SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

แนะนาโปรแกรม Excel
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บ
บันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคานวณ โดยจะเก็บข้อมูลลงในตาราง
สี่เหลี่ยมที่เรียกว่า เซล (Cell) ที่สามารถนาเอาเซลมาอ้างอิงใส่ในสูตร เพื่อให้โปรแกรมคานวณหาผลลัพธ์จาก
ข้อมูลที่บันทึกไว้ได้

แนะนาหน้าต่างของวินโดว์ Excel

- ปุ่ม
เรียกว่า “Office Button” แสดงเมนูที่ใช้จัดการไฟล์ทั่วไป เช่น New, Open, Save as, Print
และ Publish เป็นต้น
- Quick Access Toolbar แสดงปุ่มคาสั่งที่ใช้บ่อยๆ โดยค่าเริ่มต้นจะแสดงเครื่องมือ
Undo ,และ Redo ซึ่งเราสามารถกาหนดเครื่องมือในส่วนนี้เองได้

Save,

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

1
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

- Title bar แสดงชื่อเวิร์กบุ๊คที่ใช้งานอยู่และชื่อโปรแกรม ในที่นี้คือ Microsoft Excel
- Ribbon เป็นกลุ่มคาสั่งที่เก็บเครื่องมือออกเป็นหมวดหมู่ โดยแสดงเป็นแท็บ แทนที่การเรียกใช้เมนูคาสั่ง
ต่างๆในเวอร์ชั่นก่อนๆ
- Contextual tabs เป็นแท็บพิเศษที่จะแสดงเมื่อใส่ออบเจ็คลงในเวิร์กชีต เช่น เมื่อแทรก WordArt
โปรแกรมจะแสดง Drawing Tool ด้านบนและมีแท็บ Format ที่ใช้สาหรับตั้งค่า WordArt แสดงอยู่ด้านล่าง
- Worksheet เป็นแผ่นงานมีลักษณะเป็นตาราง สาหรับพิมพ์ข้อความ หรือตัวเลข โดยค่าที่ตั้งไว้เมื่อเข้าใช้
โปรแกรมจะมี 3 sheet คือ sheet1,sheet2 และsheet3สามารถเพิ่มจานวนเวิร์กชีตในเวิร์กบุ๊คได้ตาม
ต้องการ
- View Shortcuts ใช้ดูมุมมองเอกสาร โดยจะแสดงมุมมองของเอกสารในลักษณะต่างๆ
- Zoom และ Zoom Slider เป็นเครื่องมือย่อ-ขยายหน้าจอ โดยเลือกขนาดตามเปอร์เซ็นต์ที่ต้องการย่อขยาย หรือเลื่อนสไลเดอร์ที่เครื่องมือ Zoom Slider ตามความต้องการ

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

2
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การสร้างเวิร์กบุ๊คใหม่

เวิร์กชีต ( Worksheet ) หรือถ้าเป็นโปรแกรม Excel ภาษาไทยจะเรียกว่า แผ่นงาน ในแผ่นงานจะ
ประกอบด้วยช่องตารางสี่เหลี่ยมจานวนมากซึ่งมีชื่อเรียกดังต่อไปนี้
Row ( แถว ) คือพื้นที่แถวแนวนอนจากบนลงล่าง ตั้งแต่แถวที่ 1 ไปจนถึง
แถวที่ 65536 ชื่อของแถวคือหมายเลขที่แสดงที่หัวแถว
Column ( คอลัมน์ ) คือพื้นที่คอลัมน์แนวตั้งจากซ้ายไปขวา จากคอลัมน์ A ไปจนถึง
คอลัมน์ IV จะมีทั้งหมด 256 คอลัมน์ ชื่อของคอลัมน์คือ ชื่อตัวอักษรที่อยู่บนหัวคอลัมน์ เช่น A, B, C,...
Cell ( เซล ) อยู่ตรงคอลัมน์ B แถวที่ 3 ก็จะเรียกว่าเซล B3 เซลที่กาลังเลือกหรือกาลังทางาน เราเรียกเซล
นั้นว่า Active cell

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

3
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

เริ่มใส่ข้อมูล เมื่อเข้าสู่ Excel โปรแกรมจะสร้างเวิร์กบุ๊คใหม่ให้โดยอัติโนมัติพร้อมตั้งชื่อว่า Book1

จัดรูปแบบให้เวิร์กชีต เราสามารถตกแต่งข้อมูลให้น่าสนใจ เช่น เน้นข้อความหัวเรื่องด้วยตัวหนา สีแดง เพื่อ
แยกข้อมูลให้ดูแตกต่างกัน

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

4
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การเก็บบันทึกเวิรก์บุ๊ค
1.คลิกปุ่ม ( บันทึก ) หรือกด Ctrl+S จากแป้นพิมพ์
2.เลือกไดรว์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการเก็บบันทึก
3.ตั้งชื่อที่ช่อง File Name ตั้งชื่อได้ยาว 256 ตัวอักษร ยกเว้น / * < >!
4.คลิกที่ปุ่มคาสั่ง บันทึก

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

5
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การใช้แถบเครื่องมือ
เครื่องมือใน Excel 2003 ก็จะมีหน้าตาคล้ายๆกับ Office ตัวอื่นๆ ตามปกติจะแสดงเพียง 2 ชุดคือ แถบ
เครื่องมือ Standard ( มาตรฐาน ) และ Formatting ( จัดรูปแบบ )

แถบเครื่องมือ Standard ( มาตรฐาน ) มีปุ่มเครื่องมือที่ใช้บ่อยๆ หรือเป็นการทางานพื้นฐานของโปรแกรม
เช่น ปุ่ม New , Open

มีปุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการจัดรูปแบบข้อมูลในเซล เช่น เลือกฟอนต์ ขนาด หรือลักษณะ, จัดข้อมูลชิดขวา ซ้าย
และการใส่สีข้อความหรือพื้น ฯลฯ

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

6
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การเปิดงานเก่ามาใช้งาน
1. คลิกปุ่ม Open ( เปิด ) หรือกดคีย์ Ctrl+O
2. คลิกที่ลูกศรซ้ายช่อง Look in ( มองหาใน ) แล้วเลือกไดรว์และดับเบิ้ลคลิกที่โฟลเดอร์ที่เก็บเวิร์กบุ๊กไว้
3. คลิกที่ชื่อไฟล์เวิร์กบุ๊ค
4. คลิกที่ปุ่ม ( เปิด )

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

7
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การแก้ไขข้อมูลในเซล
1. คลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไข แล้วพิมพ์ข้อมูลใหม่ลงไป
2. คลิกที่เซลที่จะแก้ไข แล้วกดปุ่ม F2 ที่คีย์บอร์ด จะเป็นการแก้ไขในโหมด Edit
3. ดับเบิลคลิกตรงทีเซลทีจะแก้ไข แล้วเลื่อนเคอร์เซอร์ไปแก้ไขข้อมูลภายในเซลได้
้
่ ่
4. คลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไขแล้วดูที่แถบสูตรคานวณ ( formula bar ) แล้วคลิกเมาส์ที่แถบสูตรเลยเพื่อแก้ไข
ข้อมูล

ลากเมาส์คลุมข้อความที่ต้องการแก้ไข แล้วสามารถพิมพ์ข้อมูลใหม่ลงไปได้

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

8

More Related Content

What's hot

การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007Orasa Deethung
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นMeaw Sukee
 
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นโรงเรียนโยธินบำรุง
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2Wittayakorn Yasingthong
 
50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรืองDeawEK
 

What's hot (14)

การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
 
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
 
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
new excel2007
new excel2007new excel2007
new excel2007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
53011213091
5301121309153011213091
53011213091
 
P2 r
P2 rP2 r
P2 r
 
Lesson 13
Lesson 13Lesson 13
Lesson 13
 
Lesson 12
Lesson 12Lesson 12
Lesson 12
 
50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
 

Similar to Lesson 1

เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
5632010007,5632010015
5632010007,56320100155632010007,5632010015
5632010007,5632010015Tangmay_ja
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel20075632010023
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007Th3popeye
 
5632010019 5632010020
5632010019   56320100205632010019   5632010020
5632010019 5632010020ponlove2010
 
Ac 5632010002 , 5632010013
Ac 5632010002 , 5632010013Ac 5632010002 , 5632010013
Ac 5632010002 , 5632010013Oil Lovery AS
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3ครูเพชร
 
บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007
บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007
บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007niwat50
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลMeaw Sukee
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007sudachit maneechote
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 

Similar to Lesson 1 (20)

เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
5632010007,5632010015
5632010007,56320100155632010007,5632010015
5632010007,5632010015
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
5632010019 5632010020
5632010019   56320100205632010019   5632010020
5632010019 5632010020
 
Ac 5632010002 , 5632010013
Ac 5632010002 , 5632010013Ac 5632010002 , 5632010013
Ac 5632010002 , 5632010013
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007
บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007
บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
งานเทคโน
งานเทคโนงานเทคโน
งานเทคโน
 

More from ThaNit YiamRam

More from ThaNit YiamRam (18)

Lesson 21
Lesson 21Lesson 21
Lesson 21
 
Lesson 20
Lesson 20Lesson 20
Lesson 20
 
Lesson 18
Lesson 18Lesson 18
Lesson 18
 
Lesson 17
Lesson 17Lesson 17
Lesson 17
 
Lesson 16
Lesson 16Lesson 16
Lesson 16
 
Lesson 15
Lesson 15Lesson 15
Lesson 15
 
Lesson 14
Lesson 14Lesson 14
Lesson 14
 
Lesson 11
Lesson 11Lesson 11
Lesson 11
 
Lesson 10
Lesson 10Lesson 10
Lesson 10
 
Lesson 9
Lesson 9Lesson 9
Lesson 9
 
Lesson 8
Lesson 8Lesson 8
Lesson 8
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 22
Lesson 22Lesson 22
Lesson 22
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktopความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 

Lesson 1

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 แนะนาโปรแกรม Excel Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บ บันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคานวณ โดยจะเก็บข้อมูลลงในตาราง สี่เหลี่ยมที่เรียกว่า เซล (Cell) ที่สามารถนาเอาเซลมาอ้างอิงใส่ในสูตร เพื่อให้โปรแกรมคานวณหาผลลัพธ์จาก ข้อมูลที่บันทึกไว้ได้ แนะนาหน้าต่างของวินโดว์ Excel - ปุ่ม เรียกว่า “Office Button” แสดงเมนูที่ใช้จัดการไฟล์ทั่วไป เช่น New, Open, Save as, Print และ Publish เป็นต้น - Quick Access Toolbar แสดงปุ่มคาสั่งที่ใช้บ่อยๆ โดยค่าเริ่มต้นจะแสดงเครื่องมือ Undo ,และ Redo ซึ่งเราสามารถกาหนดเครื่องมือในส่วนนี้เองได้ Save, โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 - Title bar แสดงชื่อเวิร์กบุ๊คที่ใช้งานอยู่และชื่อโปรแกรม ในที่นี้คือ Microsoft Excel - Ribbon เป็นกลุ่มคาสั่งที่เก็บเครื่องมือออกเป็นหมวดหมู่ โดยแสดงเป็นแท็บ แทนที่การเรียกใช้เมนูคาสั่ง ต่างๆในเวอร์ชั่นก่อนๆ - Contextual tabs เป็นแท็บพิเศษที่จะแสดงเมื่อใส่ออบเจ็คลงในเวิร์กชีต เช่น เมื่อแทรก WordArt โปรแกรมจะแสดง Drawing Tool ด้านบนและมีแท็บ Format ที่ใช้สาหรับตั้งค่า WordArt แสดงอยู่ด้านล่าง - Worksheet เป็นแผ่นงานมีลักษณะเป็นตาราง สาหรับพิมพ์ข้อความ หรือตัวเลข โดยค่าที่ตั้งไว้เมื่อเข้าใช้ โปรแกรมจะมี 3 sheet คือ sheet1,sheet2 และsheet3สามารถเพิ่มจานวนเวิร์กชีตในเวิร์กบุ๊คได้ตาม ต้องการ - View Shortcuts ใช้ดูมุมมองเอกสาร โดยจะแสดงมุมมองของเอกสารในลักษณะต่างๆ - Zoom และ Zoom Slider เป็นเครื่องมือย่อ-ขยายหน้าจอ โดยเลือกขนาดตามเปอร์เซ็นต์ที่ต้องการย่อขยาย หรือเลื่อนสไลเดอร์ที่เครื่องมือ Zoom Slider ตามความต้องการ โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 2
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การสร้างเวิร์กบุ๊คใหม่ เวิร์กชีต ( Worksheet ) หรือถ้าเป็นโปรแกรม Excel ภาษาไทยจะเรียกว่า แผ่นงาน ในแผ่นงานจะ ประกอบด้วยช่องตารางสี่เหลี่ยมจานวนมากซึ่งมีชื่อเรียกดังต่อไปนี้ Row ( แถว ) คือพื้นที่แถวแนวนอนจากบนลงล่าง ตั้งแต่แถวที่ 1 ไปจนถึง แถวที่ 65536 ชื่อของแถวคือหมายเลขที่แสดงที่หัวแถว Column ( คอลัมน์ ) คือพื้นที่คอลัมน์แนวตั้งจากซ้ายไปขวา จากคอลัมน์ A ไปจนถึง คอลัมน์ IV จะมีทั้งหมด 256 คอลัมน์ ชื่อของคอลัมน์คือ ชื่อตัวอักษรที่อยู่บนหัวคอลัมน์ เช่น A, B, C,... Cell ( เซล ) อยู่ตรงคอลัมน์ B แถวที่ 3 ก็จะเรียกว่าเซล B3 เซลที่กาลังเลือกหรือกาลังทางาน เราเรียกเซล นั้นว่า Active cell โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 3
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 เริ่มใส่ข้อมูล เมื่อเข้าสู่ Excel โปรแกรมจะสร้างเวิร์กบุ๊คใหม่ให้โดยอัติโนมัติพร้อมตั้งชื่อว่า Book1 จัดรูปแบบให้เวิร์กชีต เราสามารถตกแต่งข้อมูลให้น่าสนใจ เช่น เน้นข้อความหัวเรื่องด้วยตัวหนา สีแดง เพื่อ แยกข้อมูลให้ดูแตกต่างกัน โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 4
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การเก็บบันทึกเวิรก์บุ๊ค 1.คลิกปุ่ม ( บันทึก ) หรือกด Ctrl+S จากแป้นพิมพ์ 2.เลือกไดรว์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการเก็บบันทึก 3.ตั้งชื่อที่ช่อง File Name ตั้งชื่อได้ยาว 256 ตัวอักษร ยกเว้น / * < >! 4.คลิกที่ปุ่มคาสั่ง บันทึก โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 5
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การใช้แถบเครื่องมือ เครื่องมือใน Excel 2003 ก็จะมีหน้าตาคล้ายๆกับ Office ตัวอื่นๆ ตามปกติจะแสดงเพียง 2 ชุดคือ แถบ เครื่องมือ Standard ( มาตรฐาน ) และ Formatting ( จัดรูปแบบ ) แถบเครื่องมือ Standard ( มาตรฐาน ) มีปุ่มเครื่องมือที่ใช้บ่อยๆ หรือเป็นการทางานพื้นฐานของโปรแกรม เช่น ปุ่ม New , Open มีปุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการจัดรูปแบบข้อมูลในเซล เช่น เลือกฟอนต์ ขนาด หรือลักษณะ, จัดข้อมูลชิดขวา ซ้าย และการใส่สีข้อความหรือพื้น ฯลฯ โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 6
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การเปิดงานเก่ามาใช้งาน 1. คลิกปุ่ม Open ( เปิด ) หรือกดคีย์ Ctrl+O 2. คลิกที่ลูกศรซ้ายช่อง Look in ( มองหาใน ) แล้วเลือกไดรว์และดับเบิ้ลคลิกที่โฟลเดอร์ที่เก็บเวิร์กบุ๊กไว้ 3. คลิกที่ชื่อไฟล์เวิร์กบุ๊ค 4. คลิกที่ปุ่ม ( เปิด ) โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 7
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การแก้ไขข้อมูลในเซล 1. คลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไข แล้วพิมพ์ข้อมูลใหม่ลงไป 2. คลิกที่เซลที่จะแก้ไข แล้วกดปุ่ม F2 ที่คีย์บอร์ด จะเป็นการแก้ไขในโหมด Edit 3. ดับเบิลคลิกตรงทีเซลทีจะแก้ไข แล้วเลื่อนเคอร์เซอร์ไปแก้ไขข้อมูลภายในเซลได้ ้ ่ ่ 4. คลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไขแล้วดูที่แถบสูตรคานวณ ( formula bar ) แล้วคลิกเมาส์ที่แถบสูตรเลยเพื่อแก้ไข ข้อมูล ลากเมาส์คลุมข้อความที่ต้องการแก้ไข แล้วสามารถพิมพ์ข้อมูลใหม่ลงไปได้ โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 8