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมที่ตั้งไว้สาหรับการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีขึ้นตอนการทางาน
พื้นฐาน 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 รับข้อมูล (input) เป็นการนาข้อมูลหรือคาสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผ่านอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆเช่น การพิมพ์
ข้อความเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้แป้ นพิมพ์การบันทึกเสียงโดยผ่านไมโครโฟน เป็นต้น
ขั้นที่ 2 ประมวลผลข้อมูล (process) เป็นการนาข้อมูลมาประมวลผลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือ
สารสนเทศ เช่น การนาข้อมูลที่รับเข้ามาหาผลรวม เปรียบเทียบคานวณเกรดเฉลี่ย เป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์สาหรับประมวลที่
สาคัญ คือ หน่วยประมวลผลกลาง
ขั้นที่ 3 จัดเก็บข้อมูล (storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูลชั่วคราวในขณะที่มีการประมวลผลแรม รวมถึงจัดเก็บข้อมูลที่ผ่านการ
ประมวลผลลงในอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสถ์(hard disk) แฟลชไดร์ฟ (flash drive) เป็นต้น
ขั้นที่4 แสดงผลข้อมูล (output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ
กล่าวคือ อยู่ในรูปแบบของข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เสียง โดยผ่านอุปกรณ์แสดงผลต่างๆเช่น จอภาพ
เครื่องพิมพ์เป็นต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง
เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย
 หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
 หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU
 หน่วยความจาหลัก
 หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
 หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit )
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะนาไป
ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์
ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (Software)
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่ง
เป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคาสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมา
จาก ภาษาคอมพิวเตอร์(Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียน
โปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ
 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
 ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Software )
ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทางานต่าง
ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์จะเป็น
ซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน
ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์
บุคลากร (Peopleware)
เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบาง
ชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดย
มนุษย์เสมอ
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทาให้มีความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง
ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user)
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งใน
ระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของ
ระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทาง
คอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทาง
คอมพิวเตอร์ต่อไป
บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้
 การดาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการทางานของ
ระบบคอมพิวเตอร์ เช่นเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น
 การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่นเจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์(Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนา
โปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
 การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System
Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator)เป็นต้น
 การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่นเจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer
Operator) เป็นต้น
 การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่นผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็นต้น
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้
สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้
ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่างข้อมูล และ สารสนเทศ คือ
ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน
สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง
มีความสัมพันธ์กัน (relevant) สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
มีความทันสมัย (timely) ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการ
มีความถูกต้องแม่นยา (accurate) เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกต้องในทุกส่วน
มีความกระชับรัดกุม (concise) ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ
มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete) ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์นพพร ตนสารี
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Looknam Kamonchanok
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointcharnwit55
 
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นDocKy Doki
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น Nuttanun Wisetsumon
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Chaiwattana Tongpramoon
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5Korakot Kaevwichian
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointChonlamas Supsomboon
 
ส่งงานสไลด์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ื
ส่งงานสไลด์  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ืส่งงานสไลด์  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ื
ส่งงานสไลด์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ืกาญจนา อรอินทร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Natchanan Mankhong
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2491320129
 

What's hot (19)

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
 
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
 
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
 
ส่งงานสไลด์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ื
ส่งงานสไลด์  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ืส่งงานสไลด์  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ื
ส่งงานสไลด์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ื
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
 

Similar to บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์jzturbo
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Pavinee Weeranitiwechasarn
 
งาคอมแบบเร่งรีบ
งาคอมแบบเร่งรีบงาคอมแบบเร่งรีบ
งาคอมแบบเร่งรีบPhai Trinod
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์นิตยา อินชาญ
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงจีระภา บุญช่วย
 

Similar to บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์ (20)

หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
งาคอมแบบเร่งรีบ
งาคอมแบบเร่งรีบงาคอมแบบเร่งรีบ
งาคอมแบบเร่งรีบ
 
Word3
Word3Word3
Word3
 
Word3 24
Word3 24Word3 24
Word3 24
 
Word3 24
Word3 24Word3 24
Word3 24
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
computer1
computer1computer1
computer1
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

More from อยู่ไหน เหงา

ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตอยู่ไหน เหงา
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสมซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสมอยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 

More from อยู่ไหน เหงา (9)

ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
 
Chapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basicChapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basic
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสมซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 

บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

  • 1. ใบความรู้ เรื่องหลักการทางานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์ การทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ สร้างขึ้นเพื่อใช้แก้ปัญหาต่างๆทั้งในรูปแบบที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธี ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งปฎิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมที่ตั้งไว้สาหรับการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีขึ้นตอนการทางาน พื้นฐาน 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 รับข้อมูล (input) เป็นการนาข้อมูลหรือคาสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผ่านอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆเช่น การพิมพ์ ข้อความเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้แป้ นพิมพ์การบันทึกเสียงโดยผ่านไมโครโฟน เป็นต้น ขั้นที่ 2 ประมวลผลข้อมูล (process) เป็นการนาข้อมูลมาประมวลผลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือ สารสนเทศ เช่น การนาข้อมูลที่รับเข้ามาหาผลรวม เปรียบเทียบคานวณเกรดเฉลี่ย เป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์สาหรับประมวลที่ สาคัญ คือ หน่วยประมวลผลกลาง ขั้นที่ 3 จัดเก็บข้อมูล (storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูลชั่วคราวในขณะที่มีการประมวลผลแรม รวมถึงจัดเก็บข้อมูลที่ผ่านการ ประมวลผลลงในอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสถ์(hard disk) แฟลชไดร์ฟ (flash drive) เป็นต้น ขั้นที่4 แสดงผลข้อมูล (output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ กล่าวคือ อยู่ในรูปแบบของข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เสียง โดยผ่านอุปกรณ์แสดงผลต่างๆเช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์เป็นต้น
  • 2. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย  หน่วยรับข้อมูล ( input unit )  หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU  หน่วยความจาหลัก  หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )  หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit ) หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะนาไป ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่ง เป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคาสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมา จาก ภาษาคอมพิวเตอร์(Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียน โปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา
  • 3. ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ  ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )  ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Software ) ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์จะเป็น ซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบาง ชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดย มนุษย์เสมอ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทาให้มีความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งใน ระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของ ระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทาง คอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทาง คอมพิวเตอร์ต่อไป
  • 4. บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่อง คอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้  การดาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ เช่นเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น  การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่นเจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์(Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนา โปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น  การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator)เป็นต้น  การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่นเจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น  การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่นผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็นต้น ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้ สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่างข้อมูล และ สารสนเทศ คือ ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง มีความสัมพันธ์กัน (relevant) สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน มีความทันสมัย (timely) ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการ มีความถูกต้องแม่นยา (accurate) เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกต้องในทุกส่วน มีความกระชับรัดกุม (concise) ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete) ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน