SlideShare a Scribd company logo
1 of 94
เอกสารประกอบการเรีย นการสอน

หมวดวิช า คณิต ศาสตร์ช ่า ง
วิช า การคำา นวณด้ว ย
โปรแกรม EXCEL
โรงเรีย นช่า งโยธา
กองวิท ยาการ
กรมช่า งโยธาทหารเรือ

จัด ทำา โดย กองวิท ยาการ
กรมช่า งโยธาทหารเรือ
1
คำา นำา
บทเรียนโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ เรื่อง Microsoft
Excel เป็ น โปรแกรมตารางทำา งานหรื อ โปรแกรมประเภทสเปรตชี ต
(Spread Sheet) ซึ่ ง มี ค วามสามารถในด้ า นการคำา นวณ ตั ว เลข โดย
เฉพาะ และมีผลลัพธ์ที่ถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยำา โดยการสร้างตาราง
และกำา หนดสู ต รที่ ใ ช้ ใ นการคำา นวณไว้ ก่ อ นแล้ ว จึ ง ป้ อ นข้ อ มู ล ลงไป
สามารถคำานวณผลลัพธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ เช่น ตัวเลขหรือกราฟ และ
ยังสามารถแก้ไขเพิ่มเติมและจัดรูปแบบข้อมูลได้ เนื้อหาบทเรียนทั้งหมด
พร้อมทั้งใบงานและแบบทดสอบได้จัดทำา ขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการ
รียนการสอนคณิต ศาสตร์ช่าง (คอมพิว เตอร์ ) หลักสูตรอาชี พเพื่อ เลื่ อน
ฐานะชั้นพันจ่าเอก เหล่ายุท ธโยธา เพื่อให้ผู้เรีย นมี ความเข้ าใจการใช้
โปรแกรม Microsoft Excel มากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง เหมาะสำา หรั บ
บุคคลทั่วไป ที่สนใจเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมนี้จนสามารถนำา
ไปใช้งานได้จริง

ทหารเรือ

กองวิทยาการ กรมช่างโยธา
1 พฤศจิกายน 2551

2
3
สารบัญ
บทที่ 1. ความรู้เ บื้อ งต้น เกี่ย วกับ โปรแกรม Microsoft Excel
มารู้จักกับ Microsoft Excel กันดีกว่า
คุณสมบัติที่สำาคัญของโปรแกรม Microsoft Excel
เข้าสู่การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel
โครงสร้างของ Microsoft Excel
การสร้างแฟ้มข้อมูล
การเลือกช่วงของเซลล ์์
ชนิดของข้อมูล
การป้อนข้อมูล
การแก้ไขข้อมูล
การบันทึกสมุดงาน (Save)
การปิดแฟ้มข้อมูล
บทที่ 2. การจัด การและตกแต่ง งานด้ว ย Excel
การแทรก/ลบ เซลล์ คอลัมน์ แถว และแผ่นงาน
การคัดลอกและการย้ายข้อมูล
การตกแต่งตาราง
การปกป้องข้อมูลในเซลล์
การพิมพ์เอกสาร
บทที่ 3. การสร้า งสูต รและใช้ฟ ัง ก์ช ัน ในการคำา นวณ
การใช้สูตรในการคำานวณ
การป้อนสูตรในการคำานวณ
การอ้างอิงเซลล์หรืองช่วงเซลล์ในสูตร
การใช้ฟังก์ชันในตาราง
บทที่ 4. การเรีย งลำา ดับ และการสร้า งแผนภูม ิ
การเรียงลำาดับ
วิธีการกรองข้อมูลโดยใช้ตัวกรองอัตโนมัติ
การสร้างแผนภูมิ
การปรับแต่งส่วนประกอบของแผนภูมิหรือชาร์ต

4
บทที่ 1.
ความรู้เ บื้อ งต้น เกี่ย วกับ โปรแกรม Microsoft Excel
หัว ข้อ เรื่อ ง
มารู้จักกับ Microsoft Excel กันดีกว่า
คุณสมบัติที่สำาคัญของโปรแกรม Microsoft Excel
เข้าสู่การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel
โครงสร้างของ Microsoft Excel
การสร้างแฟ้มข้อมูล
การเลือกช่วงของเซลล ์์
ชนิดของข้อมูล
การป้อนข้อมูล
การแก้ไขข้อมูล
การบันทึกสมุดงาน (Save)
การปิดแฟ้มข้อมูล
วัต ถุป ระสงค์ก ารเรีย นรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานโปรแกรม EXCEL
2. สามารถใช้โปรแกรม EXCEL สร้างตรารางคำานวณได้ สามารถ
ป้อน แก้ไข เก็บบันทึกข้อมูลได้
แนวทางการรีย นการสอน
1. อธิบาย และสาธิต ให้ดูเป็นขั้นตอน หน้าชั้นเรียน
2. ให้นักเรียนฝึกทำาตาม
3. ให้ทำาโจทย์ตามใบงาน
4. ทดสอบหลังการสอน

1. มารู้จ ัก กับ Microsoft Excel กัน ดีก ว่า
โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภทสเปรดชีต
(spreadsheet) หรือโปรแกรมตารางทำางานซึ่งใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ สูตร
5
คำานวณ ลงบนแผ่นตารางงานคล้ายกับการเขียนข้อมูลลงไปในสมุดที่มี
การตีช่องตารางทั้งแนวนอนและแนวตั้ง ตารางแต่ละช่องจะมีชื่อกำากับไว้
ในแนวตั้งหรือสดมภ์ของตารางเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษเริ่มจาก
A,B,C,...เรื่อยไปจนสุดขอบตารางทางขวา มีทั้งหมด 256 สดมภ์
(Column) แนวนอนมีหมายเลขกำากับเป็นบรรทัดที่ 1,2,3,...เรื่อยไป
จนถึงบรรทัดสุดท้ายจำานวนบรรทัดจะต่างกันในแต่ละโปรแกรมในที่นี้
เท่ากับ 65,536 แถว (Row) ช่องที่แนวตั้งและแนวนอนตัดกันเรียกว่า
เซลล์ (Cell) ใช้บรรจุข้อมูล ข้อความ หรือสูตรคำานวณ ปัจจุบันโปรแกรม
ตารางทำางาน มีความสามารถ 3 ด้าน คือ คำานวณ นำาเสนองานด้วย
กราฟและแผนภูมิ จัดการฐานข้อมูล โปรแกรมประเภทตารางทำางานมีผู้
พัฒนาขึ้นมาหลายโปรแกรม เช่น ปี 2522 ใช้โปรแกรมตารางทำางานชื่อ
ว่า วิสิแคล(VisiCalc) ต่อมาปรับปรุงชื่อว่า ซุปเปอร์แคล (SuperCalc)
ในปี 2525 ในพัฒนาโปรแกรมชื่อว่า มัลติแพลน (Multiplan) ปี
2526 ได้ปรับปรุงโปรแกรมชื่อว่าโลตัส 1-2-3 (Lotus 1-2-3) เป็นที่
นิยมอย่างมาก ออราคิล (Oracle) และต่อมาบริษัทไมโครซอฟท์ได้
พัฒนาระบบงานวินโดวส์ขึ้นมาเพื่อให้ใช้ได้ง่ายชื่อว่า ไมโครซอฟท์เอ็ก
เซล (Microsoft Excel) ซึ่งเรียกว่า เอ็กเซล (Excel)
2. คุณ สมบัต ิท ี่ส ำา คัญ ของ Microsoft Excel
1. ความสามารถด้านการคำานวณ โปรแกรม Microsoft Excel
สามารถป้อนสูตรการคำานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ
หาร เป็นต้น
2. ความสามารถด้านใช้ฟังก์ชัน เช่นฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร
ตัวเลข วันที่ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเงิน หรือเกี่ยวกับการตัดสินใจ
3. ความสามารถในการสร้างกราฟ โปรแกรม Microsoft Excel
สามารถนำาข้อมูลที่ป้อนลงในตารางมาสร้างเป็นกราฟได้ทันที
4. ความสามารถในการตกแต่งตารางข้อมูล โปรแกรม Microsoft
Excel สามารถตกแต่งตารางข้อมูลหรือกราฟ ข้อมูลด้วยภาพ สี
และรูปแบบตัวอักษรต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสวยงามและทำาให้
แยกแยะข้อมูลได้ง่ายขึ้น
5. ความสามารถในการเรียงลำาดับข้อมูล โปรแกรม Microsoft
Excel สามารถคัดเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการมาวิเคราะห์ได้

6
6. ความสามารถในการพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์ โปรแกรม
Microsoft Excel สามารถพิมพ์งานทั้งข้อมูลและรูปภาพหรือ
กราฟออกทางเครื่องพิมพ์ได้ทันที ซึ่งทำาให้ง่ายต่อการสร้างรายงาน
7. ความสามารถในการแปลงข้อมูลในตารางให้เป็นเว็บเพจ เพื่อนำา
ไปแสดงในโฮมเพจ
3. โครงสร้า งของ Microsoft Excel
เมื่อเข้าสู่การทำางานของ โปรแกรม Microsoft Excel จะปรากฏ
หน้าตาของโปรแกรมซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างต่าง ๆ ดังรูป

ปกติ ก ารเรี ย กใช้ ง าน โปรแกรม Microsoft Excel เปิ ด แฟ้ ม คื อ
สมุดงานขึ้นมาซึ่งสมุดงานจะประกอบด้วยแผ่นงาน หลาย ๆ แผ่นรวมกัน
ซึ่งในไฟล์ของสมุดงานแต่ละไฟล์จะมีแผ่นงานได้สูงสุด 255 แผ่นโดย
การแทรกแผ่นงาน การแทรกแผ่นงาน คลิกที่คำาสั่ง แทรก
โครงสร้ า งของแผ่ น งาน (WorkSheet) จะมี ลั ก ษณะเป็ น ตาราง
ขนาดใหญ่ โ(Insert) > แผ่นงาน (Worksheet) หรือคลิกที่ชื่อแผ่นงาน
(worksheet) แล้วคลิกขวา > คลิกแทรกดยมีการแบ่งพื้นที่ทางแนวนอน
ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า แถว (Row) จะใช้ตัวเลขเป็นตัวระบุตำาแหน่งของ
แ ถ ว เ ริ่ ม ต้ น ที่ 1 แ ล ะ สิ้ น สุ ด ที่ 65,536 (ถ้ า เ ป็ น Excel 97 จ ะ
ได้ 16,384) และแบ่ ง พื้ น ที่ ท างแนวตั้ ง ออกเป็ น ส่ ว น ๆ เรี ย กว่ า สดมภ์
(Column) จะมีทั้งหมด 256 สดมภ์ โดยจะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็น
ตั ว ระบุตำา แหน่ ง เริ่ ม จาก A - IV สดมภ์ และแถวมาตั ด กั น เป็ น ช่ อ งเล็ ก ๆ
เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีจำานวนเซลล์เท่ากับจำานวนแถวคูณด้วยจำานวน

7
สดมภ์ และมีชื่อเรียกตามชื่อสดมภ์หรือคอลัมน์ตามด้วยชื่อแถว เช่น A1
หมายถึงอยู่ที่สดมภ์หรือคอลัมน์ A แถวที่ 1
มีว ิธ ีก าร การสร้า งเอกสารใหม่ สามารถทำา ได้ 3 วิธ ีด ้ว ยกัน
1. สร้างสมุดทำาการใหม่จากเมน
1.1 นำาเมาส์คลิกที่เมนูแฟ้ม (File)
1.2 คลิกเลือก สร้าง (New)

2. สร้างสมุดทำาการโดยคลิกที่
3. สร้างสมุดทำาการโดยกดปุ่ม Ctrl พร้อมกับปุ่ม N ที่คีย์บอร์ด
สรุป การสร้า งเอกสารใหม่

เมื่อ เข้า โปรแกรมได้แ ล้ว ทีน ี้ม ารู้จ ัก วิธ ีก ารกำา หนดช่ว งของ
ข้อ มูล ต่า งๆกัน ดีก ว่า
8
ก่อนทำาการป้อนข้อมูล เราต้องทำาการเลือกเซลล์ที่ต้องการ ซึ่งจะ
ใช้การเลือกเซลล์โดยใช้เมาส์ หรือ คีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังสามารถเลือก
เซลล์ใช้คำาสั่ง ไปที่ (Goto) และการระบุชื่อเซลล์ที่กรอบชื่อเซลล์ได้
การเลื่อ นตัว ชี้เ ซลล์ (Active Cell)

4. ชนิด ของข้อ มูล ที่ต ้อ งการใส่ใ นเซลล์ข องโปรแกรม
Microsoft Excel
1. ข้อ มูล ประเภทข้อ ความ (Text) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่นำามา
คำานวณ อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมาย การใส่ข้อมูลที่มีความ
ยาวมากกว่าความกว้างของเซลล์ข้อความนั้นจะถูกแสดงต่อไปในเซลล์ที่
อยู่ทางขวามือ ตราบใดที่เซลล์ทางขวามือนั้นยังไม่มีข้อมูล ข้อมูลชนิดนี้
จะถูกจัดให้อยู่ชิดซ้ายของเซลล์เสมอ
2. ข้อ มูล ประเภทตัว เลข (Numeric) ข้อมูลที่นำามาคำานวณได้
ข้อมูลจะอยู่ชิดขวา และไม่สามารถแสดงผลเกินความกว้างของเซลล์ได้
ถ้าความกว้างของเซลล์ไม่พอจะปรากฏเครื่องหมาย ####### การ
แก้ไขโดยขยายความกว้างของเซลล์ออกไป
3. ข้อ มูล ประเภทวัน ที่ (Date) หมายถึงข้อมูลที่ประกอบด้วยวัน
ที่และเดือน เดือนและปี หรือวันที่ เดือนและปี โดยเดือนสามารถกำาหนด
ได้ทั้งแบบตัวเลข หรือตัวอักษร ข้อมูลชนิดนี้นำาไปคำานวณได้
9
4. ข้อ มูล ประเภทเวลา (Time) หมายถึงข้อมูลที่ประกอบด้วย
ชั่วโมงและนาที โดยมีเครื่องหมาย : ข้อมูลชนิดนี้สามารถนำาไปคำานวณ
ได้
5. ข้อ มูล ประเภทสูต ร (Formular) ข้อมูลประเภทนี้คือ
สมการคณิตศาสตร์ จะต้องใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) นำาหน้า

5. การป้อ นข้อ มูล
เริ่ม การป้อ นข้อ มูล ในเซลล์
เมื่อเข้าสู่โ ปรแกรม Microsoft Excel เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์
โดยการเลือกเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูล พิมพ์ขอความลงไปในเซลล์ จะ
้
ปรากฏในเซลล์ทำางานและในแถบสูตรจะถือว่าสมบูรณ์ ข้อมูลอยู่ในเซลล์
นั้นก็ต่อเมื่อมีการยืนยันโดยการกดแป้น Enter หรือคลิกที่เครื่องหมาย
ถูก บนแถบสูตรหรือเลื่อนตัวชี้เซลล์ไปเซลล์อื่น เมื่อต้องการยกเลิกการ
ป้อนข้อมูลให้กด ปุ่ม <ESC>
ขั้น ตอนการป้อ นข้อ มูล ลงในเซลล์
1. เลือกเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูลโดยการคลิกเมาส์เซลล์เป็น
Active Cell

2. พิมพ์ข้อความในเซลล์

3. กดแป้น Enter
10
หรือคลิกที่ เครื่องหมายถูกในแถบสูตร

เมื่อยืนยันข้อมูลให้สังเกตตัวชี้เซลล์เมื่อกด Enter กับคลิกที่
เครื่องหมายถูกจะอยู่ที่เซลล์ต่างกันเมื่อกด Enter ตัวชี้เซลล์จะเลื่อนลงมา
1 บรรทัด ถ้าคลิกที่เครื่องหมายถูกจะอยู่ที่เซลล์เดิม
การป้อ นข้อ มูล หลายบรรทัด ในเซลล์เ ดีย วกัน
คลิกเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูล พิมพ์ข้อมูลเมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ให้
กดปุ่ม ALT + ENTER จะพบว่าเคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดของเซลล์เดิม

บางครั้งเมื่อเราป้อนข้อมูลแล้ว อาจเกิดการผิดพลาดขึ้นได้ เรา
ลองมาดูซิว่าจะมีวิธีการแก้ไขการผิดพลาดนั้นๆได้อย่างไร
11
6. การแก้ไ ขข้อ มูล
ในการป้อนข้อมูลลงในเซลล์ของตารางทำางาน ถ้าเกิดมีการพิมพ์ผิด
เราสามารถแก้ไขข้อมูลที่พิมพ์ผิดให้ถูกต้องได้ง่าย การแก้ไ ขข้อ มูล มี
2 กรณี คือ
1. ถ้าต้องการแก้ไขข้อมูลขณะกำาลังป้อนข้อมูลและยังไม่ได้กดแป้น
Enter ทำาได้โดยการเลื่อนตัวชี้ไปที่อักขระที่ผิดแล้วกดแป้น Backspace
แต่ตองการยกเลิกการพิมพ์ทั้งหมดให้คลิกที่เครื่องหมายผิดที่แถบสูตร
้
หรือกดแป้น ESC ก็ได้
2. การแก้ไขข้อมูลที่มีการกด Enter ไปแล้วสามารถทำาการแก้ไข
ข้อมูลที่ผดได้ สองแห่งบนตารางคือแก้ไขข้อมูลบนแถบสูตร หรือแก้ไข
ิ
ข้อมูลในเซลล์โดยตรงทำาได้ 2 วิธีดังนี้
2.1 วิธ ีท ี่ 1
1) คลิกที่เซลล์ที่ต้องการแก้ไขข้อมูล
2) พิมพ์ข้อมูลที่ตองการใหม่
้
3) กดแป้น Enter
2.2 วิธ ีท ี่ 2
1) คลิกที่เซลล์ที่ต้องการแก้ไขข้อมูล
2) ใช้เมาส์คลิกที่จุดที่ต้องการแก้ไข หรือกดแป้น F2 แล้ว กด
แป้นลูกศร เพื่อเลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตำาแหน่งที่ต้องการแก้ไข
3) ทำาการแก้ไขข้อมูล
4) กด Enter
7. การบัน ทึก สมุด งาน (Save)
การยกเลิก การทำา งานครั้ง สุด ท้า ย
เมื่อมีการป้อนข้อมูลลงในเซลล์ทำางาน หรือมีการใช้คำาสั่งใด ๆ บน
พื้นที่การทำางานแล้วต้องการที่จะยกเลิกการป้อนข้อมูลหรือการใช้คำาสั่ง
หรือการทำางานครั้งล่าสุด โปรแกรม Microsoft Excel มีคำาสั่งที่อำานวย
ความสะดวกในการยกเลิกการทำางานครั้งล่าสุด คลิกที่คำาสั่งแก้ไข
(Edit) > เลิกทำา (Undo) หรือคลิกที่สัญรูป

12
แต่ถ้าเปลี่ยนใจต้องการดำาเนินการที่ยกเลิกไป ก็สามารถทำาได้โดย
ใช้คำาสั่ง แก้ไข (Edit) >ทำาซำ้า (Repeat) หรือคลิกที่สัญรูป
จะมี
ผลต่อคำาสั่งครั้งสุดท้ายเท่านั้น
การบัน ทึก แฟ้ม ข้อ มูล ใหม่
เมื่อจัดทำาเอกสารเรียบร้อยต้องการบันทึกเอกสารนั้นไว้เพื่อให้สามารถนำา
เอกสารนั้นกลับมาใช้ใหม่ได้อีกด้วย การจัดเก็บเอกสารนั้นในรูปสมุด
งาน ซึ่งมีขั้นตอนการบันทึกเอกสารดังนี้
ขั้น ตอนการบัน ทึก แฟ้ม ใหม่ม ีด ัง นี้
วิธ ีท ี่ 1 การบันทึกด้วยเมนู
1.
2.

คลิกที่คำาสั่ง แฟ้ม (File) > บันทึกหรือบันทึกเป็น
(Save /Save as)
จะปรากฏกรอบโต้ตอบ

จะเก็บไว้ที่ใดคลิกตรงบันทึกใน และตั้งชื่อแฟ้มในช่องชื่อ
แฟ้ม ถ้าไม่ตั้งชื่อ โปรแกรม Excel จะตั้งชื่อให้ Book1
นามสกุล .xls คลิกบันทึก
วิธ ีท ี่ 2 คลิกที่สัญรูป
วิธ ีท ี่ 3 กดปุ่ม Ctrl + S

ที่แถบเครื่องมือ
ที่คีย์บอร์ด

สรุป
ขั้น ตอนที่ 1 เลือกวิธีการบันทึกสมุดงาน หนึ่งในสามวิธี
13
ขั้น ตอนที่ 2 ระบุแหล่งสำาหรับทำาการบันทึก เช่น Drive D: หรือ
Drive A: รวมถึงระบุสถานที่สำาหรับจัดเก็บเอกสารว่าอยู่ที่ใด
Folder ใด
ขั้น ตอนที่ 3 ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลทีต้องการจัดเก็บ
่
ขั้น ตอนที่ 4 คลิกบันทึก
8. การปิด แฟ้ม ข้อ มูล
1. คลิกที่คำาสั่งแฟ้ม(File) > ปิด(Close)

หรือ คลิกที่เครื่องหมายกากบาทล่างด้านขวามือ
9. การออกจากโปรแกรม Excel
1. คลิกที่คำาสั่ง แฟ้ม (file) > จบการทำางาน (Exit)

14
2.

คลิกที่เครื่องหมายกากบาทบนด้านขวามือสุด

3. คลิกที่ปุ่ม Control Menu Bar ( คลิก
แถบชื่อเรื่อง) คลิกที่ ปิด (Close) หรือ

ด้านซ้ายบนสุด

สรุป เนื้อ หา
ในบทนี้ ได้ศึกษา รู้จักโครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรม EXCEL
หลักการการทำางานของโปรแกรม เบื้องต้น ได้แก่ การสร้างแฟ้มข้อมูล
การป้อน การแก้ไข การเก็บข้อมูล การเปิดและปิดไฟล์ เพื่อเป็นพื้นฐาน
ในการศึกษาในบทต่อไป
คำา ถามท้า ยบท
1. การคำานวนณหาดอกเบี้ยจ่ายควรใช้โปรแกรมใด
ก. Microsoft Word
ข. Microsoft Access
ค. Microsoft Excel
ง. Microsoft PowerPoint
2. ข้อใดคือคุณสมบัติที่สำาคัญของโปรแกรม Microsoft Excel
ก. เป็นโปรแกรมที่ใช้ใการพิมพ์งาน
ข. เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบรูปภาพต่างๆ
15
ค. เป็นโปรแกรมที่จัดการข้อมูลในตารางได้เป็นอย่างดี
ง. เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการตกแต่งภาพและตัวอักษรได้ดี
3.ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงคุณสมบัติที่สำาคัญของโปรแกรม Microsoft Ex
cel ได้ถูกต้องที่สุด
ก. Excel ไม่สามารถคำานวณสูตรข้ามเซลล์ได้
ข. Excel สามารถที่จะเรียงลำาดับข้อมูลที่ต้องการจากตารางมา
วิเคราะห์ได้
ค. Excel ไม่สามารถย้อนกลับมาแก้ไขข้อมูลในเซลล์ได้หลัง
จากที่เปลี่ยนเซลล์ใหม่แล้ว
ง. Excel สามารถตกแต่งตารางได้แต่ไม่สามารถคำานวณข้อมูล
จากตารางที่ไม่เหมือนกันได้
4. ข้อใดเป็นชื่อเรียกของตารางที่ใช้เก็บข้อมูลของโปรแกรม
Microsoft Excel
ก. Sheet Tab
ข. Name Box
ค. Title Bar
ง. Worksheet
5. ส่วนประกอบใดของโปรแกรม Microsoft Excel มีแต่
Microsoft Word ไม่มี
ก. แถบสูตร (Formular Bar)
ข. แถบชื่อเรื่อง(Title Bar)
ค. แถบคำาสั่ง (Menu Bar)
ง. แถบเครื่องมือ (Tool Bar)
6. จากตารางทำางานแถวและสดมภ์ตัดกันเป็นช่องเรียกว่า
ก. Cell
ข. Row
ค. Column
ง. Table
7. ถ้าสมชายต้องการเปิดใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ต้องปฏิบิ
ติอย่างไร
ก. คลิกที่ปุ่ม Start ไปเลือกที่ Microsoft Excel
ข. Double Click ที่สัญลักษณ์
ค. คลิกที่ปุ่ม Start ไที่ All Program และ
Microsoft Office คลิกที่ Microsoft Office Excel
16
ง. สมชายจะเข้าสู่โปรแกรมวิธี ข หรือ ค ก็ได้
8. สมชายไม่ต้องการใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ต้องปฏิบัติได้
โดยวิธีใด
ก. เลือก แฟ้ม (File) > จบการทำางาน (Exit)
ข. คลิกที่
บนแถบคำาสั่ง
ค. ไปที่ปุ่ม Control Menu Bar คลิกที่ ปิด (Close)
ง. สามารถปฏิบัติได้ทั้งข้อ ก ข้อ ข และข้อ ค
9.สมชามกดปุ่ม Ctrl พร้อมกับปุ่มอักษร N เป็นการให้โปรแกรมทำางาน
ใด
ก. เปิดสุดงานเดิม
ข. เปิดสมุดงานใหม่
ค. บันทึกสมุดงาน
ง. บันทึกสมุดงานเป็นชื่อใหม่
10. สมชายต้องการบันทึกข้อมูล สามารถทำาได้โดย
ก. คลิกที่ File > new
ข. คลิกที่
ค. คลิกที่ปุ่ม Ctrl+D
ง. สมชายสามารถทำาได้ทั้ง 3 วิธี
11. สมชายต้องการปิดแฟ้มข้อมูล เขาจะปฏิบัติอย่างไร
ก. คลิกที่ Shut down
ข. คลิกที่ File > Exit
ค. คลิกที่
บนไตเติ้ลบาร์
ง. คลิกที่ File > Close
12. นายประเสริฐ สิงห์แก้ว บ้านเลขที่ 5 เป็นข้อมูลประเภทใด
ก. ข้อมูลตัวอักษร
ข. ข้อมูลตัวเลข
ค. ข้อมูลตัวอักษรแลัวตัวเลข
ง. ข้อมูลที่เป็นสูตร
13. ข้อมูลประเภทข้อความ ปกติจะอยู่ส่วนใดของเซลล์ที่ป้อน
ก. ชิดซ้าย
ข. ชิดขวา
ค. กลางเซลล์
ง. ขวาล่าง
17
14. เ มื่อป้อนข้อมูลแล้วคลิกที่เครื่องหมายถูกบนแถบสูตรตัวชี้เซลล์จะ
เลื่อนไปที่ใด
ก. อยู่กับที่
ข. เลื่อนไปทางขวา
ค. เลื่อนไปทางซ้าย
ง. เลื่อนลงไป 1 บรรทัด
15. การเลือกช่วงเซลล์ให้เป็นเซลล์ทำางานใน
โปรแกรม Microsoft Excel อาจเลือกพร้อมกันได้หลายเซลล์โดยไม่ติด
กัน ทำาได้ในข้อข้อใด
ก. คลิกที่เซลลแรก ใช้ปุ่มลูกศรไปยังเซลล์ต่อไป
ข. คลิกที่เซลล์แรกกดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ แล้คลิกที่เซลล์ต่อไป
ค. คลิกที่เซลล์แรก กดปุ่ม Shift ค้างไว้ แล้วคลิกที่เซลล์ต่อไป
ง. คลิกเมาส์ที่ช่องว่างด้านบนแถวที่ 1 กับด้านซ้ายของคอลัมน์
A
16. สมชายต้องเลือกเซลล์โดยใช้คำาสั่ง ไปที่ (GoTo) ไปที่แถวที่ 8 คอ
ลัมภ์ Q คำาสั่งข้อใดถูกต้อง
ก. เลือกที่ แก้ไข (Edit) > ไปที่ (GoTo) แล้วพิมพ์ 8Q
ข. เลือกที่ แก้ไข (Edit) > ไปที่ (GoTo) แล้วพิมพ์ Shift + 8Q
ค. เลือกที่ แก้ไข (Edit) > ไปที่ (GoTo) แล้วพิมพ์ Shift + Q8
ง. เลือกที่ แก้ไข (Edit) > ไปที่ (GoTo) แล้วพิมพ์ Q8
17. ปุ่ม Ctrl + <home> เป็นการสั่งให้โปรแกรม Microsoft Excel
ทำางานอะไร
ก. กลับที่ Worksheet ที่ 1
ข. เลื่อนเซลล์ไปที่คอลัมน์ A ในแถวนั้น
ค. เลื่อนเซลล์ไปที่คอลัมน์ A ในแถวที่ 1
ง. เลื่อนเซลล์ไปที่คอลัมน์ A ในแถวที่ 65536
18. สมชายต้องการลบข้อมูล เขาจะใช้ปุ่มใด
ก. ปุ่ม TAB
ข. ปุ่ม Enter
ค. ปุ่ม Shift
ง. ปุ่ม Backspace
19. หากต้องการยกเลิกการป้อนข้อมูลในเซลล์ให้กดปุ่มใดที่คีย์บอร์ด
ก. End
ข. Esc
18
ค. Enter
ง. Home
20. กรณีที่สมชายยังไม่ได้บันทึกแฟ้มข้อมูล สมชายลบข้อมูลไปแล้ว จะ
นำากลับคืนมาได้หรือไม่
ก. ได้ โดยใช้คำาสั่ง Redo
ข. ได้ โดยใช้คำาสั่ง Undo
ค. บางครั้งได้บางครั้งไม่ได้
ง. ไม่ได้ เพราะลบเรียบร้อยแล้ว

19
ใบงานกิจ กรรมที่ 1
การบัน ทึก สมุด งาน

ให้น ัก เรีย นพิม พ์ต ารางทำา การต่อ ไปนี้ และบัน ทึก ไฟล์ช ื่อ ข้อ มูล
สถิต ิ ในโฟลเดอร์ช ื่อ นัก เรีย น ใน Drive D:

ทำาได้ไหม
คะ

ทำาได้
ครับ

20
บทที่ 2.
การจัด การและตกแต่ง งานด้ว ย Excel
หัว ข้อ เรื่อ ง
การแทรก/ลบ เซลล์ คอลัมน์ แถว และแผ่นงาน
การคัดลอกและการย้ายข้อมูล
การตกแต่งตาราง
การปกป้องข้อมูลในเซลล์
การพิมพ์เอกสาร
วัต ถุป ระสงค์ก ารเรีย นรู้
1. ให้ส ามารถแก้ ไข ตกแต่ ง เพิ่ ม เติ ม ตารางหรื อ งานที่ จั ด ทำา ขึ้ น ให้
สวยงามขึ้น พร้อมที่จะนำาเสนอ
2. ให้ ส ามารถป้ อ งกั น การป้ อ นข้ อ มู ล ผิ ด พลาด และสามารถพิ ม พ์
เอกสารที่จัดทำาออกมาได้
แนวทางการรีย นการสอน
1. อธิบาย และสาธิต ให้ดูเป็นขั้นตอน หน้าชั้นเรียน
2. ให้นักเรียนฝึกทำาตาม
3. ให้ทำาโจทย์ตามใบงาน
4. ทดสอบหลังการสอน

21
1. การคัด ลอกและการย้า ยข้อ มูล
โปรแกรม Microsoft Excel 2003 มีการป้อนข้อมูลลงในเซลล์
การคัดลอกและการย้ายข้อมูลจึงทำาได้ง่ายและยืดหยุ่น สามารถทำาได้ทั้ง
แผ่นงาน เฉพาะแถวหรือคอลัมน์ หรือเฉพาะเซลล์และมีวิธีการทำาได้
หลายวิธี
การทำาสำาเนาหรือการคัดลอก (Copy)
การทำาสำาเนาหรือการคัดลอก (Copy) หมายถึง การทำาให้ข้อมูลที่
มีอยู่ในเซลล์นั้น หรือในพื้นที่หนึ่งไปเกิดขึ้นในเซลล์หรือในพื้นที่อื่น ๆ
โดยที่ขอมูลเดิมยังคงอยู่
้
ขันตอนการทำาสำาเนาข้อมูลการคัดลอก (Copy)
้
1. กำาหนดพื้นที่ทำางาน

2. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข (EDIT) > คัดลอก (COPY) หรือคลิกที่
สัญลักษณ์รูป

22
เมื่อทำาการคัดลอกจะปรากฏเส้นประ (Marky) ล้อมรอบเซลล์ที่ถูก
เลือก

3. คลิกที่พื้นที่ที่จะวางข้อมูล
4. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข(EDIT) > วาง (PASTE) หรือคลิกที่สัญ
รูป

การคัด ลอกเซลล์โ ดยการใช้ป ุ่ม Ctrl + C
23
วิธีนี้เป็นการคัดลอกข้อมูล มีวธีการดังนี้
ิ
1.

เลือกเซลล์ที่ต้องการคัดลอก

2.

กดปุ่ม Ctrl กับปุ่ม C พร้อมกันปรากฏ

3.

คลิกที่เซลล์ที่ต้องการวาง กดปุ่ม Ctrl กับ ปุ่ม V
พร้อมกัน

การคัด ลอกเซลล์โ ดยการใช้ป ุ่ม Ctrl
เป็นการาคัดลอกช่วงของแผ่นงาน ซึ่งรวมถึงค่าตัวเลขและสูตรที่อยู่ใน
เซลล์นั้น
1.

เลือกเซลล์ที่ต้องการจะคัดลอก

2.

นำาเมาส์ไปชี้ที่ขอบของเซลล์ที่เลือกไว้ ซึ่งต้องให้เมาส์เป็น
รูปลูกศร ( )

3.

ลากมาไว้ในเซลล์ที่ต้องการวาง โดยในขณะที่ลากเมาส์นั้น
ต้องกดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ด้วย

การคัด ลอกข้อ มูล โดยใช้ AutoFill
24
ข้อมูลที่มักใช้บ่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความหรือตัวเลข มีลักษณะเป็น
ข้อมูลที่ตองเรียงลำาดับ เช่นชุดลำาดับเลขคณิตที่มีการเพิ่มหรือลดด้วย
้
อัตราที่เท่ากัน ข้อมูลที่มีรูปแบบที่แน่นอน เช่น เดือนต่าง ๆ ของปี วัน
ต่าง ๆ ของสัปดาห์ โปรแกรม Excel จะเอื้ออำานวยความสะดวกในการ
ป้อนข้อมูลลงในตารางเป็นข้อมูลที่ซำ้า ๆ กัน และอยู่ติดกันเราสามารถคัด
ลอกข้อมูลอย่างรวดเร็วโดยวิธีการ AutoFill ได้
1.
2.
3.

คลิกเมาส์เลือกเซลล์และเลื่อนเมาส์ไปที่มุมขวาล่างของ
เซลล์เป็นเครื่องหมาย + เล็ก ๆ
คลิกเมาส์ค้างไว้พร้อมกับ ลากเมาส์ (Drag mouse)
ปล่อยเมาส์ข้อมูลถูกคัดลอกมา

การคัด ลอกเซลล์โ ดยการลากที่ จุด จับ เติม (Fill handle)
วิธีนี้เป็นการคัดลอกข้อมูล และสูตรต่าง ๆ มีวิธีการดังนี้
เลือกเซลล์ที่ต้องการคัดลอก

4.
5.

นำาเมาส์ไปชี้ที่มุมขวาล่างของเซลล์ที่เลือกไว้ หรือ
เรียกว่า จุดจับเติม (Fill Handle) ซึ่งต้องให้เมาส์เปลี่ยน
เป็นรูปกากบาทสีดำา (+) แล้วให้ลากเมาส์ลงมา

หมายเหตุ ถ้าต้องการสำาเนาข้อมูลในเซลล์หนึ่งไปเซลล์หนึ่งไปยัง
หลาย ๆ เซลล์ โดยที่พื้นที่รับข้อมูลอยู่ตดกับพื้นที่ต้นแบบสามารถทำาโดย
ิ
การป้อนข้อมูลอัตโนมัติ

2. การย้า ยข้อ มูล
25
การย้ายข้อมูล หมายถึงการย้ายข้อมูลในเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์
หรือพื้นที่ใหม่ การย้ายต่างจากการสำาเนา คือ การทำาสำาเนาจะทำาให้มี
ข้อมูลหรือสูตรเพิ่มขึ้นจากเดิม ส่วนการย้ายจะไม่ทำาให้ข้อมูลเพิ่มขึ้น
เพียงแต่เป็นการย้ายข้อมูลจากบริเวณเดิมไปสู่บริเวณใหม่
ขันตอนการย้ายข้อมูล
้
1. กำาหนดพื้นที่ทำางาน
2. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข (EDIT) > ตัด (CUT) หรือคลิกที่สัญรูป
หรือ ใช้ปุ่ม Ctrl +X
3. คลิกที่พื้นที่ที่จะวางข้อมูล
4. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข (EDIT) > วาง (PASTE) หรือคลิกที่สัญรูป
หรือใช้ปุ่ม Ctrl +V

คลิกพื้นที่ที่ต้องการ

26
คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข > ตัด

คลิกพื้นที่ที่ต้องการวาง

3. การแทรกเซลล์ คอลัม น์ แถว และแผ่น งาน
การแทรกเซลล์
การแทรกเซลล์ จะเป็นการเพิ่มเซลล์ใหม่เข้ามาแทนตำาแหน่ง
ของเซลล์ในตำาแหน่งที่ เคอร์เซอร์อยู่เพื่อทำาการแทรก โดยเซลล์ที่
27
เคอร์เซอร์อยู่จะขยับไปทางด้านล่างหรือทางขวาของเซลล์ใหม่ที่แทรก
เข้ามา
1.
2.

3.

คลิกเลือกเซลล์ที่ต้องการแทรกจะปรากฏแถบเส้นกรอบล้อม
รอบเซลล์
นำาเมาส์คลิกเลือกคำาสั่งแทรกจะปรากฏแถบเมนูย่อย

คลิกเลือกเมนูย่อยเซลล์ จะปรากฏเมนูการแทรกให้เลือก

28
4. การแทรกแถว
การแทรกแถว จะเป็นการเพิ่มแถวใหม่เข้ามาแทนที่หมายเลข
ที่ทำาการแทรก โดยแถวที่เลือกจะขยับไปทางด้านล่างของแถวใหม่ที่
แทรกเข้ามา
1. คลิกที่แถวที่ต้องการแทรก
2. คลิกที่คำาสั่งแทรก (Insert) > แถว (Row)

ภาพแสดงตัวอย่างการเลือกแถวเพื่อแทรกใหม่
29
ภาพแสดงตัวอย่างที่ได้จากการแทรกแถวใหม่

5. การแทรกคอลัม น ์์
การแทรกคอลัมน์ จะเป็นการเพิ่มคอลัมน์ใหม่เข้ามาแทนที่คอลัมน์
ที่ทำาการแทรก โดยคอลัมน์ที่เลือกจะขยับไปทางขวาของคอลัมน์ใหม่ที่
แทรกเข้ามา
1. คลิกที่แถวที่ต้องการแทรก
2. คลิกที่คำาสั่งแทรก (Insert) > คอลัมน์ (Column)

30
ภาพแสดงตัวอย่างการเลือกคอลัมน์เพื่อแทรกใหม่

ภาพแสดงตัวอย่างที่ได้จากการแทรกคอลัมน์ใหม่

6. การพิม พ์เ อกสาร
การพิม พ์ข ้อ มูล ออกทางกระดาษ
สามารถทำาได้โดยคลิกที่ปุ่ม
หรือ คลิกที่คำาสั่ง แฟ้ม(File) >

พิมพ์ (print)

31
จากรูปจะเห็นรายละเอียดกำาหนดไว้ดังนี้
1.

ชื่อเครื่องพิมพ์ หมายถึงเครื่องพิมพ์ที่จะใช้ในการพิมพ์

2.
ระบุช่วงที่พิมพ์ พิมพ์ขอมูลทั้งหมดคลิกที่ทั้งหมด (All)
้
พิมพ์เฉพาะหน้าคลิกที่ หน้า (Page) พิมพ์ในช่วงหน้าต่อเนื่อง
3.
สิ่งที่พิมพ์ (print) สามารถเลือกส่วนของเอกสารที่
ต้องการพิมพ์ ดังนี้ ส่วนที่เลือก(Selection) พิมพ์เฉพาะส่วนที่เลือก พิมพ์
ทั้งสมุดงาน (Entire Workbook) พิมพ์ทุกแผ่นงานที่มีในสมุดงานนั้น ๆ
แผ่นงานที่ใช้งานอยู่ (Active Cell) กำาหนดให้พิมพ์เฉพาะแผ่นงานที่
ใช้งานอยู่
4.
พิมพ์กี่ชุด

กำาหนดจำานวนสำาเนาที่พิมพ์ (Number of copies)

เมื่อเลือกกำาหดสิ่งที่ต้องการพิมพ์เรียบร้อยแล้วให้กดปุ่มตกลง (Ok)
เพื่อสั่งพิมพ์
การตั้ง ค่า หน้า กระดาษที่จ ะพิม พ์
ให้คลิกที่แฟ้ม (File) > ตั้งค่าหน้ากระดาษ (Page Setup)

32
หัวเรื่องเกี่ยวกับหน้า (Page) ใช้กำาหนดเกี่ยวกับตัวกระดาษ การ
วางแนวหน้า (Orientation) แนวตั้ง (Portrait) พิมพ์แนวตั้ง แนวนอน
(Landscape) พิมพ์แนวนอน มาตราส่วน(Scaling) หมายถึงขนาดที่
ต้องการพิมพ์ (คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ขนาดเท่าจริง) ขนาดกระดาษ (Paper
Size) ขนาดกระดาษที่ใช้ คุณภาพการพิมพ์ (Print Quality) ความ
ละเอียดในการพิมพ์ หมายเลขหน้าแรก (First Page Number) หมาย
ถึง หมายเลขหน้าเริ่มต้นว่าจะใส่เลขหน้าอะไรเป็นหน้าแรก
การตั้งระยะขอบ ให้กำาหนดเกี่ยวกับระยะขอบด้านต่าง ๆ ได้แก่
ด้านบน(Top) ด้านล่าง (Bottom) ด้านซ้าย(left) ด้านขวา (Right) หัว
กระดาษ (Header) ระยะเว้นจากขอบด้านบนถึงหัวกระดาษ ท้าย
กระดาษ (Footer) ระยะเว้นจากด้านล่างถึงท้ายกระดาษ กึ่งกลางหน้า
กระดาษ (Center On Page) หมายถึงการจัดข้อมูลที่จะพิมพ์ให้อยู่
กลางหน้ากระดาษซึ่งมีให้เลือก 2 แบบ ตามแนวนอน (Horlizontally)
ตามแนวตั้ง (Vertically)
33
สรุป เนื้อ หาในบท
ในบทนี้ ได้ศึกษาถึง การตกแต่ง เพิ่มเติม แก้ไขดัดแปลง ให้
เอกสารหรือแผ่นงาน สวยงามเป็นไปตามที่ต้องการได้ และรู้จักวิธีการ
ป้องกันข้อมูลเสียหายจากการป้อนผิด รวมทั้งสามารถพิมพ์เอกวารออก
มาได้ เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาในบทต่อไป
คำา ถามท้า ยบท
1. การแทรกคอลัมภ์จะต้องใช้คำาสั่งใดบนแถบเมนูคำาสั่ง
ก. เมนู แก้ไข (Edit) > ตัด (Cut)
ข. เมนู แทรก (Insert) > คอลัมน์ (Column)
ค. เมนู เครื่องมือ (Tool) > คอลัมน์ (Column)
ง. เมนู รูปแบบ (Format) > คอลัมน์ (Column)
2. การแทรกแถววิธีการใดทำาได้เร็วและสะดวกที่สุด
ก. เลือกเซลล์ที่อยู่ในแถวที่ต้องการแทรก คลิกเมาส์ปุ่มขวา
เลือก แทรก (Insert)
ข. เลือกเซลล์ที่อยู่ในแถวที่ต้องการแทรก เลือกเนูคำาสั่ง แทรก
(Insert) เลือกแถว (Row)

34
ค. เลือกหัวแถวที่ต้องการแทรก คลิกเมาส์ปุ่มขวา เลือก แทรก
(Insert)
ง. เลือกหัวแถวที่ต้องการแทรก เลือกเมนูคำาสั่ง แทรก
(I์ืnsert) เลือก แถว (Row)
3. การแทรกเซลล์โดยข้อมูลในเซลล์เดิมจะ ถูกย้ายไปทางขวาจะทำาได้
ตามข้อใด
ก. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่หัวคอลัมน์ของเซลล์ที่ต้องการแทรก และ
เลือก แทรก (Insert)
ข. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่หัวแถวของเซลล์ที่ต้องการแทรก และ
เลือก แทรก (Insert)
ค. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่เซลล์ที่ต้องการแทรกเลือก แทรก
(Insert) เมื่อมีกล่องตอบโต้ให้คลิกเลือก เลื่อนเซลล์ไปทางขวา
(Shift cells right)
ง. ปฏิบัติได้ทุกข้อ
4. การแทรกแผ่นงานจะต้องทำาอย่างไร
ก. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่แผ่นงาน จะมีเมนูลัดขึ้นมาให้เลือก แทรก
(Insert) เมื่อมีหน้าต่างตอบโต้ให้เลือก แผ่นงาน (WorkSheet)
ตอบตกลง
ข. เลือกคำาสั่งเมนู แทรก (Insert) เลือก แผ่นงาน
(Worksheet)
ค. คลิกเมาส์ปุ่มซ้ายที่แผ่นงาน จะมีเมนูลัดขึ้นมาให้เลือก แทรก
(Insert) และเลือก แผ่นงาน (WorkSheet)
ง. คลิกเลือกแผ่นงานที่ 1 กดปุ่ม Shift คลิกเลือกจำานวนแผ่น
งานที่ต้องการแทรก เลือกเมนูคำาสั่ง แทรก (Insert) เลือกแผ่นงาน
(Worksheet
5. การลบเซลล์โดยที่ไม่มีผลต่อเซลล์อื่นต้องทำาตามข้อใด
ก. เลือกเซลล์ที่ต้องการเลือกเมนู แก้ไข (Edit) เลือกลบ
(Delete)
ข. เลือกเซลล์ที่ต้องการลบคลิกเมาส์ปุ่มขวา เลือก ลบ (Delete)
ค. เลือกเซลล์ที่ต้องการลบ กดปุ่ม Delete บนแป้นพิมพ์
ง. เลือกปฏิบัติได้ทั้ง 3 ข้อ
6. การลบแถวหรือสดมภ์หลังจากเลือกแถวหรือสดมภ์ที่ต้องการลบ
แล้ว ขันตอนต่อไปปฏิบัติอย่างไร
้
ก. คลิกคำาสั่งแก้ไข (Edit) > คลิกที่เมนู ลบ (Delete)
ข. คลิกเมาส์ปุ่มขวาแล้วเลือก Delete
35
ค. คลิกคำาสั่งแทรก (Insert)
ง. ปฏิบัติได้ทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข
7. เ มื่อแผ่นงานมีจำานวนมากเกินไป ต้องการลบแผ่นงานสามารถปฏิบัติ
ได้ย กเว้น ข้อใด
ก. เลือกแผ่นงานที่ต้องการลบ กดปุ่ม Delete
ข. เลือกแผ่นงานที่ต้องการลบ คลิกขวาที่แท็ปแผ่นงานจะ
ปรากฏเมนูลัดออกมาให้เลือกคำาสั่ง ลบ (Delete)
ค. เลือกแผ่นงานที่ต้องการลบ คลิกที่เมนูคำาสั่ง แก้ไข (Edit)
เลือกคำาสั่งย่อยลบแผ่นงาน (Delete Sheet)
ง. เลือกแผ่นงานท่ต้องการลบ กด Shift ค้างไว้ คลิกที่แผ่นงาน
อืนที่ต้องการลบ คลิกที่เมนูคำาสั่ง แก้ไข (Edit) เลือกคำาสั่งย่อย ลบ
่
แผ่นงาน
(Delete Sheet)
8. ข้อใดคือการย้ายข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด
ก. คลิกเมาส์ที่เซลล์ที่ต้องการย้ายและกดปุ่ม Ctrl+V
ข. คลิกเมาส์ที่เซลล์ที่ต้องการย้ายและกดปุ่ม Ctrl+X
ค. คลิกเมาส์ที่เซลล์ที่ต้องการย้ายและกดปุ่ม Ctrl+X คลิกเมาส์
ที่เวลล์ที่ต้องการวางข้อมูลและกดปุม Ctrl+V
ง. ปฏิบัติได้ทั้ง 3 ข้อ
9. การคัดลอกข้อมูลโดยการเลือกรูปสัญลักษณ์การคัดลอกและวาง
นอกจากเลือกบนแถบเครื่องมือมาตรฐาน สามารถทำาได้โดยวิธีใดได้อีก
ก. คลิกเมาส์ซ้ายค้างเลือกที่เซลล์แรกของแถวที่ต้องการเลือก
แล้วลากไปจนถึงเซลล์สุดท้าย
ข. คลิกเมาส์ขวามือที่เซลล์ที่ต้องการคัดลอกแล้วเลือก
สัญลักษณ์
หลังจากนั้นเลือกเซลล์ที่ต้องการนำาข้อมูลไปไว้ คลิก
เมาส์ขวาเลือก
สัญลักษณ์ ์์
ค. ดับเบิลคลิกที่เซลล์ที่ต้องการคัดลอก นำาไปวางที่เซลล์ที่
ต้องการนำาข้อมูลไปไว้แล้วดับเบิลคลิกอีกครั้ง
ง. คลิกที่เซลล์ที่ต้องการคัดลอก กดปุ่ม Shift ค้างไว้แล้วลาก
เมาส์ไปวางที่เซลล์ที่ต้องการนำาข้อมูลไปไว้
10. ผลแตกต่างระหว่างการย้ายข้อมูลกับการคัดลอกข้อมูลเห็นได้
ชัดเจนที่สุดคือ
ก. วิธีการทำางาน
ข. วัตถุประสงค์การทำางาน
ค. คำาสั่งที่ใช้
36
ง. ผลลัพธ์ทออกมา
ี่
11.การกดปุ่ม Ctrl+1 เป็นปุ่มคีย์ลัดที่ทำาหน้าที่อะไร
ก. จัดรูปแบบเซลล์ตามเงื่อนไข
ข. จัดรูปแบบเซลล์
ค. จัดรูปแบบคอลัมน์
ง. จัดรูปแบบแถว
12. ถ้าต้องการให้ตัวเลขมีเครื่องหมาย,คั่น และทศนิยม 4 ตำาแหน่ง ต้อง
ทำาอย่างไร
ก. คลิกเลือกที่
ข. คลิกเลือกที่
ค. คลิกเลือกที
์่
ง. กดปุ่ม Ctrl+1 คลิกเลือกที่แท็ปตัวเลขกำาหนดให้มีทศนิยม 4
ตำาแหน่งและเครื่องหมาย ,
13. ถ้าคลิกที่สัญลักษณ์รูป ในเซลล์ที่มีเลขจำานวนเต็มสามครั้ง จะมี
ผลอย่างไร
ก. ไม่มีผล
ข. มีทศนิยมเพิ่ม 3 ตำาแหน่ง
ค. ลดทศนิยมลง 3 ตำาแหน่ง
ง. ตัวเลขเพิ่มขึ้น 3 หลัก
14. การวางแนวนอน ใช้คำาสั่งใด
ก. Horizontal
ข. Vertical
ค. Orientation
ง. Alignment
15. รูปแบบการจัดวางข้อมูลในแนวนอนแบบ General ผลลัพธ์ของ
ข้อมูลจะเป็นอย่างไร
ก. ตัวเลขและวันที่จะชิดขวา ข้อความชิดซ้าย และค่าตรรกะอยู่
กึ่งกลาง
ข. ตัวเลขแล้ววันที่ชิดซ้าย ข้อความชิดขวาและค่าตรรกะอยู่
กึ่งกลาง
ค. ตัวเลขและวันที่อยู่กึ่งกลางข้อความชิดซ้าย และค่าตรรกะชิด
ขวา
ง. ตัวเลขและวันที่ชิดซ้าย ข้อวามอยู่กึ่งกลางและค่าตรรกะชิด
ขวา
37
16. ถ้าต้องการเพิ่มหรือเปลี่ยนสีลงในเซลล์ต้องเลือกการจัดรูปแบบเซลล์
ในแท็ปใด
ก. จัดตำาแน่ง
ข. แบบอักษร
ค. เส้นขอบ
ง. ลวดลาย
17. ถ้าต้องการจัดรูปแบบตัวอักษรในคำาสั่ง รูปแบบ (Format) > เซลล์
(Cell) ควรคลิกที่แท็ปใด
ก. ตัวเลข (Number)
ข. แบบอักษร (Font)
ค. เส้นขอบ (Border)
ง. การจัดตำาแหน่ง (Alignment)
18. EXCEL เป็นการจัดรูปแบบตัวอักษรโดยใช้เครื่องมือใด
ก.
ข.
ค.
ง.
19. การทำาการป้องกันแผ่นงานมีประโยชน์อย่างไร
ก. ป้องกันการเปลี่ยนแปลงแก้ไขแผ่นงาน
ข. ป้องกันการบันทึกแผ่นงาน
ค. ป้องกันการบันทึกแผ่นงานซำ้า
ง. ป้องกันการพิมพ์
20. การสั่งพิมพ์งานของโปรแกรม Microsoft Excel ข้อใดกล่าวไม่ถูก
ต้อง
ก. การสั่งพิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งพิมพ์ได้ทั้ง
Worksheet
ข. การสั่งพิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งพิมพ์ได้ทั้ง
Workbook
ค. การสั่งพิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งพิมพ์งานเฉพาะบาง
ส่วนได้
ง. การสั่งพิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งให้ไปเก็บอยู่ในรูปไฟล์
ได้

38
39
ใบงานที่ 2 การตกแต่ง ตาราง

แบบฝึก เสริม ทัก ษะการตกแต่ง ตาราง
1. ให้นักเรียนจัดทำา ตารางสอนประจำา ตัว นั กเรี ยนโดยกำา หนดชุด แบบ
อักษร ขนาดอักษร รูปแบบตัวอักษร สีตัวอักษร สีสัน ตามความเหมาะสม
และสวยงาม แล้วบันทึกข้อมูลเหล่านี้ลงในแฟ้มชื่อ Ex 2_4
2. ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลจากเพื่อน ๆ จำา นวน 10 คนในเรื่อง ชื่อ
นามสกุล ชื่อเล่น วันเดือนปีเกิด อายุ และเรื่องน่าสนใจอีก 2 เรื่อง แล้ว
นำาข้อมูลเหล่านี้มาสร้างตารางในการเก็บข้อมูลเหล่านี้โดยใช้โปรแกรม
Excel ให้กำา หนดรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสมแล้วบันทึกข้อมูลไว้
ในแฟ้มชื่อ Ex 2_5
3. เรี ย กแฟ้ม ข้อ มูล นักเรีย นชื่ อ Ex 2_5 มาเพื่ อ นนั กเรี ย นแต่ ล ะคนใน
เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ เพศโดยให้ แ ทรกอยู่ ร ะหว่ า งชื่ อ เล่ น และวั น เดื อ นปี เ กิ ด
นอกจากนี้ให้ทำา การรวบรวมข้ อมู กเรื่อ งจากเพื่ อ นอี ก 2 คน โดยแทรก
เป็นข้อมูลลำาดับที่ 7 และที่ 8 แล้วบันทึกข้อมูลไว้ในแฟ้มชื่อ Ex 2_6
4. เรี ย กแฟ้ ม ข้ อ มู ล Ex 2_5 มาเพื่ อ พิ ม พ์ ข้ อ มู ล ออกทางเครื่ อ งพิ ม พ์
เฉพาะเรื่อง ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น อายุ เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วทำาข้อมูลให้
อยู่ในรูปเดิมแล้วบันทึกข้อมูลในแฟ้มชื่อเดิม

เราทำาได้
เราทำาได้
แล้วนะ
แล้วนะ

ครูครับผมก็
ครูครับผมก็
ทำาได้ครับ
ทำาได้ครับ

40
41
บทที่ 3.
การสร้า งสูต รและใช้ฟ ัง ก์ช ัน ในการคำา นวณ
หัว ข้อ เรื่อ ง
การใช้สูตรในการคำานวณ
การป้อนสูตรในการคำานวณ
การอ้างอิงเซลล์หรืองช่วงเซลล์ในสูตร
การใช้ฟังก์ชันในตาราง
วัต ถุป ระสงค์ก ารเรีย นรู้
1. ให้สามารถเข้าใจการป้อนสูตรคำานวณ ในโปรแกรม EXCEL
2. ให้สามารถสร้างตารางการคำานวณ และสามารถประยุกต์ ไปใช้ใน
งานต่างๆ ได้
แนวทางการรีย นการสอน
1. อธิบาย และสาธิต ให้ดูเป็นขั้นตอน หน้าชั้นเรียน
2. ให้นักเรียนฝึกทำาตาม
3. ให้ทำาโจทย์ตามใบงาน
4. ทดสอบหลังการสอน

42
1. การใช้ส ูต รในการคำา นวณ
โปรแกรม Microsoft Excel 2003 เป็ นโปรแกรมที่ ใช้
สำาหรับการคำานวณ โดยมีเครื่องมือให้ใช้มากมาย ทั้งในรูปของสูตรหรือ
ฟั ง ก์ ชั น สามารถใช้ ใ นรู ป แบบอั ต โนมั ติ หรื อ สามารถกำา หนดให้ ด้ ว ย
ตนเอง โดยที่ สู ต รเราจะหมายถึ ง การคำา นวณทางคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ ง
ประกอบด้ ว ยเครื่ อ งหมายทางคณิ ต ศาสตร์ เครื่ อ งหมายในการเปรี ย บ
เทียบ เชื่อมข้อความและการอ้างอิง เช่น การบวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น
ส่ ว นฟั ง ก์ ชั น เราจะหมายถึ ง คำา สั่ ง สำา เร็ จ รู ป ที่ ใ ช้ ใ นการคำา นวณ เช่ น
Sum Average Min Max ฯลฯ
ชนิด ของสูต ร
โปรแกรม Microsoft Excel 2003 แบ่งชนิดของสูตร
ออกเป็น 4 ชนิด คือ
1.

สูตรในการคำานวณทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Formula)

เครื่องหมา ความหมาย
ตัวอย่างสูตร
ย
+
บวก
=40 + 10 จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ 50
ลบ
= 40 – 10 จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ 30
*
คูณ
=40*2
จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ 80
/
หาร
= 40/2
จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ 20
%
เปอร์เซ็นต์ = 40%
จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ 0.4
^
ยกกำาลัง
=40^2
จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ 1600
2.

สูตรในการเปรียบเทียบ (Comparision Formula)

เครื่องหมา
ย
=

ความหมาย
เท่ากับ

ตัวอย่างสูตร
= 40=30 จะได้ผลลัพธ์
43
เท่ากับ False
มากกว่า
=40>30 จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ True
น้อยกว่า
=40<30
จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ False
ม า ก ก ว่ า ห รื อ =40>=30 จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ
เท่ากับ True
น้ อ ย ก ว่ า ห รื อ =40<=30 จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ
เท่ากับ False
ไม่เท่ากับ
40< >40 จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ False

>
<
>=
<=
<>

3.เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น
(Text Formula)
เครื่อ งหม
ความหมาย
ตัว อย่า งสูต ร
าย
&
เชื่อมหรือนำาคำา
=STORY&BOARD จะ
สองคำามาต่อกัน
ได้ผลลัพธ์เท่ากับ
ให้เกิดค่า
STORYBOARD
ข้อความต่อเนื่องที่
เป็นค่าเดียวกัน
4.

สูตรในการอ้างอิง (Text Formula)

เครื่อ งหมาย
: (Colon)
เว้นวรรค
(Insection)
, (Comma)

ความหมาย
ตัว อย่า งสูต ร
บอกช่วงของข้อมูล =(B1:B5)
กำาหนดพื้นที่ทับกัน
2 ช่วงเอาข้อมูลทั้ง =SUM(B1:C1 D1:E5)
2 ช่วงมาเชื่อมต่อ
=Sum(C1:C5,D7:D8
กัน
)

ขั้น ตอนการคำา นวณด้ว ยตาราง
1. การกำาหนดเซลล์สำาหรับเก็บผลลัพธ์โดยการเลื่อนตัวชี้เซลล์นั้นแล้ว
คลิก
2. ใส่สูตรเข้าในเซลล์สำาหรับเก็บผลลัพธ์สูตรจะต้องเริ่มต้นด้วย
เครื่องหมาย =
44
ลำาดับความสำาคัญของเครื่องหมายการคำานวณ
ลำา ดับ
1
2
3
4
5

เครื่อ งหมาย
( )
^
* และ /
+ และ &

6
7

รายละเอีย ด

วงเล็บ
ยกกำาลัง
คูณและหาร
บวกและลบ
ตัวเชื่อม
เท่ากับ น้อยกว่า น้อยกว่า
=,<,<=
หรือเท่ากับ
มากกว่า มากกว่าหรือ
> ,>=, < >
เท่ากับ ไม่เท่ากับ

หมายเหตุ การทำางานที่อยู่ในระดับเดียวกัน จะคำานวณจากซ้ายไปขวา
ตามลำาดับ
ตัวอย่างการคำานวณ

รูปภาพปสดงตัวอย่าง การใช้สูตรในการคำานวณ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใส่สูตร
1. สูตรที่ใส่ในเซลล์จะปรากฏให้เห็นในแถบสูตร
2. ค่าที่เป็นผลลัพธ์ของสูตรจะปรากฏในเซลล์สำาหรับเก็บผลลัพธ์
3. กรณีที่มีนิพจน์หลายเครื่องหมายจะทำางานตามลำาดับเครื่องหมาย
2. การป้อ นสูต รในการคำา นวณ
1.

คลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่จะป้อนสูตรคำานวณหาผลรวม

45
2.

พิมพ์เครื่องหมาย = ตามด้วยตำาแหน่งของเซลล์ที่ต้องการนำา
มาคำานวณหาผลรวม เช่น =D4+D5+D6+D7+D8

3.

กด Enter เมื่อเขียนสูตรเสร็จ ถ้าพิมพ์สูตรผิด Excel ไม่
สามารถคำานวณได้ จะแสดง ERR! ในเซลล์ที่ใช้สูตรคำานวณนั้น

การป้อนสูตรคำานวณในแถบสูตร คลิกที่เซลล์ต้องการป้อนสูตร พิมพ์
สูตรคำานวณในแถบสูตรกด Enter
การป้อนสูตรคำานวณโดยใช้เมาส์ช่วย
1.คลิกเมาส์ที่เซลล์ต้องการป้อนสูตรคำานวณและพิมพ์
เครื่องหมาย =
2. นำาเมาส์คลิกเซลล์ใช้คำานวณ
3. พิมพ์เครื่องหมาย + คลิกเซลล์ที่ใช้บวกต่อไปพิมพ์
เครื่องหมาย + คลิกเซลล์ที่ใช้
4.กด Enter
สรุป การป้อ นสูต รในการคำา นวณ
1. ถ้าค่าที่คำานวณเป็นตัวเลขเกิน 10 หลัก และรูปแบบตัวเลขเป็น
แบบทั่วไป คอมพิวเตอร์จะเขียนให้เป็นเลขยกกำาลัง เช่น 8.98 E +
10107
ถ้าต้องการให้แสดงเป็นตัวเลขปกติต้องเปลี่ยนรูปแบบ
เซลล์เป็นแบบตัวเลข
2. ถ้านำาข้อมูลต่างประเภทกันมาคำานวณ คอมพิวเตอร์จะแจ้ง
ข้อความว่าผิอดพลาดเป็น # VALUE
3. ข้อมูลประเภทตัวอักษรในแต่ละเซลล์นำามาเชื่อมกันได้โดยใช้
เครื่องหมาย &
4. ถ้าใช้สัญลักษณ์ในการคำานวณที่คอมพิวเตอร์ไม่รู้จักจะแจ้งการ
ผิดพลาดเป็น #NAME
ถ้าอ้างอิงไม่ถูกต้อง #REF!
5. การเปรียบเทียบค่าระหว่างเซลล์ คอมพิวเตอร์จะแจ้งว่า จริง
(True) หรือไม่จริง (False) เท่านั้น

3. การอ้า งอิง เซลล์ห รือ ช่ว งเซลล์ใ นสูต ร
46
การคำานวณโดยการอ้างอิงเซลล์ หรือช่วงเซลล์ที่กำาหนด
จะทำาให้เกิดความรวดเร็วในการคำานวณ เนื่องจากไม่ต้องแก้ไขสูตรทุก
ครั้ง เมื่อทำาการเปลี่ยนแปลงค่าคงที่อยู่ในเซลล์ โปรแกรมจะคำานวณ
อัตโนมัติ การเขียนสูตรโดยการใช้ตำาแหน่งอ้างอิงของเซลล์จะดีกว่าการ
ใช้ข้อมูลทีอยู่ในแต่ละเซลล์โดยตรง เพราะเมื่อค่าที่เป็นตัวตั้งในสูตร
่
เปลี่ยนไป ผลลัพธ์ที่ได้จากการคำานวณจะเปลี่ยนตามโดยอัตโนมัติ
1. อ้า งอิง แบบสัม พัท ธ์ (Relative) หมายความว่า เซลล์ใด ที่มีการ
อ้างอิงแบบสัมพัทธ์ เมื่อถูกสำาเนาไปยังเซลล์ใหม่ เซลล์ที่ถูกอ้างอิงในสูตร
จะมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ในเซลล์ C1 กำาหนดสูตร =A1+B1 ถ้าทำา
สำาเนาสูตรจาก C1 ไป C2 ได้สูตร =A2+B2 ถ้าไปไว้ที่ D1 จะได้สูตร
=B1+C1 ตัวอย่าง

การอ้า งอิง แบบสัม บูร ณ์(Absolute) หมายความว่าเซลล์ใดที่มีการ
อ้างอิงแบบสัมบูรณ์ เมื่อถูกสำาเนาไปยังเซลล์ใหม่ เซลล์ที่ถูกอ้างงอิงใน
47
สูตรแบบสัมบูรณ์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตังอย่าง ในเซลล์ B4 กำาหนด
สูตร =$B$2+$C$3 ถ้าทำาการสำาเนาสูตร =$B$2+$C$3 จากเซลล์
B4 ไปยังเซลล์ C5 สูตรใน C5 เหมือนเดิม ตัวอย่าง

3. การอ้า งอิง แบบผสม (Mixed) หมายถึงการระบุชื่อเซลล์ในสูตร
สามารถระบุแบบผสมระหว่างแบบสัมพัทธ์ และแบบสัมบูรณ์ได้ ตัวอย่าง
เช่น ในเซลล์ D3 กำาหนดสูตร =C$3 ความหมายว่า ไม่ว่าจะคัดลอก
สูตรในเซลล์ D3 ไปไว้ที่ใดในแผ่นงานแถวยังเป็นแถวที่ 3 แต่คอลัมน์จะ
เปลี่ยนไปและถ้าในเซลล์ D3 กำาหนดสูตร =$C3 หมายความว่า ไม่ว่าจะ
คัดลอกเซลล์ D3 ไปไว้ที่ใดในแผ่นงานคอลัมน์ยังคงเป็น C แต่ตัวเลข
แถวจะเปลี่ยนไป

การเปลี่ย นชนิด ของการอ้า งอิง
ถ้าหากต้องการเปลี่ยนชนิดของการอ้างอิง สามารถทำาได้โดย
วิธีที่ 1
1.

เลือกเซลล์ที่ต้องการเปลี่ยนการอ้างอิง

2.

พิมพ์เปลี่ยนการอ้างอิงที่แถบของสูตรตามที่ต้องการ

3.

กด Enter

วิธีที่ 2
1.
2.

3.

เลือกเซลล์ที่ต้องการเปลี่ยนการอ้างอิง
กดปุ่ม F2 เพื่อขอแก้ไขสูตร และกดปุ่ม F4 จะปรากฏชนิดของ
การอ้างอิงแต่ละชนิดตามที่ต้องการ โดยจะมีรูปแบบของการใส่
เครื่อง $ กำากับเซลล์
กด Enter เมื่อเลือกชนิดตามที่ต้องการได้แล้ว

ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใส่สูตร

48
1.
สูตรที่ใส่ในเซลล์จะปรากฏให้เห็นในช่องของแถบสูตร
2.
ค่าที่เป็นผลลัพธ์ของสูตรจะปรากฏอยู่ในเซลล์สำาหรับเก็บ
ผลลัพธ์
3.
ค่าที่ใส่ในสูตรถ้าเป็นชื่อเซลล์จะหมายถึงการนำาค่าที่อยู่ใน
เซลล์นั้นมาคำานวณ
4. การใช้ฟ ัง ก์ช ัน ในตาราง
ฟัง ก์ช ัน (Function) หมายถึงสูตรพิเศษที่โปรแกรมสร้างไว้เพื่อให้
คำานวณค่าต่าง ๆ ตามจุดประสงค์ การใช้ฟังก์ชัน จะช่วยให้เขียนสูตรใน
การคำานวณได้สั้นและง่ายขึ้น ตัวอย่าง เช่น หากต้องการรวมค่าจาก
เซลล์ A1 ถึง A5 แทนที่จะพิมพ์สูตร =A1+A2+A3+A4+A5 ก็ใช้
ฟังก์ชัน =SUM(A1:A5) หรือ การจะหาค่าเฉลี่ย สามารถหาได้จากผล
รวมของทุกเซลล์หารด้วยจำานวนทั้งหมดใส่สูตร
=( A1+A2+A3+A4+A5 )/5 หรือจะใช้ =SUM(A1:A5)/5 สามารถ
ใช้ฟังก์ชัน =AVERAGE(A1:A5) แทนได้
การพิมพ์ฟังก์ชันด้วยตนเองจะพิมพ์ชื่อฟังก์ชันและชื่อเซลล์ด้วยตัว
พิมพ์เล็กหรือใหญ่ก็ได้ ต้องไม่มีช่องว่าง ในกรณีที่เราได้ตั้งชื่อกลุ่มเซลล์
ไว้ เช่น เซลล์ E5 ถึง E7 มีชื่อเป็น TOT_MAR เราก็สามารถใช้ชื่อกลุ่ม
เซลล์นั้นกับฟังก์ชันได้เลย =SUM(TOT_MAR)
แนะนำา ส่ว นประกอบของฟัง ก์ช ัน
ใน Excel มีฟังก์ชันมากกว่า 300 ฟังก์ชัน สำาหรับทำาหน้าที่ต่าง ๆ อาทิ
เช่น การคำานวณตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติและการเงิน ฟังก์ชันที่
เกี่ยวกับตัวเลขและตัวอักษร ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันที่และเวลา ฟังก์ชันการ
จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น ซึ่งฟังก์ชันแต่ละตัวนั้นอาจมีรายละเอียดการ
ใช้งานที่แตกต่างกันไป แต่พอสรุปส่วนประกอบได้ดังนี้

49
รูปภาพแสดง ส่วนประกอบของฟังก์ชัน
สำาหรับการใช้ฟังก์ชันบางประเภทต้องป้อน argument เป็นข้อความ
เวลา หรือวันที่ จะต้องอยู่ในเครื่องหมาย “ ” เสมอ
การใช้ง านฟัง ก์ช ัน
มีด้วยกัน 2 วิธี คือการใส่ฟังก์ชันด้วยตนเอง หรือการใส่
ฟังก์ชันวิซาร์ด
วิธีที่ 1 การใส่ฟังก์ชันด้วยตนเอง
1. คลิกเลือกเซลล์ที่ต้องหาผลลัพธ์โดยการใช้ฟังก์ชัน
2.
3.

ใส่เครื่องหมายเท่ากับ ( = ) ตามด้วยชื่อของฟังก์ชันและ
ใส่วงเล็บภายในขอบเขตของช่วงที่ต้องการหา
กด Enter

วิธีที่ 2 การใส่ฟังก์ชันวิซาร์ด
1.

คลิกที่คำาสั่งแทรก (Insert) บนเมนูบาร์ เลือกคำาสั่ง ฟังก์ชัน
(Function)

2.

จะเกิดกรอบโต้ตอบ แทรกฟังก์ชัน (Insert
Functions)คลิกเลือกรูปแบบฟังก์ชันที่ต้องการ

50
3.

สมมติถ้าเราต้องการเลือกฟังก์ชัน SUM ซึ่งใช้ในการหาผล
รวมของข้อมูล จะปรากฏดังภาพ

4.

ฟังก์ชัน SUM จะมีรูปแบบคือ SUM(number1,number
2,…number 30)หรือคลิเมาส์ที่ คลิกปุ่มตกลง

ในกรณีที่เกิดความผิดพลาด จะปรากฏข้อความผิดพลาดจาการใช้
ฟังก์ชันในการคำานวณต่อไปนี้
ความผิดพลาด
ความหมาย
#DIV/0!
สูตรถูกหารด้วยศูนย์
#N/A
มีการอ้างอิงเซลล์ที่ไม่มีค่าหรือไม่มี
ข้อมูลในสูตร
#NAME
สูตรมีการกล่าวอ้างถึงชื่อเซลล์ที่ไม่
ปรากฏในสูตร
#NUL!
สูตรที่มีการอ้างถึงเซลล์ใด ๆ ที่
โปรแกรมไม่รู้จัก
#NUM!
สูตรมีการใช้ตัวเลขผิดรูปแบบ
#REF!
สูตรที่มีการอ้างอิงเซลล์ไม่ถูกต้อง
51
#VALUE!

สูตรมีการใช้อาร์กิวเมนต์หรือโอเปอร์
เรเตอร์ ผิดรูปแบบ

ฟัง ก์ช ัน ที่ค วรรู้จ ัก
=AVERAGE(D5:D20)
หมายถึง ค่าเฉลี่ยของค่าที่อยู่ในช่วง
เซลล์ D6 ถึง D20
=MAX(D6:D20)
หมายถึง ค่าสูงสุดของค่าที่อยู่
ในช่วงเซลล์ D6 ถึง D20
=MIN(D6:D20)
หมายถึง ค่าตำ่าสุดของค่าที่อยู่ใน
ช่วงเซลล์ D6 ถึง D20
=STDEVP(D6:D20)
หมายถึง ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานของคาในช่วงเซลล์ D6 ถึง D20
=COUNTIF(ช่วงเขตข้อมูล,ค่าที่ต้องการนับ) เช่น
=COUNTIF($J$6:$J$20,4) หมายถึง ช่ว 16 ถึง J20
มีเลข 4 กี่เซลล์ (ให้ค่าเป็นจำานวนนับ)
=RANK(I6,I$6:I$20,0) หมายถึง ค่าลำาดับของ
ตัวเลขในเซลล์ I6 ที่อยู่ในรายการตัวเลขในช่วงเซลล์ I6 ถึง I20 ส่วน
ตัวเลขศูนย์เป็นการระบุวิธีการจัดเรียงรายการตัวเลขในช่วงที่กำาหนด
จากมากไปหาน้อย(ถ้าเป็นค่าอื่นที่ไม่ใช่ศูนย์จะเป็นการจัดเรียงรายการ
=IF(เงื่อนไข,ค่าที่แสดงเมื่อเงื่อนไขจริง,ค่าที่แสดงเมื่อ
เงื่อนไขเท็จ) เช่นตัวเลขจากน้อยไปมาก
=IF(I6>=80,4,IF(I6>=70,3,IF(I6>=60,2,IF(I6>=50,1
,0)))) หมายถึง การหาผลการเรียนตามเงื่อนไข โดยให้คะแนนรวมอยู่ใน
เซลล์ I6
ตัวอย่าง การใช้ IF
ตัวอย่างการตั้งเงื่อนไขคะแนนเมื่อคะแนนปลายภาคได้ 0 ผลการเรียนได้
0

52
การจัด รูป แบบมีเ งื่อ นไข
การหาผลรวมแบบมีเงื่อนไข
การหาผลรวมแบบมีเงื่อนไขเราใช้ฟังก์ชัน SUMIF ซึ่งมีรูปแบบการใช้
ดังนี้
SUMIF(range,criteria,sum_range)
range คือช่วงข้อมูลที่จะนำามากำาหนดเป็นเงื่อนไข ซึ่งจะครอบคลุม
ข้อมูลทั้งหมด เช่น ชื่อสินค้า หรือราคาสินค้าก็ได้
criteria คือเกณฑ์ที่มีเงื่อนไขที่กำาหนด เช่น มากกว่า 500(">500")
sum_range คือช่วงข้อมูลตัวเลขที่จะนำามารวมกัน เช่น ราคา เป็นต้น
การกำาหนดเงื่อนไขสามารถทำาได้หลายลักษณะ ดังนี้
1. ให้เลือกข้อมูลที่เหมือนกับเงื่อนไขทุกประการ
2. ให้เปรียบเทียบข้อมูลกับเงื่อนไขที่กำาหนด
สมมติต้องการหาผลรวมของเสื้อ

กรณีชื่อเหมือนกันเช่นรองเท้ามีหลายประเภท ใช้ * ตามหลังหมายความ
ว่ารองเท้าอะไรก็ได้ เช่น =SUMIF(A1:A7,"รองเท้า*"B1:B7)
ใช้เครื่องหมายการเปรียบเทียบทางคณิตศาสตร์ก็ได้
=SUMIF(B2:B7,">=3,C2:C7)

ถ้า B84 ว่าง เชิญตอบ ถ้าตอบข้อ ค ดีมาก ตอบอย่างอื่นผิดจ้ะ
==เชิญตอบ",IF(B84="ค.","ดีมาก","ผิดจ๊ะ"))
53
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r
P2 r

More Related Content

What's hot

ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรมเล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรมkanidta vatanyoo
 
ประมวลผลคำ
ประมวลผลคำประมวลผลคำ
ประมวลผลคำNattariya Nangmor
 
คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010noismart
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1krupick
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
บทที่ 1 microsoft office 2007
บทที่  1 microsoft office 2007บทที่  1 microsoft office 2007
บทที่ 1 microsoft office 2007Amnuay
 
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล ณัฐพล บัวพันธ์
 

What's hot (18)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรมเล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
 
Intro microsoft excel
Intro microsoft excelIntro microsoft excel
Intro microsoft excel
 
ใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำ
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
ประมวลผลคำ
ประมวลผลคำประมวลผลคำ
ประมวลผลคำ
 
new excel2007
new excel2007new excel2007
new excel2007
 
คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010
 
IT Excel 2010
IT Excel 2010IT Excel 2010
IT Excel 2010
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
บทที่ 1 microsoft office 2007
บทที่  1 microsoft office 2007บทที่  1 microsoft office 2007
บทที่ 1 microsoft office 2007
 
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
 

Similar to P2 r

บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1Ssab Sky
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำSsab Sky
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลMeaw Sukee
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการkanidta vatanyoo
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2wuttichat
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsAiice Pimsupuk
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4Rattana Wongphu-nga
 

Similar to P2 r (20)

บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ชิ afraid
ชิ afraidชิ afraid
ชิ afraid
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
 
Excel
Excel Excel
Excel
 
Excel (1)
Excel (1)Excel (1)
Excel (1)
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
บทท 7 (1)
บทท   7 (1)บทท   7 (1)
บทท 7 (1)
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4
 

P2 r

  • 1. เอกสารประกอบการเรีย นการสอน หมวดวิช า คณิต ศาสตร์ช ่า ง วิช า การคำา นวณด้ว ย โปรแกรม EXCEL โรงเรีย นช่า งโยธา กองวิท ยาการ กรมช่า งโยธาทหารเรือ จัด ทำา โดย กองวิท ยาการ กรมช่า งโยธาทหารเรือ 1
  • 2. คำา นำา บทเรียนโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ เรื่อง Microsoft Excel เป็ น โปรแกรมตารางทำา งานหรื อ โปรแกรมประเภทสเปรตชี ต (Spread Sheet) ซึ่ ง มี ค วามสามารถในด้ า นการคำา นวณ ตั ว เลข โดย เฉพาะ และมีผลลัพธ์ที่ถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยำา โดยการสร้างตาราง และกำา หนดสู ต รที่ ใ ช้ ใ นการคำา นวณไว้ ก่ อ นแล้ ว จึ ง ป้ อ นข้ อ มู ล ลงไป สามารถคำานวณผลลัพธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ เช่น ตัวเลขหรือกราฟ และ ยังสามารถแก้ไขเพิ่มเติมและจัดรูปแบบข้อมูลได้ เนื้อหาบทเรียนทั้งหมด พร้อมทั้งใบงานและแบบทดสอบได้จัดทำา ขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการ รียนการสอนคณิต ศาสตร์ช่าง (คอมพิว เตอร์ ) หลักสูตรอาชี พเพื่อ เลื่ อน ฐานะชั้นพันจ่าเอก เหล่ายุท ธโยธา เพื่อให้ผู้เรีย นมี ความเข้ าใจการใช้ โปรแกรม Microsoft Excel มากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง เหมาะสำา หรั บ บุคคลทั่วไป ที่สนใจเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมนี้จนสามารถนำา ไปใช้งานได้จริง ทหารเรือ กองวิทยาการ กรมช่างโยธา 1 พฤศจิกายน 2551 2
  • 3. 3
  • 4. สารบัญ บทที่ 1. ความรู้เ บื้อ งต้น เกี่ย วกับ โปรแกรม Microsoft Excel มารู้จักกับ Microsoft Excel กันดีกว่า คุณสมบัติที่สำาคัญของโปรแกรม Microsoft Excel เข้าสู่การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel โครงสร้างของ Microsoft Excel การสร้างแฟ้มข้อมูล การเลือกช่วงของเซลล ์์ ชนิดของข้อมูล การป้อนข้อมูล การแก้ไขข้อมูล การบันทึกสมุดงาน (Save) การปิดแฟ้มข้อมูล บทที่ 2. การจัด การและตกแต่ง งานด้ว ย Excel การแทรก/ลบ เซลล์ คอลัมน์ แถว และแผ่นงาน การคัดลอกและการย้ายข้อมูล การตกแต่งตาราง การปกป้องข้อมูลในเซลล์ การพิมพ์เอกสาร บทที่ 3. การสร้า งสูต รและใช้ฟ ัง ก์ช ัน ในการคำา นวณ การใช้สูตรในการคำานวณ การป้อนสูตรในการคำานวณ การอ้างอิงเซลล์หรืองช่วงเซลล์ในสูตร การใช้ฟังก์ชันในตาราง บทที่ 4. การเรีย งลำา ดับ และการสร้า งแผนภูม ิ การเรียงลำาดับ วิธีการกรองข้อมูลโดยใช้ตัวกรองอัตโนมัติ การสร้างแผนภูมิ การปรับแต่งส่วนประกอบของแผนภูมิหรือชาร์ต 4
  • 5. บทที่ 1. ความรู้เ บื้อ งต้น เกี่ย วกับ โปรแกรม Microsoft Excel หัว ข้อ เรื่อ ง มารู้จักกับ Microsoft Excel กันดีกว่า คุณสมบัติที่สำาคัญของโปรแกรม Microsoft Excel เข้าสู่การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel โครงสร้างของ Microsoft Excel การสร้างแฟ้มข้อมูล การเลือกช่วงของเซลล ์์ ชนิดของข้อมูล การป้อนข้อมูล การแก้ไขข้อมูล การบันทึกสมุดงาน (Save) การปิดแฟ้มข้อมูล วัต ถุป ระสงค์ก ารเรีย นรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานโปรแกรม EXCEL 2. สามารถใช้โปรแกรม EXCEL สร้างตรารางคำานวณได้ สามารถ ป้อน แก้ไข เก็บบันทึกข้อมูลได้ แนวทางการรีย นการสอน 1. อธิบาย และสาธิต ให้ดูเป็นขั้นตอน หน้าชั้นเรียน 2. ให้นักเรียนฝึกทำาตาม 3. ให้ทำาโจทย์ตามใบงาน 4. ทดสอบหลังการสอน 1. มารู้จ ัก กับ Microsoft Excel กัน ดีก ว่า โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภทสเปรดชีต (spreadsheet) หรือโปรแกรมตารางทำางานซึ่งใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ สูตร 5
  • 6. คำานวณ ลงบนแผ่นตารางงานคล้ายกับการเขียนข้อมูลลงไปในสมุดที่มี การตีช่องตารางทั้งแนวนอนและแนวตั้ง ตารางแต่ละช่องจะมีชื่อกำากับไว้ ในแนวตั้งหรือสดมภ์ของตารางเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษเริ่มจาก A,B,C,...เรื่อยไปจนสุดขอบตารางทางขวา มีทั้งหมด 256 สดมภ์ (Column) แนวนอนมีหมายเลขกำากับเป็นบรรทัดที่ 1,2,3,...เรื่อยไป จนถึงบรรทัดสุดท้ายจำานวนบรรทัดจะต่างกันในแต่ละโปรแกรมในที่นี้ เท่ากับ 65,536 แถว (Row) ช่องที่แนวตั้งและแนวนอนตัดกันเรียกว่า เซลล์ (Cell) ใช้บรรจุข้อมูล ข้อความ หรือสูตรคำานวณ ปัจจุบันโปรแกรม ตารางทำางาน มีความสามารถ 3 ด้าน คือ คำานวณ นำาเสนองานด้วย กราฟและแผนภูมิ จัดการฐานข้อมูล โปรแกรมประเภทตารางทำางานมีผู้ พัฒนาขึ้นมาหลายโปรแกรม เช่น ปี 2522 ใช้โปรแกรมตารางทำางานชื่อ ว่า วิสิแคล(VisiCalc) ต่อมาปรับปรุงชื่อว่า ซุปเปอร์แคล (SuperCalc) ในปี 2525 ในพัฒนาโปรแกรมชื่อว่า มัลติแพลน (Multiplan) ปี 2526 ได้ปรับปรุงโปรแกรมชื่อว่าโลตัส 1-2-3 (Lotus 1-2-3) เป็นที่ นิยมอย่างมาก ออราคิล (Oracle) และต่อมาบริษัทไมโครซอฟท์ได้ พัฒนาระบบงานวินโดวส์ขึ้นมาเพื่อให้ใช้ได้ง่ายชื่อว่า ไมโครซอฟท์เอ็ก เซล (Microsoft Excel) ซึ่งเรียกว่า เอ็กเซล (Excel) 2. คุณ สมบัต ิท ี่ส ำา คัญ ของ Microsoft Excel 1. ความสามารถด้านการคำานวณ โปรแกรม Microsoft Excel สามารถป้อนสูตรการคำานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น 2. ความสามารถด้านใช้ฟังก์ชัน เช่นฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร ตัวเลข วันที่ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเงิน หรือเกี่ยวกับการตัดสินใจ 3. ความสามารถในการสร้างกราฟ โปรแกรม Microsoft Excel สามารถนำาข้อมูลที่ป้อนลงในตารางมาสร้างเป็นกราฟได้ทันที 4. ความสามารถในการตกแต่งตารางข้อมูล โปรแกรม Microsoft Excel สามารถตกแต่งตารางข้อมูลหรือกราฟ ข้อมูลด้วยภาพ สี และรูปแบบตัวอักษรต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสวยงามและทำาให้ แยกแยะข้อมูลได้ง่ายขึ้น 5. ความสามารถในการเรียงลำาดับข้อมูล โปรแกรม Microsoft Excel สามารถคัดเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการมาวิเคราะห์ได้ 6
  • 7. 6. ความสามารถในการพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์ โปรแกรม Microsoft Excel สามารถพิมพ์งานทั้งข้อมูลและรูปภาพหรือ กราฟออกทางเครื่องพิมพ์ได้ทันที ซึ่งทำาให้ง่ายต่อการสร้างรายงาน 7. ความสามารถในการแปลงข้อมูลในตารางให้เป็นเว็บเพจ เพื่อนำา ไปแสดงในโฮมเพจ 3. โครงสร้า งของ Microsoft Excel เมื่อเข้าสู่การทำางานของ โปรแกรม Microsoft Excel จะปรากฏ หน้าตาของโปรแกรมซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างต่าง ๆ ดังรูป ปกติ ก ารเรี ย กใช้ ง าน โปรแกรม Microsoft Excel เปิ ด แฟ้ ม คื อ สมุดงานขึ้นมาซึ่งสมุดงานจะประกอบด้วยแผ่นงาน หลาย ๆ แผ่นรวมกัน ซึ่งในไฟล์ของสมุดงานแต่ละไฟล์จะมีแผ่นงานได้สูงสุด 255 แผ่นโดย การแทรกแผ่นงาน การแทรกแผ่นงาน คลิกที่คำาสั่ง แทรก โครงสร้ า งของแผ่ น งาน (WorkSheet) จะมี ลั ก ษณะเป็ น ตาราง ขนาดใหญ่ โ(Insert) > แผ่นงาน (Worksheet) หรือคลิกที่ชื่อแผ่นงาน (worksheet) แล้วคลิกขวา > คลิกแทรกดยมีการแบ่งพื้นที่ทางแนวนอน ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า แถว (Row) จะใช้ตัวเลขเป็นตัวระบุตำาแหน่งของ แ ถ ว เ ริ่ ม ต้ น ที่ 1 แ ล ะ สิ้ น สุ ด ที่ 65,536 (ถ้ า เ ป็ น Excel 97 จ ะ ได้ 16,384) และแบ่ ง พื้ น ที่ ท างแนวตั้ ง ออกเป็ น ส่ ว น ๆ เรี ย กว่ า สดมภ์ (Column) จะมีทั้งหมด 256 สดมภ์ โดยจะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็น ตั ว ระบุตำา แหน่ ง เริ่ ม จาก A - IV สดมภ์ และแถวมาตั ด กั น เป็ น ช่ อ งเล็ ก ๆ เรียกว่า เซลล์ (Cell) ซึ่งมีจำานวนเซลล์เท่ากับจำานวนแถวคูณด้วยจำานวน 7
  • 8. สดมภ์ และมีชื่อเรียกตามชื่อสดมภ์หรือคอลัมน์ตามด้วยชื่อแถว เช่น A1 หมายถึงอยู่ที่สดมภ์หรือคอลัมน์ A แถวที่ 1 มีว ิธ ีก าร การสร้า งเอกสารใหม่ สามารถทำา ได้ 3 วิธ ีด ้ว ยกัน 1. สร้างสมุดทำาการใหม่จากเมน 1.1 นำาเมาส์คลิกที่เมนูแฟ้ม (File) 1.2 คลิกเลือก สร้าง (New) 2. สร้างสมุดทำาการโดยคลิกที่ 3. สร้างสมุดทำาการโดยกดปุ่ม Ctrl พร้อมกับปุ่ม N ที่คีย์บอร์ด สรุป การสร้า งเอกสารใหม่ เมื่อ เข้า โปรแกรมได้แ ล้ว ทีน ี้ม ารู้จ ัก วิธ ีก ารกำา หนดช่ว งของ ข้อ มูล ต่า งๆกัน ดีก ว่า 8
  • 9. ก่อนทำาการป้อนข้อมูล เราต้องทำาการเลือกเซลล์ที่ต้องการ ซึ่งจะ ใช้การเลือกเซลล์โดยใช้เมาส์ หรือ คีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังสามารถเลือก เซลล์ใช้คำาสั่ง ไปที่ (Goto) และการระบุชื่อเซลล์ที่กรอบชื่อเซลล์ได้ การเลื่อ นตัว ชี้เ ซลล์ (Active Cell) 4. ชนิด ของข้อ มูล ที่ต ้อ งการใส่ใ นเซลล์ข องโปรแกรม Microsoft Excel 1. ข้อ มูล ประเภทข้อ ความ (Text) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่นำามา คำานวณ อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมาย การใส่ข้อมูลที่มีความ ยาวมากกว่าความกว้างของเซลล์ข้อความนั้นจะถูกแสดงต่อไปในเซลล์ที่ อยู่ทางขวามือ ตราบใดที่เซลล์ทางขวามือนั้นยังไม่มีข้อมูล ข้อมูลชนิดนี้ จะถูกจัดให้อยู่ชิดซ้ายของเซลล์เสมอ 2. ข้อ มูล ประเภทตัว เลข (Numeric) ข้อมูลที่นำามาคำานวณได้ ข้อมูลจะอยู่ชิดขวา และไม่สามารถแสดงผลเกินความกว้างของเซลล์ได้ ถ้าความกว้างของเซลล์ไม่พอจะปรากฏเครื่องหมาย ####### การ แก้ไขโดยขยายความกว้างของเซลล์ออกไป 3. ข้อ มูล ประเภทวัน ที่ (Date) หมายถึงข้อมูลที่ประกอบด้วยวัน ที่และเดือน เดือนและปี หรือวันที่ เดือนและปี โดยเดือนสามารถกำาหนด ได้ทั้งแบบตัวเลข หรือตัวอักษร ข้อมูลชนิดนี้นำาไปคำานวณได้ 9
  • 10. 4. ข้อ มูล ประเภทเวลา (Time) หมายถึงข้อมูลที่ประกอบด้วย ชั่วโมงและนาที โดยมีเครื่องหมาย : ข้อมูลชนิดนี้สามารถนำาไปคำานวณ ได้ 5. ข้อ มูล ประเภทสูต ร (Formular) ข้อมูลประเภทนี้คือ สมการคณิตศาสตร์ จะต้องใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) นำาหน้า 5. การป้อ นข้อ มูล เริ่ม การป้อ นข้อ มูล ในเซลล์ เมื่อเข้าสู่โ ปรแกรม Microsoft Excel เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์ โดยการเลือกเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูล พิมพ์ขอความลงไปในเซลล์ จะ ้ ปรากฏในเซลล์ทำางานและในแถบสูตรจะถือว่าสมบูรณ์ ข้อมูลอยู่ในเซลล์ นั้นก็ต่อเมื่อมีการยืนยันโดยการกดแป้น Enter หรือคลิกที่เครื่องหมาย ถูก บนแถบสูตรหรือเลื่อนตัวชี้เซลล์ไปเซลล์อื่น เมื่อต้องการยกเลิกการ ป้อนข้อมูลให้กด ปุ่ม <ESC> ขั้น ตอนการป้อ นข้อ มูล ลงในเซลล์ 1. เลือกเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูลโดยการคลิกเมาส์เซลล์เป็น Active Cell 2. พิมพ์ข้อความในเซลล์ 3. กดแป้น Enter 10
  • 11. หรือคลิกที่ เครื่องหมายถูกในแถบสูตร เมื่อยืนยันข้อมูลให้สังเกตตัวชี้เซลล์เมื่อกด Enter กับคลิกที่ เครื่องหมายถูกจะอยู่ที่เซลล์ต่างกันเมื่อกด Enter ตัวชี้เซลล์จะเลื่อนลงมา 1 บรรทัด ถ้าคลิกที่เครื่องหมายถูกจะอยู่ที่เซลล์เดิม การป้อ นข้อ มูล หลายบรรทัด ในเซลล์เ ดีย วกัน คลิกเซลล์ที่ต้องการป้อนข้อมูล พิมพ์ข้อมูลเมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ให้ กดปุ่ม ALT + ENTER จะพบว่าเคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดของเซลล์เดิม บางครั้งเมื่อเราป้อนข้อมูลแล้ว อาจเกิดการผิดพลาดขึ้นได้ เรา ลองมาดูซิว่าจะมีวิธีการแก้ไขการผิดพลาดนั้นๆได้อย่างไร 11
  • 12. 6. การแก้ไ ขข้อ มูล ในการป้อนข้อมูลลงในเซลล์ของตารางทำางาน ถ้าเกิดมีการพิมพ์ผิด เราสามารถแก้ไขข้อมูลที่พิมพ์ผิดให้ถูกต้องได้ง่าย การแก้ไ ขข้อ มูล มี 2 กรณี คือ 1. ถ้าต้องการแก้ไขข้อมูลขณะกำาลังป้อนข้อมูลและยังไม่ได้กดแป้น Enter ทำาได้โดยการเลื่อนตัวชี้ไปที่อักขระที่ผิดแล้วกดแป้น Backspace แต่ตองการยกเลิกการพิมพ์ทั้งหมดให้คลิกที่เครื่องหมายผิดที่แถบสูตร ้ หรือกดแป้น ESC ก็ได้ 2. การแก้ไขข้อมูลที่มีการกด Enter ไปแล้วสามารถทำาการแก้ไข ข้อมูลที่ผดได้ สองแห่งบนตารางคือแก้ไขข้อมูลบนแถบสูตร หรือแก้ไข ิ ข้อมูลในเซลล์โดยตรงทำาได้ 2 วิธีดังนี้ 2.1 วิธ ีท ี่ 1 1) คลิกที่เซลล์ที่ต้องการแก้ไขข้อมูล 2) พิมพ์ข้อมูลที่ตองการใหม่ ้ 3) กดแป้น Enter 2.2 วิธ ีท ี่ 2 1) คลิกที่เซลล์ที่ต้องการแก้ไขข้อมูล 2) ใช้เมาส์คลิกที่จุดที่ต้องการแก้ไข หรือกดแป้น F2 แล้ว กด แป้นลูกศร เพื่อเลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตำาแหน่งที่ต้องการแก้ไข 3) ทำาการแก้ไขข้อมูล 4) กด Enter 7. การบัน ทึก สมุด งาน (Save) การยกเลิก การทำา งานครั้ง สุด ท้า ย เมื่อมีการป้อนข้อมูลลงในเซลล์ทำางาน หรือมีการใช้คำาสั่งใด ๆ บน พื้นที่การทำางานแล้วต้องการที่จะยกเลิกการป้อนข้อมูลหรือการใช้คำาสั่ง หรือการทำางานครั้งล่าสุด โปรแกรม Microsoft Excel มีคำาสั่งที่อำานวย ความสะดวกในการยกเลิกการทำางานครั้งล่าสุด คลิกที่คำาสั่งแก้ไข (Edit) > เลิกทำา (Undo) หรือคลิกที่สัญรูป 12
  • 13. แต่ถ้าเปลี่ยนใจต้องการดำาเนินการที่ยกเลิกไป ก็สามารถทำาได้โดย ใช้คำาสั่ง แก้ไข (Edit) >ทำาซำ้า (Repeat) หรือคลิกที่สัญรูป จะมี ผลต่อคำาสั่งครั้งสุดท้ายเท่านั้น การบัน ทึก แฟ้ม ข้อ มูล ใหม่ เมื่อจัดทำาเอกสารเรียบร้อยต้องการบันทึกเอกสารนั้นไว้เพื่อให้สามารถนำา เอกสารนั้นกลับมาใช้ใหม่ได้อีกด้วย การจัดเก็บเอกสารนั้นในรูปสมุด งาน ซึ่งมีขั้นตอนการบันทึกเอกสารดังนี้ ขั้น ตอนการบัน ทึก แฟ้ม ใหม่ม ีด ัง นี้ วิธ ีท ี่ 1 การบันทึกด้วยเมนู 1. 2. คลิกที่คำาสั่ง แฟ้ม (File) > บันทึกหรือบันทึกเป็น (Save /Save as) จะปรากฏกรอบโต้ตอบ จะเก็บไว้ที่ใดคลิกตรงบันทึกใน และตั้งชื่อแฟ้มในช่องชื่อ แฟ้ม ถ้าไม่ตั้งชื่อ โปรแกรม Excel จะตั้งชื่อให้ Book1 นามสกุล .xls คลิกบันทึก วิธ ีท ี่ 2 คลิกที่สัญรูป วิธ ีท ี่ 3 กดปุ่ม Ctrl + S ที่แถบเครื่องมือ ที่คีย์บอร์ด สรุป ขั้น ตอนที่ 1 เลือกวิธีการบันทึกสมุดงาน หนึ่งในสามวิธี 13
  • 14. ขั้น ตอนที่ 2 ระบุแหล่งสำาหรับทำาการบันทึก เช่น Drive D: หรือ Drive A: รวมถึงระบุสถานที่สำาหรับจัดเก็บเอกสารว่าอยู่ที่ใด Folder ใด ขั้น ตอนที่ 3 ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลทีต้องการจัดเก็บ ่ ขั้น ตอนที่ 4 คลิกบันทึก 8. การปิด แฟ้ม ข้อ มูล 1. คลิกที่คำาสั่งแฟ้ม(File) > ปิด(Close) หรือ คลิกที่เครื่องหมายกากบาทล่างด้านขวามือ 9. การออกจากโปรแกรม Excel 1. คลิกที่คำาสั่ง แฟ้ม (file) > จบการทำางาน (Exit) 14
  • 15. 2. คลิกที่เครื่องหมายกากบาทบนด้านขวามือสุด 3. คลิกที่ปุ่ม Control Menu Bar ( คลิก แถบชื่อเรื่อง) คลิกที่ ปิด (Close) หรือ ด้านซ้ายบนสุด สรุป เนื้อ หา ในบทนี้ ได้ศึกษา รู้จักโครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรม EXCEL หลักการการทำางานของโปรแกรม เบื้องต้น ได้แก่ การสร้างแฟ้มข้อมูล การป้อน การแก้ไข การเก็บข้อมูล การเปิดและปิดไฟล์ เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาในบทต่อไป คำา ถามท้า ยบท 1. การคำานวนณหาดอกเบี้ยจ่ายควรใช้โปรแกรมใด ก. Microsoft Word ข. Microsoft Access ค. Microsoft Excel ง. Microsoft PowerPoint 2. ข้อใดคือคุณสมบัติที่สำาคัญของโปรแกรม Microsoft Excel ก. เป็นโปรแกรมที่ใช้ใการพิมพ์งาน ข. เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบรูปภาพต่างๆ 15
  • 16. ค. เป็นโปรแกรมที่จัดการข้อมูลในตารางได้เป็นอย่างดี ง. เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการตกแต่งภาพและตัวอักษรได้ดี 3.ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงคุณสมบัติที่สำาคัญของโปรแกรม Microsoft Ex cel ได้ถูกต้องที่สุด ก. Excel ไม่สามารถคำานวณสูตรข้ามเซลล์ได้ ข. Excel สามารถที่จะเรียงลำาดับข้อมูลที่ต้องการจากตารางมา วิเคราะห์ได้ ค. Excel ไม่สามารถย้อนกลับมาแก้ไขข้อมูลในเซลล์ได้หลัง จากที่เปลี่ยนเซลล์ใหม่แล้ว ง. Excel สามารถตกแต่งตารางได้แต่ไม่สามารถคำานวณข้อมูล จากตารางที่ไม่เหมือนกันได้ 4. ข้อใดเป็นชื่อเรียกของตารางที่ใช้เก็บข้อมูลของโปรแกรม Microsoft Excel ก. Sheet Tab ข. Name Box ค. Title Bar ง. Worksheet 5. ส่วนประกอบใดของโปรแกรม Microsoft Excel มีแต่ Microsoft Word ไม่มี ก. แถบสูตร (Formular Bar) ข. แถบชื่อเรื่อง(Title Bar) ค. แถบคำาสั่ง (Menu Bar) ง. แถบเครื่องมือ (Tool Bar) 6. จากตารางทำางานแถวและสดมภ์ตัดกันเป็นช่องเรียกว่า ก. Cell ข. Row ค. Column ง. Table 7. ถ้าสมชายต้องการเปิดใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ต้องปฏิบิ ติอย่างไร ก. คลิกที่ปุ่ม Start ไปเลือกที่ Microsoft Excel ข. Double Click ที่สัญลักษณ์ ค. คลิกที่ปุ่ม Start ไที่ All Program และ Microsoft Office คลิกที่ Microsoft Office Excel 16
  • 17. ง. สมชายจะเข้าสู่โปรแกรมวิธี ข หรือ ค ก็ได้ 8. สมชายไม่ต้องการใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ต้องปฏิบัติได้ โดยวิธีใด ก. เลือก แฟ้ม (File) > จบการทำางาน (Exit) ข. คลิกที่ บนแถบคำาสั่ง ค. ไปที่ปุ่ม Control Menu Bar คลิกที่ ปิด (Close) ง. สามารถปฏิบัติได้ทั้งข้อ ก ข้อ ข และข้อ ค 9.สมชามกดปุ่ม Ctrl พร้อมกับปุ่มอักษร N เป็นการให้โปรแกรมทำางาน ใด ก. เปิดสุดงานเดิม ข. เปิดสมุดงานใหม่ ค. บันทึกสมุดงาน ง. บันทึกสมุดงานเป็นชื่อใหม่ 10. สมชายต้องการบันทึกข้อมูล สามารถทำาได้โดย ก. คลิกที่ File > new ข. คลิกที่ ค. คลิกที่ปุ่ม Ctrl+D ง. สมชายสามารถทำาได้ทั้ง 3 วิธี 11. สมชายต้องการปิดแฟ้มข้อมูล เขาจะปฏิบัติอย่างไร ก. คลิกที่ Shut down ข. คลิกที่ File > Exit ค. คลิกที่ บนไตเติ้ลบาร์ ง. คลิกที่ File > Close 12. นายประเสริฐ สิงห์แก้ว บ้านเลขที่ 5 เป็นข้อมูลประเภทใด ก. ข้อมูลตัวอักษร ข. ข้อมูลตัวเลข ค. ข้อมูลตัวอักษรแลัวตัวเลข ง. ข้อมูลที่เป็นสูตร 13. ข้อมูลประเภทข้อความ ปกติจะอยู่ส่วนใดของเซลล์ที่ป้อน ก. ชิดซ้าย ข. ชิดขวา ค. กลางเซลล์ ง. ขวาล่าง 17
  • 18. 14. เ มื่อป้อนข้อมูลแล้วคลิกที่เครื่องหมายถูกบนแถบสูตรตัวชี้เซลล์จะ เลื่อนไปที่ใด ก. อยู่กับที่ ข. เลื่อนไปทางขวา ค. เลื่อนไปทางซ้าย ง. เลื่อนลงไป 1 บรรทัด 15. การเลือกช่วงเซลล์ให้เป็นเซลล์ทำางานใน โปรแกรม Microsoft Excel อาจเลือกพร้อมกันได้หลายเซลล์โดยไม่ติด กัน ทำาได้ในข้อข้อใด ก. คลิกที่เซลลแรก ใช้ปุ่มลูกศรไปยังเซลล์ต่อไป ข. คลิกที่เซลล์แรกกดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ แล้คลิกที่เซลล์ต่อไป ค. คลิกที่เซลล์แรก กดปุ่ม Shift ค้างไว้ แล้วคลิกที่เซลล์ต่อไป ง. คลิกเมาส์ที่ช่องว่างด้านบนแถวที่ 1 กับด้านซ้ายของคอลัมน์ A 16. สมชายต้องเลือกเซลล์โดยใช้คำาสั่ง ไปที่ (GoTo) ไปที่แถวที่ 8 คอ ลัมภ์ Q คำาสั่งข้อใดถูกต้อง ก. เลือกที่ แก้ไข (Edit) > ไปที่ (GoTo) แล้วพิมพ์ 8Q ข. เลือกที่ แก้ไข (Edit) > ไปที่ (GoTo) แล้วพิมพ์ Shift + 8Q ค. เลือกที่ แก้ไข (Edit) > ไปที่ (GoTo) แล้วพิมพ์ Shift + Q8 ง. เลือกที่ แก้ไข (Edit) > ไปที่ (GoTo) แล้วพิมพ์ Q8 17. ปุ่ม Ctrl + <home> เป็นการสั่งให้โปรแกรม Microsoft Excel ทำางานอะไร ก. กลับที่ Worksheet ที่ 1 ข. เลื่อนเซลล์ไปที่คอลัมน์ A ในแถวนั้น ค. เลื่อนเซลล์ไปที่คอลัมน์ A ในแถวที่ 1 ง. เลื่อนเซลล์ไปที่คอลัมน์ A ในแถวที่ 65536 18. สมชายต้องการลบข้อมูล เขาจะใช้ปุ่มใด ก. ปุ่ม TAB ข. ปุ่ม Enter ค. ปุ่ม Shift ง. ปุ่ม Backspace 19. หากต้องการยกเลิกการป้อนข้อมูลในเซลล์ให้กดปุ่มใดที่คีย์บอร์ด ก. End ข. Esc 18
  • 19. ค. Enter ง. Home 20. กรณีที่สมชายยังไม่ได้บันทึกแฟ้มข้อมูล สมชายลบข้อมูลไปแล้ว จะ นำากลับคืนมาได้หรือไม่ ก. ได้ โดยใช้คำาสั่ง Redo ข. ได้ โดยใช้คำาสั่ง Undo ค. บางครั้งได้บางครั้งไม่ได้ ง. ไม่ได้ เพราะลบเรียบร้อยแล้ว 19
  • 20. ใบงานกิจ กรรมที่ 1 การบัน ทึก สมุด งาน ให้น ัก เรีย นพิม พ์ต ารางทำา การต่อ ไปนี้ และบัน ทึก ไฟล์ช ื่อ ข้อ มูล สถิต ิ ในโฟลเดอร์ช ื่อ นัก เรีย น ใน Drive D: ทำาได้ไหม คะ ทำาได้ ครับ 20
  • 21. บทที่ 2. การจัด การและตกแต่ง งานด้ว ย Excel หัว ข้อ เรื่อ ง การแทรก/ลบ เซลล์ คอลัมน์ แถว และแผ่นงาน การคัดลอกและการย้ายข้อมูล การตกแต่งตาราง การปกป้องข้อมูลในเซลล์ การพิมพ์เอกสาร วัต ถุป ระสงค์ก ารเรีย นรู้ 1. ให้ส ามารถแก้ ไข ตกแต่ ง เพิ่ ม เติ ม ตารางหรื อ งานที่ จั ด ทำา ขึ้ น ให้ สวยงามขึ้น พร้อมที่จะนำาเสนอ 2. ให้ ส ามารถป้ อ งกั น การป้ อ นข้ อ มู ล ผิ ด พลาด และสามารถพิ ม พ์ เอกสารที่จัดทำาออกมาได้ แนวทางการรีย นการสอน 1. อธิบาย และสาธิต ให้ดูเป็นขั้นตอน หน้าชั้นเรียน 2. ให้นักเรียนฝึกทำาตาม 3. ให้ทำาโจทย์ตามใบงาน 4. ทดสอบหลังการสอน 21
  • 22. 1. การคัด ลอกและการย้า ยข้อ มูล โปรแกรม Microsoft Excel 2003 มีการป้อนข้อมูลลงในเซลล์ การคัดลอกและการย้ายข้อมูลจึงทำาได้ง่ายและยืดหยุ่น สามารถทำาได้ทั้ง แผ่นงาน เฉพาะแถวหรือคอลัมน์ หรือเฉพาะเซลล์และมีวิธีการทำาได้ หลายวิธี การทำาสำาเนาหรือการคัดลอก (Copy) การทำาสำาเนาหรือการคัดลอก (Copy) หมายถึง การทำาให้ข้อมูลที่ มีอยู่ในเซลล์นั้น หรือในพื้นที่หนึ่งไปเกิดขึ้นในเซลล์หรือในพื้นที่อื่น ๆ โดยที่ขอมูลเดิมยังคงอยู่ ้ ขันตอนการทำาสำาเนาข้อมูลการคัดลอก (Copy) ้ 1. กำาหนดพื้นที่ทำางาน 2. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข (EDIT) > คัดลอก (COPY) หรือคลิกที่ สัญลักษณ์รูป 22
  • 23. เมื่อทำาการคัดลอกจะปรากฏเส้นประ (Marky) ล้อมรอบเซลล์ที่ถูก เลือก 3. คลิกที่พื้นที่ที่จะวางข้อมูล 4. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข(EDIT) > วาง (PASTE) หรือคลิกที่สัญ รูป การคัด ลอกเซลล์โ ดยการใช้ป ุ่ม Ctrl + C 23
  • 24. วิธีนี้เป็นการคัดลอกข้อมูล มีวธีการดังนี้ ิ 1. เลือกเซลล์ที่ต้องการคัดลอก 2. กดปุ่ม Ctrl กับปุ่ม C พร้อมกันปรากฏ 3. คลิกที่เซลล์ที่ต้องการวาง กดปุ่ม Ctrl กับ ปุ่ม V พร้อมกัน การคัด ลอกเซลล์โ ดยการใช้ป ุ่ม Ctrl เป็นการาคัดลอกช่วงของแผ่นงาน ซึ่งรวมถึงค่าตัวเลขและสูตรที่อยู่ใน เซลล์นั้น 1. เลือกเซลล์ที่ต้องการจะคัดลอก 2. นำาเมาส์ไปชี้ที่ขอบของเซลล์ที่เลือกไว้ ซึ่งต้องให้เมาส์เป็น รูปลูกศร ( ) 3. ลากมาไว้ในเซลล์ที่ต้องการวาง โดยในขณะที่ลากเมาส์นั้น ต้องกดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ด้วย การคัด ลอกข้อ มูล โดยใช้ AutoFill 24
  • 25. ข้อมูลที่มักใช้บ่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความหรือตัวเลข มีลักษณะเป็น ข้อมูลที่ตองเรียงลำาดับ เช่นชุดลำาดับเลขคณิตที่มีการเพิ่มหรือลดด้วย ้ อัตราที่เท่ากัน ข้อมูลที่มีรูปแบบที่แน่นอน เช่น เดือนต่าง ๆ ของปี วัน ต่าง ๆ ของสัปดาห์ โปรแกรม Excel จะเอื้ออำานวยความสะดวกในการ ป้อนข้อมูลลงในตารางเป็นข้อมูลที่ซำ้า ๆ กัน และอยู่ติดกันเราสามารถคัด ลอกข้อมูลอย่างรวดเร็วโดยวิธีการ AutoFill ได้ 1. 2. 3. คลิกเมาส์เลือกเซลล์และเลื่อนเมาส์ไปที่มุมขวาล่างของ เซลล์เป็นเครื่องหมาย + เล็ก ๆ คลิกเมาส์ค้างไว้พร้อมกับ ลากเมาส์ (Drag mouse) ปล่อยเมาส์ข้อมูลถูกคัดลอกมา การคัด ลอกเซลล์โ ดยการลากที่ จุด จับ เติม (Fill handle) วิธีนี้เป็นการคัดลอกข้อมูล และสูตรต่าง ๆ มีวิธีการดังนี้ เลือกเซลล์ที่ต้องการคัดลอก 4. 5. นำาเมาส์ไปชี้ที่มุมขวาล่างของเซลล์ที่เลือกไว้ หรือ เรียกว่า จุดจับเติม (Fill Handle) ซึ่งต้องให้เมาส์เปลี่ยน เป็นรูปกากบาทสีดำา (+) แล้วให้ลากเมาส์ลงมา หมายเหตุ ถ้าต้องการสำาเนาข้อมูลในเซลล์หนึ่งไปเซลล์หนึ่งไปยัง หลาย ๆ เซลล์ โดยที่พื้นที่รับข้อมูลอยู่ตดกับพื้นที่ต้นแบบสามารถทำาโดย ิ การป้อนข้อมูลอัตโนมัติ 2. การย้า ยข้อ มูล 25
  • 26. การย้ายข้อมูล หมายถึงการย้ายข้อมูลในเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์ หรือพื้นที่ใหม่ การย้ายต่างจากการสำาเนา คือ การทำาสำาเนาจะทำาให้มี ข้อมูลหรือสูตรเพิ่มขึ้นจากเดิม ส่วนการย้ายจะไม่ทำาให้ข้อมูลเพิ่มขึ้น เพียงแต่เป็นการย้ายข้อมูลจากบริเวณเดิมไปสู่บริเวณใหม่ ขันตอนการย้ายข้อมูล ้ 1. กำาหนดพื้นที่ทำางาน 2. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข (EDIT) > ตัด (CUT) หรือคลิกที่สัญรูป หรือ ใช้ปุ่ม Ctrl +X 3. คลิกที่พื้นที่ที่จะวางข้อมูล 4. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข (EDIT) > วาง (PASTE) หรือคลิกที่สัญรูป หรือใช้ปุ่ม Ctrl +V คลิกพื้นที่ที่ต้องการ 26
  • 27. คลิกที่คำาสั่ง แก้ไข > ตัด คลิกพื้นที่ที่ต้องการวาง 3. การแทรกเซลล์ คอลัม น์ แถว และแผ่น งาน การแทรกเซลล์ การแทรกเซลล์ จะเป็นการเพิ่มเซลล์ใหม่เข้ามาแทนตำาแหน่ง ของเซลล์ในตำาแหน่งที่ เคอร์เซอร์อยู่เพื่อทำาการแทรก โดยเซลล์ที่ 27
  • 29. 4. การแทรกแถว การแทรกแถว จะเป็นการเพิ่มแถวใหม่เข้ามาแทนที่หมายเลข ที่ทำาการแทรก โดยแถวที่เลือกจะขยับไปทางด้านล่างของแถวใหม่ที่ แทรกเข้ามา 1. คลิกที่แถวที่ต้องการแทรก 2. คลิกที่คำาสั่งแทรก (Insert) > แถว (Row) ภาพแสดงตัวอย่างการเลือกแถวเพื่อแทรกใหม่ 29
  • 30. ภาพแสดงตัวอย่างที่ได้จากการแทรกแถวใหม่ 5. การแทรกคอลัม น ์์ การแทรกคอลัมน์ จะเป็นการเพิ่มคอลัมน์ใหม่เข้ามาแทนที่คอลัมน์ ที่ทำาการแทรก โดยคอลัมน์ที่เลือกจะขยับไปทางขวาของคอลัมน์ใหม่ที่ แทรกเข้ามา 1. คลิกที่แถวที่ต้องการแทรก 2. คลิกที่คำาสั่งแทรก (Insert) > คอลัมน์ (Column) 30
  • 31. ภาพแสดงตัวอย่างการเลือกคอลัมน์เพื่อแทรกใหม่ ภาพแสดงตัวอย่างที่ได้จากการแทรกคอลัมน์ใหม่ 6. การพิม พ์เ อกสาร การพิม พ์ข ้อ มูล ออกทางกระดาษ สามารถทำาได้โดยคลิกที่ปุ่ม หรือ คลิกที่คำาสั่ง แฟ้ม(File) > พิมพ์ (print) 31
  • 32. จากรูปจะเห็นรายละเอียดกำาหนดไว้ดังนี้ 1. ชื่อเครื่องพิมพ์ หมายถึงเครื่องพิมพ์ที่จะใช้ในการพิมพ์ 2. ระบุช่วงที่พิมพ์ พิมพ์ขอมูลทั้งหมดคลิกที่ทั้งหมด (All) ้ พิมพ์เฉพาะหน้าคลิกที่ หน้า (Page) พิมพ์ในช่วงหน้าต่อเนื่อง 3. สิ่งที่พิมพ์ (print) สามารถเลือกส่วนของเอกสารที่ ต้องการพิมพ์ ดังนี้ ส่วนที่เลือก(Selection) พิมพ์เฉพาะส่วนที่เลือก พิมพ์ ทั้งสมุดงาน (Entire Workbook) พิมพ์ทุกแผ่นงานที่มีในสมุดงานนั้น ๆ แผ่นงานที่ใช้งานอยู่ (Active Cell) กำาหนดให้พิมพ์เฉพาะแผ่นงานที่ ใช้งานอยู่ 4. พิมพ์กี่ชุด กำาหนดจำานวนสำาเนาที่พิมพ์ (Number of copies) เมื่อเลือกกำาหดสิ่งที่ต้องการพิมพ์เรียบร้อยแล้วให้กดปุ่มตกลง (Ok) เพื่อสั่งพิมพ์ การตั้ง ค่า หน้า กระดาษที่จ ะพิม พ์ ให้คลิกที่แฟ้ม (File) > ตั้งค่าหน้ากระดาษ (Page Setup) 32
  • 33. หัวเรื่องเกี่ยวกับหน้า (Page) ใช้กำาหนดเกี่ยวกับตัวกระดาษ การ วางแนวหน้า (Orientation) แนวตั้ง (Portrait) พิมพ์แนวตั้ง แนวนอน (Landscape) พิมพ์แนวนอน มาตราส่วน(Scaling) หมายถึงขนาดที่ ต้องการพิมพ์ (คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ขนาดเท่าจริง) ขนาดกระดาษ (Paper Size) ขนาดกระดาษที่ใช้ คุณภาพการพิมพ์ (Print Quality) ความ ละเอียดในการพิมพ์ หมายเลขหน้าแรก (First Page Number) หมาย ถึง หมายเลขหน้าเริ่มต้นว่าจะใส่เลขหน้าอะไรเป็นหน้าแรก การตั้งระยะขอบ ให้กำาหนดเกี่ยวกับระยะขอบด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านบน(Top) ด้านล่าง (Bottom) ด้านซ้าย(left) ด้านขวา (Right) หัว กระดาษ (Header) ระยะเว้นจากขอบด้านบนถึงหัวกระดาษ ท้าย กระดาษ (Footer) ระยะเว้นจากด้านล่างถึงท้ายกระดาษ กึ่งกลางหน้า กระดาษ (Center On Page) หมายถึงการจัดข้อมูลที่จะพิมพ์ให้อยู่ กลางหน้ากระดาษซึ่งมีให้เลือก 2 แบบ ตามแนวนอน (Horlizontally) ตามแนวตั้ง (Vertically) 33
  • 34. สรุป เนื้อ หาในบท ในบทนี้ ได้ศึกษาถึง การตกแต่ง เพิ่มเติม แก้ไขดัดแปลง ให้ เอกสารหรือแผ่นงาน สวยงามเป็นไปตามที่ต้องการได้ และรู้จักวิธีการ ป้องกันข้อมูลเสียหายจากการป้อนผิด รวมทั้งสามารถพิมพ์เอกวารออก มาได้ เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาในบทต่อไป คำา ถามท้า ยบท 1. การแทรกคอลัมภ์จะต้องใช้คำาสั่งใดบนแถบเมนูคำาสั่ง ก. เมนู แก้ไข (Edit) > ตัด (Cut) ข. เมนู แทรก (Insert) > คอลัมน์ (Column) ค. เมนู เครื่องมือ (Tool) > คอลัมน์ (Column) ง. เมนู รูปแบบ (Format) > คอลัมน์ (Column) 2. การแทรกแถววิธีการใดทำาได้เร็วและสะดวกที่สุด ก. เลือกเซลล์ที่อยู่ในแถวที่ต้องการแทรก คลิกเมาส์ปุ่มขวา เลือก แทรก (Insert) ข. เลือกเซลล์ที่อยู่ในแถวที่ต้องการแทรก เลือกเนูคำาสั่ง แทรก (Insert) เลือกแถว (Row) 34
  • 35. ค. เลือกหัวแถวที่ต้องการแทรก คลิกเมาส์ปุ่มขวา เลือก แทรก (Insert) ง. เลือกหัวแถวที่ต้องการแทรก เลือกเมนูคำาสั่ง แทรก (I์ืnsert) เลือก แถว (Row) 3. การแทรกเซลล์โดยข้อมูลในเซลล์เดิมจะ ถูกย้ายไปทางขวาจะทำาได้ ตามข้อใด ก. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่หัวคอลัมน์ของเซลล์ที่ต้องการแทรก และ เลือก แทรก (Insert) ข. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่หัวแถวของเซลล์ที่ต้องการแทรก และ เลือก แทรก (Insert) ค. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่เซลล์ที่ต้องการแทรกเลือก แทรก (Insert) เมื่อมีกล่องตอบโต้ให้คลิกเลือก เลื่อนเซลล์ไปทางขวา (Shift cells right) ง. ปฏิบัติได้ทุกข้อ 4. การแทรกแผ่นงานจะต้องทำาอย่างไร ก. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่แผ่นงาน จะมีเมนูลัดขึ้นมาให้เลือก แทรก (Insert) เมื่อมีหน้าต่างตอบโต้ให้เลือก แผ่นงาน (WorkSheet) ตอบตกลง ข. เลือกคำาสั่งเมนู แทรก (Insert) เลือก แผ่นงาน (Worksheet) ค. คลิกเมาส์ปุ่มซ้ายที่แผ่นงาน จะมีเมนูลัดขึ้นมาให้เลือก แทรก (Insert) และเลือก แผ่นงาน (WorkSheet) ง. คลิกเลือกแผ่นงานที่ 1 กดปุ่ม Shift คลิกเลือกจำานวนแผ่น งานที่ต้องการแทรก เลือกเมนูคำาสั่ง แทรก (Insert) เลือกแผ่นงาน (Worksheet 5. การลบเซลล์โดยที่ไม่มีผลต่อเซลล์อื่นต้องทำาตามข้อใด ก. เลือกเซลล์ที่ต้องการเลือกเมนู แก้ไข (Edit) เลือกลบ (Delete) ข. เลือกเซลล์ที่ต้องการลบคลิกเมาส์ปุ่มขวา เลือก ลบ (Delete) ค. เลือกเซลล์ที่ต้องการลบ กดปุ่ม Delete บนแป้นพิมพ์ ง. เลือกปฏิบัติได้ทั้ง 3 ข้อ 6. การลบแถวหรือสดมภ์หลังจากเลือกแถวหรือสดมภ์ที่ต้องการลบ แล้ว ขันตอนต่อไปปฏิบัติอย่างไร ้ ก. คลิกคำาสั่งแก้ไข (Edit) > คลิกที่เมนู ลบ (Delete) ข. คลิกเมาส์ปุ่มขวาแล้วเลือก Delete 35
  • 36. ค. คลิกคำาสั่งแทรก (Insert) ง. ปฏิบัติได้ทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 7. เ มื่อแผ่นงานมีจำานวนมากเกินไป ต้องการลบแผ่นงานสามารถปฏิบัติ ได้ย กเว้น ข้อใด ก. เลือกแผ่นงานที่ต้องการลบ กดปุ่ม Delete ข. เลือกแผ่นงานที่ต้องการลบ คลิกขวาที่แท็ปแผ่นงานจะ ปรากฏเมนูลัดออกมาให้เลือกคำาสั่ง ลบ (Delete) ค. เลือกแผ่นงานที่ต้องการลบ คลิกที่เมนูคำาสั่ง แก้ไข (Edit) เลือกคำาสั่งย่อยลบแผ่นงาน (Delete Sheet) ง. เลือกแผ่นงานท่ต้องการลบ กด Shift ค้างไว้ คลิกที่แผ่นงาน อืนที่ต้องการลบ คลิกที่เมนูคำาสั่ง แก้ไข (Edit) เลือกคำาสั่งย่อย ลบ ่ แผ่นงาน (Delete Sheet) 8. ข้อใดคือการย้ายข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด ก. คลิกเมาส์ที่เซลล์ที่ต้องการย้ายและกดปุ่ม Ctrl+V ข. คลิกเมาส์ที่เซลล์ที่ต้องการย้ายและกดปุ่ม Ctrl+X ค. คลิกเมาส์ที่เซลล์ที่ต้องการย้ายและกดปุ่ม Ctrl+X คลิกเมาส์ ที่เวลล์ที่ต้องการวางข้อมูลและกดปุม Ctrl+V ง. ปฏิบัติได้ทั้ง 3 ข้อ 9. การคัดลอกข้อมูลโดยการเลือกรูปสัญลักษณ์การคัดลอกและวาง นอกจากเลือกบนแถบเครื่องมือมาตรฐาน สามารถทำาได้โดยวิธีใดได้อีก ก. คลิกเมาส์ซ้ายค้างเลือกที่เซลล์แรกของแถวที่ต้องการเลือก แล้วลากไปจนถึงเซลล์สุดท้าย ข. คลิกเมาส์ขวามือที่เซลล์ที่ต้องการคัดลอกแล้วเลือก สัญลักษณ์ หลังจากนั้นเลือกเซลล์ที่ต้องการนำาข้อมูลไปไว้ คลิก เมาส์ขวาเลือก สัญลักษณ์ ์์ ค. ดับเบิลคลิกที่เซลล์ที่ต้องการคัดลอก นำาไปวางที่เซลล์ที่ ต้องการนำาข้อมูลไปไว้แล้วดับเบิลคลิกอีกครั้ง ง. คลิกที่เซลล์ที่ต้องการคัดลอก กดปุ่ม Shift ค้างไว้แล้วลาก เมาส์ไปวางที่เซลล์ที่ต้องการนำาข้อมูลไปไว้ 10. ผลแตกต่างระหว่างการย้ายข้อมูลกับการคัดลอกข้อมูลเห็นได้ ชัดเจนที่สุดคือ ก. วิธีการทำางาน ข. วัตถุประสงค์การทำางาน ค. คำาสั่งที่ใช้ 36
  • 37. ง. ผลลัพธ์ทออกมา ี่ 11.การกดปุ่ม Ctrl+1 เป็นปุ่มคีย์ลัดที่ทำาหน้าที่อะไร ก. จัดรูปแบบเซลล์ตามเงื่อนไข ข. จัดรูปแบบเซลล์ ค. จัดรูปแบบคอลัมน์ ง. จัดรูปแบบแถว 12. ถ้าต้องการให้ตัวเลขมีเครื่องหมาย,คั่น และทศนิยม 4 ตำาแหน่ง ต้อง ทำาอย่างไร ก. คลิกเลือกที่ ข. คลิกเลือกที่ ค. คลิกเลือกที ์่ ง. กดปุ่ม Ctrl+1 คลิกเลือกที่แท็ปตัวเลขกำาหนดให้มีทศนิยม 4 ตำาแหน่งและเครื่องหมาย , 13. ถ้าคลิกที่สัญลักษณ์รูป ในเซลล์ที่มีเลขจำานวนเต็มสามครั้ง จะมี ผลอย่างไร ก. ไม่มีผล ข. มีทศนิยมเพิ่ม 3 ตำาแหน่ง ค. ลดทศนิยมลง 3 ตำาแหน่ง ง. ตัวเลขเพิ่มขึ้น 3 หลัก 14. การวางแนวนอน ใช้คำาสั่งใด ก. Horizontal ข. Vertical ค. Orientation ง. Alignment 15. รูปแบบการจัดวางข้อมูลในแนวนอนแบบ General ผลลัพธ์ของ ข้อมูลจะเป็นอย่างไร ก. ตัวเลขและวันที่จะชิดขวา ข้อความชิดซ้าย และค่าตรรกะอยู่ กึ่งกลาง ข. ตัวเลขแล้ววันที่ชิดซ้าย ข้อความชิดขวาและค่าตรรกะอยู่ กึ่งกลาง ค. ตัวเลขและวันที่อยู่กึ่งกลางข้อความชิดซ้าย และค่าตรรกะชิด ขวา ง. ตัวเลขและวันที่ชิดซ้าย ข้อวามอยู่กึ่งกลางและค่าตรรกะชิด ขวา 37
  • 38. 16. ถ้าต้องการเพิ่มหรือเปลี่ยนสีลงในเซลล์ต้องเลือกการจัดรูปแบบเซลล์ ในแท็ปใด ก. จัดตำาแน่ง ข. แบบอักษร ค. เส้นขอบ ง. ลวดลาย 17. ถ้าต้องการจัดรูปแบบตัวอักษรในคำาสั่ง รูปแบบ (Format) > เซลล์ (Cell) ควรคลิกที่แท็ปใด ก. ตัวเลข (Number) ข. แบบอักษร (Font) ค. เส้นขอบ (Border) ง. การจัดตำาแหน่ง (Alignment) 18. EXCEL เป็นการจัดรูปแบบตัวอักษรโดยใช้เครื่องมือใด ก. ข. ค. ง. 19. การทำาการป้องกันแผ่นงานมีประโยชน์อย่างไร ก. ป้องกันการเปลี่ยนแปลงแก้ไขแผ่นงาน ข. ป้องกันการบันทึกแผ่นงาน ค. ป้องกันการบันทึกแผ่นงานซำ้า ง. ป้องกันการพิมพ์ 20. การสั่งพิมพ์งานของโปรแกรม Microsoft Excel ข้อใดกล่าวไม่ถูก ต้อง ก. การสั่งพิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งพิมพ์ได้ทั้ง Worksheet ข. การสั่งพิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งพิมพ์ได้ทั้ง Workbook ค. การสั่งพิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งพิมพ์งานเฉพาะบาง ส่วนได้ ง. การสั่งพิมพ์งานใน Excel สามารถสั่งให้ไปเก็บอยู่ในรูปไฟล์ ได้ 38
  • 39. 39
  • 40. ใบงานที่ 2 การตกแต่ง ตาราง แบบฝึก เสริม ทัก ษะการตกแต่ง ตาราง 1. ให้นักเรียนจัดทำา ตารางสอนประจำา ตัว นั กเรี ยนโดยกำา หนดชุด แบบ อักษร ขนาดอักษร รูปแบบตัวอักษร สีตัวอักษร สีสัน ตามความเหมาะสม และสวยงาม แล้วบันทึกข้อมูลเหล่านี้ลงในแฟ้มชื่อ Ex 2_4 2. ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลจากเพื่อน ๆ จำา นวน 10 คนในเรื่อง ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น วันเดือนปีเกิด อายุ และเรื่องน่าสนใจอีก 2 เรื่อง แล้ว นำาข้อมูลเหล่านี้มาสร้างตารางในการเก็บข้อมูลเหล่านี้โดยใช้โปรแกรม Excel ให้กำา หนดรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสมแล้วบันทึกข้อมูลไว้ ในแฟ้มชื่อ Ex 2_5 3. เรี ย กแฟ้ม ข้อ มูล นักเรีย นชื่ อ Ex 2_5 มาเพื่ อ นนั กเรี ย นแต่ ล ะคนใน เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ เพศโดยให้ แ ทรกอยู่ ร ะหว่ า งชื่ อ เล่ น และวั น เดื อ นปี เ กิ ด นอกจากนี้ให้ทำา การรวบรวมข้ อมู กเรื่อ งจากเพื่ อ นอี ก 2 คน โดยแทรก เป็นข้อมูลลำาดับที่ 7 และที่ 8 แล้วบันทึกข้อมูลไว้ในแฟ้มชื่อ Ex 2_6 4. เรี ย กแฟ้ ม ข้ อ มู ล Ex 2_5 มาเพื่ อ พิ ม พ์ ข้ อ มู ล ออกทางเครื่ อ งพิ ม พ์ เฉพาะเรื่อง ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น อายุ เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วทำาข้อมูลให้ อยู่ในรูปเดิมแล้วบันทึกข้อมูลในแฟ้มชื่อเดิม เราทำาได้ เราทำาได้ แล้วนะ แล้วนะ ครูครับผมก็ ครูครับผมก็ ทำาได้ครับ ทำาได้ครับ 40
  • 41. 41
  • 42. บทที่ 3. การสร้า งสูต รและใช้ฟ ัง ก์ช ัน ในการคำา นวณ หัว ข้อ เรื่อ ง การใช้สูตรในการคำานวณ การป้อนสูตรในการคำานวณ การอ้างอิงเซลล์หรืองช่วงเซลล์ในสูตร การใช้ฟังก์ชันในตาราง วัต ถุป ระสงค์ก ารเรีย นรู้ 1. ให้สามารถเข้าใจการป้อนสูตรคำานวณ ในโปรแกรม EXCEL 2. ให้สามารถสร้างตารางการคำานวณ และสามารถประยุกต์ ไปใช้ใน งานต่างๆ ได้ แนวทางการรีย นการสอน 1. อธิบาย และสาธิต ให้ดูเป็นขั้นตอน หน้าชั้นเรียน 2. ให้นักเรียนฝึกทำาตาม 3. ให้ทำาโจทย์ตามใบงาน 4. ทดสอบหลังการสอน 42
  • 43. 1. การใช้ส ูต รในการคำา นวณ โปรแกรม Microsoft Excel 2003 เป็ นโปรแกรมที่ ใช้ สำาหรับการคำานวณ โดยมีเครื่องมือให้ใช้มากมาย ทั้งในรูปของสูตรหรือ ฟั ง ก์ ชั น สามารถใช้ ใ นรู ป แบบอั ต โนมั ติ หรื อ สามารถกำา หนดให้ ด้ ว ย ตนเอง โดยที่ สู ต รเราจะหมายถึ ง การคำา นวณทางคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเครื่ อ งหมายทางคณิ ต ศาสตร์ เครื่ อ งหมายในการเปรี ย บ เทียบ เชื่อมข้อความและการอ้างอิง เช่น การบวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น ส่ ว นฟั ง ก์ ชั น เราจะหมายถึ ง คำา สั่ ง สำา เร็ จ รู ป ที่ ใ ช้ ใ นการคำา นวณ เช่ น Sum Average Min Max ฯลฯ ชนิด ของสูต ร โปรแกรม Microsoft Excel 2003 แบ่งชนิดของสูตร ออกเป็น 4 ชนิด คือ 1. สูตรในการคำานวณทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Formula) เครื่องหมา ความหมาย ตัวอย่างสูตร ย + บวก =40 + 10 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ 50 ลบ = 40 – 10 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ 30 * คูณ =40*2 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ 80 / หาร = 40/2 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ 20 % เปอร์เซ็นต์ = 40% จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ 0.4 ^ ยกกำาลัง =40^2 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ 1600 2. สูตรในการเปรียบเทียบ (Comparision Formula) เครื่องหมา ย = ความหมาย เท่ากับ ตัวอย่างสูตร = 40=30 จะได้ผลลัพธ์ 43
  • 44. เท่ากับ False มากกว่า =40>30 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ True น้อยกว่า =40<30 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ False ม า ก ก ว่ า ห รื อ =40>=30 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ เท่ากับ True น้ อ ย ก ว่ า ห รื อ =40<=30 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ เท่ากับ False ไม่เท่ากับ 40< >40 จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ False > < >= <= <> 3.เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น (Text Formula) เครื่อ งหม ความหมาย ตัว อย่า งสูต ร าย & เชื่อมหรือนำาคำา =STORY&BOARD จะ สองคำามาต่อกัน ได้ผลลัพธ์เท่ากับ ให้เกิดค่า STORYBOARD ข้อความต่อเนื่องที่ เป็นค่าเดียวกัน 4. สูตรในการอ้างอิง (Text Formula) เครื่อ งหมาย : (Colon) เว้นวรรค (Insection) , (Comma) ความหมาย ตัว อย่า งสูต ร บอกช่วงของข้อมูล =(B1:B5) กำาหนดพื้นที่ทับกัน 2 ช่วงเอาข้อมูลทั้ง =SUM(B1:C1 D1:E5) 2 ช่วงมาเชื่อมต่อ =Sum(C1:C5,D7:D8 กัน ) ขั้น ตอนการคำา นวณด้ว ยตาราง 1. การกำาหนดเซลล์สำาหรับเก็บผลลัพธ์โดยการเลื่อนตัวชี้เซลล์นั้นแล้ว คลิก 2. ใส่สูตรเข้าในเซลล์สำาหรับเก็บผลลัพธ์สูตรจะต้องเริ่มต้นด้วย เครื่องหมาย = 44
  • 45. ลำาดับความสำาคัญของเครื่องหมายการคำานวณ ลำา ดับ 1 2 3 4 5 เครื่อ งหมาย ( ) ^ * และ / + และ & 6 7 รายละเอีย ด วงเล็บ ยกกำาลัง คูณและหาร บวกและลบ ตัวเชื่อม เท่ากับ น้อยกว่า น้อยกว่า =,<,<= หรือเท่ากับ มากกว่า มากกว่าหรือ > ,>=, < > เท่ากับ ไม่เท่ากับ หมายเหตุ การทำางานที่อยู่ในระดับเดียวกัน จะคำานวณจากซ้ายไปขวา ตามลำาดับ ตัวอย่างการคำานวณ รูปภาพปสดงตัวอย่าง การใช้สูตรในการคำานวณ ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใส่สูตร 1. สูตรที่ใส่ในเซลล์จะปรากฏให้เห็นในแถบสูตร 2. ค่าที่เป็นผลลัพธ์ของสูตรจะปรากฏในเซลล์สำาหรับเก็บผลลัพธ์ 3. กรณีที่มีนิพจน์หลายเครื่องหมายจะทำางานตามลำาดับเครื่องหมาย 2. การป้อ นสูต รในการคำา นวณ 1. คลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่จะป้อนสูตรคำานวณหาผลรวม 45
  • 46. 2. พิมพ์เครื่องหมาย = ตามด้วยตำาแหน่งของเซลล์ที่ต้องการนำา มาคำานวณหาผลรวม เช่น =D4+D5+D6+D7+D8 3. กด Enter เมื่อเขียนสูตรเสร็จ ถ้าพิมพ์สูตรผิด Excel ไม่ สามารถคำานวณได้ จะแสดง ERR! ในเซลล์ที่ใช้สูตรคำานวณนั้น การป้อนสูตรคำานวณในแถบสูตร คลิกที่เซลล์ต้องการป้อนสูตร พิมพ์ สูตรคำานวณในแถบสูตรกด Enter การป้อนสูตรคำานวณโดยใช้เมาส์ช่วย 1.คลิกเมาส์ที่เซลล์ต้องการป้อนสูตรคำานวณและพิมพ์ เครื่องหมาย = 2. นำาเมาส์คลิกเซลล์ใช้คำานวณ 3. พิมพ์เครื่องหมาย + คลิกเซลล์ที่ใช้บวกต่อไปพิมพ์ เครื่องหมาย + คลิกเซลล์ที่ใช้ 4.กด Enter สรุป การป้อ นสูต รในการคำา นวณ 1. ถ้าค่าที่คำานวณเป็นตัวเลขเกิน 10 หลัก และรูปแบบตัวเลขเป็น แบบทั่วไป คอมพิวเตอร์จะเขียนให้เป็นเลขยกกำาลัง เช่น 8.98 E + 10107 ถ้าต้องการให้แสดงเป็นตัวเลขปกติต้องเปลี่ยนรูปแบบ เซลล์เป็นแบบตัวเลข 2. ถ้านำาข้อมูลต่างประเภทกันมาคำานวณ คอมพิวเตอร์จะแจ้ง ข้อความว่าผิอดพลาดเป็น # VALUE 3. ข้อมูลประเภทตัวอักษรในแต่ละเซลล์นำามาเชื่อมกันได้โดยใช้ เครื่องหมาย & 4. ถ้าใช้สัญลักษณ์ในการคำานวณที่คอมพิวเตอร์ไม่รู้จักจะแจ้งการ ผิดพลาดเป็น #NAME ถ้าอ้างอิงไม่ถูกต้อง #REF! 5. การเปรียบเทียบค่าระหว่างเซลล์ คอมพิวเตอร์จะแจ้งว่า จริง (True) หรือไม่จริง (False) เท่านั้น 3. การอ้า งอิง เซลล์ห รือ ช่ว งเซลล์ใ นสูต ร 46
  • 47. การคำานวณโดยการอ้างอิงเซลล์ หรือช่วงเซลล์ที่กำาหนด จะทำาให้เกิดความรวดเร็วในการคำานวณ เนื่องจากไม่ต้องแก้ไขสูตรทุก ครั้ง เมื่อทำาการเปลี่ยนแปลงค่าคงที่อยู่ในเซลล์ โปรแกรมจะคำานวณ อัตโนมัติ การเขียนสูตรโดยการใช้ตำาแหน่งอ้างอิงของเซลล์จะดีกว่าการ ใช้ข้อมูลทีอยู่ในแต่ละเซลล์โดยตรง เพราะเมื่อค่าที่เป็นตัวตั้งในสูตร ่ เปลี่ยนไป ผลลัพธ์ที่ได้จากการคำานวณจะเปลี่ยนตามโดยอัตโนมัติ 1. อ้า งอิง แบบสัม พัท ธ์ (Relative) หมายความว่า เซลล์ใด ที่มีการ อ้างอิงแบบสัมพัทธ์ เมื่อถูกสำาเนาไปยังเซลล์ใหม่ เซลล์ที่ถูกอ้างอิงในสูตร จะมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ในเซลล์ C1 กำาหนดสูตร =A1+B1 ถ้าทำา สำาเนาสูตรจาก C1 ไป C2 ได้สูตร =A2+B2 ถ้าไปไว้ที่ D1 จะได้สูตร =B1+C1 ตัวอย่าง การอ้า งอิง แบบสัม บูร ณ์(Absolute) หมายความว่าเซลล์ใดที่มีการ อ้างอิงแบบสัมบูรณ์ เมื่อถูกสำาเนาไปยังเซลล์ใหม่ เซลล์ที่ถูกอ้างงอิงใน 47
  • 48. สูตรแบบสัมบูรณ์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตังอย่าง ในเซลล์ B4 กำาหนด สูตร =$B$2+$C$3 ถ้าทำาการสำาเนาสูตร =$B$2+$C$3 จากเซลล์ B4 ไปยังเซลล์ C5 สูตรใน C5 เหมือนเดิม ตัวอย่าง 3. การอ้า งอิง แบบผสม (Mixed) หมายถึงการระบุชื่อเซลล์ในสูตร สามารถระบุแบบผสมระหว่างแบบสัมพัทธ์ และแบบสัมบูรณ์ได้ ตัวอย่าง เช่น ในเซลล์ D3 กำาหนดสูตร =C$3 ความหมายว่า ไม่ว่าจะคัดลอก สูตรในเซลล์ D3 ไปไว้ที่ใดในแผ่นงานแถวยังเป็นแถวที่ 3 แต่คอลัมน์จะ เปลี่ยนไปและถ้าในเซลล์ D3 กำาหนดสูตร =$C3 หมายความว่า ไม่ว่าจะ คัดลอกเซลล์ D3 ไปไว้ที่ใดในแผ่นงานคอลัมน์ยังคงเป็น C แต่ตัวเลข แถวจะเปลี่ยนไป การเปลี่ย นชนิด ของการอ้า งอิง ถ้าหากต้องการเปลี่ยนชนิดของการอ้างอิง สามารถทำาได้โดย วิธีที่ 1 1. เลือกเซลล์ที่ต้องการเปลี่ยนการอ้างอิง 2. พิมพ์เปลี่ยนการอ้างอิงที่แถบของสูตรตามที่ต้องการ 3. กด Enter วิธีที่ 2 1. 2. 3. เลือกเซลล์ที่ต้องการเปลี่ยนการอ้างอิง กดปุ่ม F2 เพื่อขอแก้ไขสูตร และกดปุ่ม F4 จะปรากฏชนิดของ การอ้างอิงแต่ละชนิดตามที่ต้องการ โดยจะมีรูปแบบของการใส่ เครื่อง $ กำากับเซลล์ กด Enter เมื่อเลือกชนิดตามที่ต้องการได้แล้ว ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใส่สูตร 48
  • 49. 1. สูตรที่ใส่ในเซลล์จะปรากฏให้เห็นในช่องของแถบสูตร 2. ค่าที่เป็นผลลัพธ์ของสูตรจะปรากฏอยู่ในเซลล์สำาหรับเก็บ ผลลัพธ์ 3. ค่าที่ใส่ในสูตรถ้าเป็นชื่อเซลล์จะหมายถึงการนำาค่าที่อยู่ใน เซลล์นั้นมาคำานวณ 4. การใช้ฟ ัง ก์ช ัน ในตาราง ฟัง ก์ช ัน (Function) หมายถึงสูตรพิเศษที่โปรแกรมสร้างไว้เพื่อให้ คำานวณค่าต่าง ๆ ตามจุดประสงค์ การใช้ฟังก์ชัน จะช่วยให้เขียนสูตรใน การคำานวณได้สั้นและง่ายขึ้น ตัวอย่าง เช่น หากต้องการรวมค่าจาก เซลล์ A1 ถึง A5 แทนที่จะพิมพ์สูตร =A1+A2+A3+A4+A5 ก็ใช้ ฟังก์ชัน =SUM(A1:A5) หรือ การจะหาค่าเฉลี่ย สามารถหาได้จากผล รวมของทุกเซลล์หารด้วยจำานวนทั้งหมดใส่สูตร =( A1+A2+A3+A4+A5 )/5 หรือจะใช้ =SUM(A1:A5)/5 สามารถ ใช้ฟังก์ชัน =AVERAGE(A1:A5) แทนได้ การพิมพ์ฟังก์ชันด้วยตนเองจะพิมพ์ชื่อฟังก์ชันและชื่อเซลล์ด้วยตัว พิมพ์เล็กหรือใหญ่ก็ได้ ต้องไม่มีช่องว่าง ในกรณีที่เราได้ตั้งชื่อกลุ่มเซลล์ ไว้ เช่น เซลล์ E5 ถึง E7 มีชื่อเป็น TOT_MAR เราก็สามารถใช้ชื่อกลุ่ม เซลล์นั้นกับฟังก์ชันได้เลย =SUM(TOT_MAR) แนะนำา ส่ว นประกอบของฟัง ก์ช ัน ใน Excel มีฟังก์ชันมากกว่า 300 ฟังก์ชัน สำาหรับทำาหน้าที่ต่าง ๆ อาทิ เช่น การคำานวณตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติและการเงิน ฟังก์ชันที่ เกี่ยวกับตัวเลขและตัวอักษร ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันที่และเวลา ฟังก์ชันการ จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น ซึ่งฟังก์ชันแต่ละตัวนั้นอาจมีรายละเอียดการ ใช้งานที่แตกต่างกันไป แต่พอสรุปส่วนประกอบได้ดังนี้ 49
  • 50. รูปภาพแสดง ส่วนประกอบของฟังก์ชัน สำาหรับการใช้ฟังก์ชันบางประเภทต้องป้อน argument เป็นข้อความ เวลา หรือวันที่ จะต้องอยู่ในเครื่องหมาย “ ” เสมอ การใช้ง านฟัง ก์ช ัน มีด้วยกัน 2 วิธี คือการใส่ฟังก์ชันด้วยตนเอง หรือการใส่ ฟังก์ชันวิซาร์ด วิธีที่ 1 การใส่ฟังก์ชันด้วยตนเอง 1. คลิกเลือกเซลล์ที่ต้องหาผลลัพธ์โดยการใช้ฟังก์ชัน 2. 3. ใส่เครื่องหมายเท่ากับ ( = ) ตามด้วยชื่อของฟังก์ชันและ ใส่วงเล็บภายในขอบเขตของช่วงที่ต้องการหา กด Enter วิธีที่ 2 การใส่ฟังก์ชันวิซาร์ด 1. คลิกที่คำาสั่งแทรก (Insert) บนเมนูบาร์ เลือกคำาสั่ง ฟังก์ชัน (Function) 2. จะเกิดกรอบโต้ตอบ แทรกฟังก์ชัน (Insert Functions)คลิกเลือกรูปแบบฟังก์ชันที่ต้องการ 50
  • 51. 3. สมมติถ้าเราต้องการเลือกฟังก์ชัน SUM ซึ่งใช้ในการหาผล รวมของข้อมูล จะปรากฏดังภาพ 4. ฟังก์ชัน SUM จะมีรูปแบบคือ SUM(number1,number 2,…number 30)หรือคลิเมาส์ที่ คลิกปุ่มตกลง ในกรณีที่เกิดความผิดพลาด จะปรากฏข้อความผิดพลาดจาการใช้ ฟังก์ชันในการคำานวณต่อไปนี้ ความผิดพลาด ความหมาย #DIV/0! สูตรถูกหารด้วยศูนย์ #N/A มีการอ้างอิงเซลล์ที่ไม่มีค่าหรือไม่มี ข้อมูลในสูตร #NAME สูตรมีการกล่าวอ้างถึงชื่อเซลล์ที่ไม่ ปรากฏในสูตร #NUL! สูตรที่มีการอ้างถึงเซลล์ใด ๆ ที่ โปรแกรมไม่รู้จัก #NUM! สูตรมีการใช้ตัวเลขผิดรูปแบบ #REF! สูตรที่มีการอ้างอิงเซลล์ไม่ถูกต้อง 51
  • 52. #VALUE! สูตรมีการใช้อาร์กิวเมนต์หรือโอเปอร์ เรเตอร์ ผิดรูปแบบ ฟัง ก์ช ัน ที่ค วรรู้จ ัก =AVERAGE(D5:D20) หมายถึง ค่าเฉลี่ยของค่าที่อยู่ในช่วง เซลล์ D6 ถึง D20 =MAX(D6:D20) หมายถึง ค่าสูงสุดของค่าที่อยู่ ในช่วงเซลล์ D6 ถึง D20 =MIN(D6:D20) หมายถึง ค่าตำ่าสุดของค่าที่อยู่ใน ช่วงเซลล์ D6 ถึง D20 =STDEVP(D6:D20) หมายถึง ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานของคาในช่วงเซลล์ D6 ถึง D20 =COUNTIF(ช่วงเขตข้อมูล,ค่าที่ต้องการนับ) เช่น =COUNTIF($J$6:$J$20,4) หมายถึง ช่ว 16 ถึง J20 มีเลข 4 กี่เซลล์ (ให้ค่าเป็นจำานวนนับ) =RANK(I6,I$6:I$20,0) หมายถึง ค่าลำาดับของ ตัวเลขในเซลล์ I6 ที่อยู่ในรายการตัวเลขในช่วงเซลล์ I6 ถึง I20 ส่วน ตัวเลขศูนย์เป็นการระบุวิธีการจัดเรียงรายการตัวเลขในช่วงที่กำาหนด จากมากไปหาน้อย(ถ้าเป็นค่าอื่นที่ไม่ใช่ศูนย์จะเป็นการจัดเรียงรายการ =IF(เงื่อนไข,ค่าที่แสดงเมื่อเงื่อนไขจริง,ค่าที่แสดงเมื่อ เงื่อนไขเท็จ) เช่นตัวเลขจากน้อยไปมาก =IF(I6>=80,4,IF(I6>=70,3,IF(I6>=60,2,IF(I6>=50,1 ,0)))) หมายถึง การหาผลการเรียนตามเงื่อนไข โดยให้คะแนนรวมอยู่ใน เซลล์ I6 ตัวอย่าง การใช้ IF ตัวอย่างการตั้งเงื่อนไขคะแนนเมื่อคะแนนปลายภาคได้ 0 ผลการเรียนได้ 0 52
  • 53. การจัด รูป แบบมีเ งื่อ นไข การหาผลรวมแบบมีเงื่อนไข การหาผลรวมแบบมีเงื่อนไขเราใช้ฟังก์ชัน SUMIF ซึ่งมีรูปแบบการใช้ ดังนี้ SUMIF(range,criteria,sum_range) range คือช่วงข้อมูลที่จะนำามากำาหนดเป็นเงื่อนไข ซึ่งจะครอบคลุม ข้อมูลทั้งหมด เช่น ชื่อสินค้า หรือราคาสินค้าก็ได้ criteria คือเกณฑ์ที่มีเงื่อนไขที่กำาหนด เช่น มากกว่า 500(">500") sum_range คือช่วงข้อมูลตัวเลขที่จะนำามารวมกัน เช่น ราคา เป็นต้น การกำาหนดเงื่อนไขสามารถทำาได้หลายลักษณะ ดังนี้ 1. ให้เลือกข้อมูลที่เหมือนกับเงื่อนไขทุกประการ 2. ให้เปรียบเทียบข้อมูลกับเงื่อนไขที่กำาหนด สมมติต้องการหาผลรวมของเสื้อ กรณีชื่อเหมือนกันเช่นรองเท้ามีหลายประเภท ใช้ * ตามหลังหมายความ ว่ารองเท้าอะไรก็ได้ เช่น =SUMIF(A1:A7,"รองเท้า*"B1:B7) ใช้เครื่องหมายการเปรียบเทียบทางคณิตศาสตร์ก็ได้ =SUMIF(B2:B7,">=3,C2:C7) ถ้า B84 ว่าง เชิญตอบ ถ้าตอบข้อ ค ดีมาก ตอบอย่างอื่นผิดจ้ะ ==เชิญตอบ",IF(B84="ค.","ดีมาก","ผิดจ๊ะ")) 53