SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
1
ชุดที่ 1 แนวข้อสอบ O-NET วิชา ภาษาไทย ม.ปลาย
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. โอ้อกเรามีกรรมทาไฉน จึงจะได้แนบชิดขนิษฐา
คำที่ขีดเส้นใต้อ่ำนอย่ำงไรจึงจะไพเรำะ
1. อ่ำนทอดเสียงแล้วปล่อยให้หำงเสียงผวนขึ้นจมูก
2. อ่ำนครั่นเสียงให้น้ำเสียงติดขัดสะเทือนอำรมณ์
3. อ่ำนเปลี่ยนเสียงจำกเสียงต่ำขึ้นไปเสียงสูง
4. อ่ำนหลบเสียงจำกเสียงสูงลงไปเสียงต่ำ
2. ข้อใดอ่ำนจังหวะวรรคตอนได้ถูกต้อง
1. ทั้งองค์/ฐำนรำนร้ำวถึง/เก้ำแฉก เผยอแยกยอด/ทรุดก็/หลุดหัก
2. โอ้เจดีย์/ที่สร้ำงยัง/ร้ำง/รัก เสียดำยนัก/นึกน่ำน้ำตำ/กระเด็น
3. กระนี้หรือ/ชื่อเสียง/เกียรติยศ จะมิหมด/ล่วงหน้ำ/ทันตำเห็น
4. เป็นผู้ดีมี/มำกแล้ว/ยำกเย็น คิดก็เป็น/อนิจจังเสีย/ทั้งนั้น
3. ยูงทองร้องกะโต้งโห่งดัง เพียงฆ้องกลองระฆัง
แตรสังข์กังสดาลขานเสียง
คำประพันธ์ข้ำงต้นต้องอ่ำนตำมข้อใด
1. ยูงทองร้อง/กะโต้งโห่งดัง เพียงฆ้อง/กลองระฆัง//
แตรสังข์/กังสดำลขำนเสียง//
2. ยูงทอง/ร้องกะโต้ง/โห่งดัง เพียงฆ้อง/กลอง/ระฆัง//
แตรสังข์/กังสดำล/ขำนเสียง//
3. ยูงทอง/ร้องกะโต้งโห่งดัง เพียงฆ้อง/กลองระฆัง//
แตรสังข์/กังสดำลขำนเสียง//
4. ยูงทอง/ร้องกะโต้งโห่งดัง เพียงฆ้อง/กลองระฆัง//
แตรสังข์/กังสดำล/ขำนเสียง//
2
4. คำประพันธ์ในข้อใดมิได้แสดงอำรมณ์เกรี้ยวกรำดกระแทกน้ำเสียง
1. เอออุเหม่อิลลำชะล่ำไฉน ประพำสบ่เกรงบ่กลัวกระทำ
อุกอำจ อหังกำร์
2. เรำนี่แหละจะสำปจะสรรให้สำแก่ใจ นะเจ้ำแน่ะนำงอิลลำ
จะทำไฉน
3. แสงสกำววิโรจน์นภำประจักษ์ แฉล้มเฉลำและโสภิตนัก
ณ ฉันใด
4. กลกะกำกะหวำดขมังธนู บห่อนจะเห็นธวัชริปู
สิล่ำถอย
5. ขุนผู้คู่กากับ เป็นเทพหลังพรั่งพฤนท์
ขี่คชินทรพาหนะ นามชนะจาบัง
ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรอ่ำนร่ำย
1. อ่ำนคำส่งสัมผัส “พฤนท์” ว่ำ พริน
2. อ่ำนคำส่งสัมผัส “พฤนท์” ว่ำ พะรึน
3. อ่ำนคำรับสัมผัส “คชินทร” ว่ำ คะ-ชิน-ทอน
4. อ่ำนคำรับสัมผัส “คชินทร” ว่ำ คะ-ชิน-ทะ-ระ
6. พำดหัวข่ำวหนังสือพิมพ์ข้อใดเน้นกำรนำเสนอเฉพำะข้อเท็จจริง
1. โทรทัศน์ดำวเทียมเข้ำถึงง่ำย ผู้ประกอบกำรอ้ำอึ้ง คิดต่ำงจำก กสทช.
2. แอร์ นิวซีแลนด์ ยกเลิกเที่ยวบินหลำยสำยหลังภูเขำไฟยังคงปะทุ
3. กฟผ. แจงเครียด คำดปี 56 ควำมต้องกำรไฟฟ้ำเพิ่ม 3.5 %
4. ธุรกิจล่องเรือเจ้ำพระยำพุ่งกระฉูด เงินสะพัด 700 ล้ำน
7. ไข่ตุ๋นเป็นอาหารที่ทาจากไข่ตีกับนาหรือนาซุป ปรุงรสให้ออกเค็มเล็กน้อย และใส่เครื่องต่างๆ
ตามใจชอบ นึ่งให้สุก รับประทานกับข้าว หรือจะรับประทานเปล่าๆ ร้อนๆ ก็คล่องคอดี
ข้อใดไม่ปรำกฏในข้อควำมข้ำงต้น
1. รสชำติไข่ตุ๋น
2. วิธีทำไข่ตุ๋น
3. วิธีรับประทำนไข่ตุ๋น
4. ประโยชน์ของไข่ตุ๋น
3
8. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นที่ต้องพิจำรณำในกำรอ่ำนเพื่อให้ทรำบเรื่องรำว
1. ตัวละครในเรื่องคือใครบ้ำง และมีลักษณะนิสัยอย่ำงไร
2. บทสนทนำของตัวละครในเรื่องมีลักษณะเด่นอย่ำงไร
3. กำรกระทำของตัวละครทำให้เกิดผลอะไรตำมมำ
4. ตัวละครแต่ละตัวได้กระทำสิ่งใดบ้ำง
9. ข้อใดใช้ภำษำต่ำงจำกข้ออื่น
1. น้ำฝนกวำดผืนพสุธำใหม่จนไม่เหลือฝุ่น
2. นกเป็นร้อยๆ เริ่มร้องเพลงเพรียกอยู่ตำมยอดไม้
3. กำรเกิดใหม่ของพฤกษำทำให้โลกนี้เป็นอุทยำนสีเขียว
4. กระรอกตกใจกระโดดโหยงๆ เขย่ำกิ่งไม้เหนือหัวทำลูกไม้ป่ำหล่น
10. ข้อใดใช้บรรยำยโวหำร
1. อยู่ๆ มีเสียงพึบพับจำกทำงด้ำนขวำรำวกับใครสะบัดผ้ำผืนใหญ่
2. ผมก็ตำค้ำง ตั้งท่ำจะวิ่งกลับไปหำแม่ที่เดินใกล้เข้ำมำ
3. ใบกล้วยนั้นกำลังโยกซ้ำยย้ำยขวำ พลิกใบไปมำ
4. รองเท้ำใหม่ส่งเสียงกับๆ ก้องไปในรำวป่ำ
11. ข้อใดใช้ภำษำสอดคล้องกับลักษณะกำรเขียนย่อควำมมำกที่สุด
1. พี่กุ้งสบตำพี่กอล์ฟไม่วำงตำ
2. เธอเป็นคนสวยอย่ำงร้ำยกำจ
3. ปิ๊กชงกำแฟได้อร่อยเลิศล้ำ
4. เขำไปลอยกระทงกับเพื่อนๆ
12. ...จึงเรียนเชิญท่านเป็นวิทยากรเพื่อแสดงปาฐกถา เรื่อง “การใช้ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน”
แก่สมาชิกชมรมวิชาภาษาไทย...
ข้อใดกล่ำวถึงลักษณะเนื้อควำมในจดหมำยได้ถูกต้องที่สุด
1. ส่งข่ำวเหตุกำรณ์
2. ขอควำมร่วมมือ
3. มีเรื่องปรึกษำ
4. สมำนไมตรี
4
13. กำรเขียนจดหมำยกิจธุระในข้อใดใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้ำยได้ถูกต้องเหมำะสมกับสถำนภำพของผู้รับ
ข้อ ผู้รับ คาขึ้นต้น คาลงท้าย
1. พระภิกษุ นมัสกำร ด้วยควำมเคำรพอย่ำงสูง
2. คุณครู กรำบเท้ำ ด้วยควำมเคำรพ
3. วิทยำกรพิเศษ เรียน ขอแสดงควำมนับถือ
4. คุณปู่ กรำบเท้ำ ขอแสดงควำมนับถือ
14. ข้อใดกล่ำวถึงลักษณะกำรใช้ภำษำในกำรเขียนเรียงควำม ย่อควำม และจดหมำยไม่ถูกต้องที่สุด
1. กำรเขียนเรียงควำมควรใช้ภำษำที่สั้นกระชับและได้ใจควำม
2. เรียงควำมสำมำรถใช้โวหำรแบบพรรณนำโวหำรได้
3. กำรเขียนย่อควำมเน้นกำรพรรณนำเช่นเดียวกับกำรเขียนเรียงควำม
4. กำรเขียนจดหมำยส่วนตัวสำมำรถใช้ภำษำระดับไม่เป็นทำงกำรได้
15. ถ้ำนักเรียนมีควำมจำเป็นต้องกรอกข้อควำมลงในแบบรำยกำร นักเรียนควรจะทำสิ่งใดก่อนเป็นอันดับแรก
1. กรอกข้อมูลตำมควำมเป็นจริง
2. อ่ำนข้อควำมในแบบแสดงรำยกำรให้เข้ำใจ
3. เลือกถ้อยคำที่กะทัดรัด เพื่อให้ตรงตำมจุดมุ่งหมำยของแบบรำยกำร
4. ปฏิบัติตำมข้อบังคับหรือคำแนะนำในกำรกรอกแบบรำยกำรนั้นๆ อย่ำงเคร่งครัด
16. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในกำรกรอกแบบรำยกำรสัญญำ
1. กรอกข้อควำมอย่ำงละเอียด
2. อ่ำนแบบรำยกำรสัญญำอย่ำงละเอียด
3. ปรึกษำผู้รู้ก่อนกรอกแบบรำยกำรสัญญำ
4. ลงลำยมือชื่อในแบบรำยกำรที่ไม่ได้กรอกข้อควำมครบถ้วน
17. ข้อใดแสดงควำมสัมพันธ์ที่ไม่เหมาะสมระหว่ำงผู้ฟังกับผู้พูด
1. จับตำมองผู้พูดตลอดเวลำ
2. ปรบมือให้กำลังใจผู้พูด
3. แสดงควำมเข้ำใจผ่ำนทำงสีหน้ำ
4. ซักถำมผู้พูดเกี่ยวกับข้อสงสัยต่ำงๆ ตลอดเวลำ
5
18. ข้อควำมต่อไปนี้มีจุดมุ่งหมำยในกำรพูดสอดคล้องกับข้อใดมำกที่สุด
ข้าพเจ้าใคร่จะกล่าวแก่ทุกท่านว่า การทานุบารุงประเทศชาตินันมิใช่เป็นหน้าที่ของผู้หนึ่งผู้ใด
โดยเฉพาะ หากเป็นภาระความรับผิดชอบของคนไทยทุกคนที่จะต้องขวนขวายกระทาหน้าที่ของตน
ให้ดีที่สุด เพื่อธารงรักษาชาติบ้านเมืองให้เจริญมั่นคงและผาสุกร่มเย็น
1. เป็นกำรเร้ำควำมรู้สึก
2. บอกเรื่องรำวที่ควรรู้แก่ผู้ฟัง
3. สร้ำงควำมบันเทิงสนุกสนำน
4. เป็นกำรทำให้ผู้ฟังเชื่อด้วยเหตุผล
19. ข้อควำมต่อไปนี้ไม่สอดคล้องกับกำรพูดในโอกำสใด
ข้าพเจ้าใคร่จะกล่าวแก่ทุกท่านว่า การทานุบารุงประเทศชาตินันมิใช่เป็นหน้าที่ของผู้หนึ่งผู้ใด
โดยเฉพาะ หากเป็นภาระความรับผิดชอบของคนไทยทุกคนที่จะต้องขวนขวายกระทาหน้าที่ของตน
ให้ดีที่สุด เพื่อธารงรักษาชาติบ้านเมืองให้เจริญมั่นคงและผาสุกร่มเย็น
1. กำรกล่ำวปำฐกถำ หัวข้อ “ปรำบทุจริต ล้มคอรัปชัน”
2. กำรกล่ำวเปิดงำนโครงกำร “มุมมองและทิศทำงกำรท่องเที่ยว”
3. กำรกล่ำวสุนทรพจน์ หัวข้อ “รักชำติ รักประชำธิปไตย”
4. กำรกล่ำวสดุดีบุคคลสำคัญ เนื่องในงำนรำลึกทหำรผ่ำนศึก
20. ข้อควำมต่อไปนี้มีกลวิธีกำรลำดับเนื้อหำอย่ำงไร
วัลลีเป็นตัวอย่างลูกที่ดี ซึ่งมีความกตัญญู ทุกวันเวลาพักเที่ยงวัลลีต้องเดินกลับบ้านเพื่อไปป้อนอาหาร
เที่ยงให้คุณแม่ที่ป่วยเป็นอัมพาต การกระทาของวัลลีนีสมควรแล้วที่จะได้รับรางวัลดีเด่นด้านความ
กตัญญู
1. ลำดับตำมเวลำ
2. ลำดับตำมสถำนที่
3. ลำดับจำกเหตุไปสู่ผล
4. ลำดับจำกผลไปสู่เหตุ
21. ข้อใดเป็นอวัจนภำษำที่แสดงถึงควำมไม่สุภำพ
1. วิทยำธรได้รับคำชมว่ำเป็นผู้ชำยที่มีเสน่ห์ จะนั่งจะยืนมีท่ำทำงสุภำพ นอบน้อมอยู่เสมอ
2. ใครๆ มักบอกเขำว่ำไม่น่ำชื่อวินัย เพรำะเขำไม่มีวินัย เวลำนำยเรียกก็เดินล้วงกระเป๋ำเข้ำไปหำ
3. สถำพรรีบมำทำงำนแต่เช้ำและยิ้มทักทำยผู้อื่นด้วยหน้ำตำยิ้มแย้มทุกวัน
4. เวลำนำเอกสำรเข้ำไปนำเสนอเจ้ำนำย วิศรุตจะยืนค้อมตัวรอรับคำสั่งจำกนำยเสมอ
6
22. ลักษณะคำในข้อใดมีกำรกลำยเสียง
1. อย่ำงนี้-ยังงี้
2. สะดือ-สำยดือ
3. หมำกพร้ำว-มะพร้ำว
4. ตะกรุด-กะตุด
23. ข้อใดมีคำไทยแท้ทุกคำ
1. นำรีตกกระไดพลอยโจนกับบุรุษหลังจำกดูใจกันมำนำน
2. พอฝนจะตกก็รีบกลับบ้ำนทันที
3. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตกลูกครั้งละตัว
4. เพื่อนชวนเขำไปเรียนต่อที่กรุงเทพฯ เขำจึงตกลงใจแต่งงำนกัน
24. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ตรีมำกที่สุด
1. ประเพณีกินเจของชำวจีนมีอำหำรเจขำยมำกมำย
2. ร้ำนค้ำขำยโค้กยังติดธงเจสีเหลืองเลย
3. ผัดหมี่ ผัดซีอิ๊ว และโกซีหมี่ขำยดีเป็นเทน้ำเทท่ำ
4. เธอชอบกินอำหำรเจใช่ไหม วันพรุ่งนี้ฉันจะซื้อมำฝำก
25. คำว่ำ “ขัน” ข้อใดมีหน้ำที่ของคำแตกต่ำงจำกข้ออื่นมำกที่สุด
1. เขำพูดเรื่องขำขัน
2. ไหนขันที่ฉันต้องกำร
3. เขำขันอำสำช่วยเหลือเรำ
4. เมื่อเช้ำนี้ ไก่ขันเสียงดังมำก
26. ข้อใดมีกำรประสมอักษรเหมือนคำว่ำ สัมฤทธิ์
1. พระเจ้ำ
2. สำมัญ
3. เจ้ำเล่ห์
4. คำศัพท์
27. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ
1. คนงำนใหม่ขยันเป็นพักๆ เอำแน่ไม่ได้
2. นักเรียนอนุบำลหกล้มหัวเข่ำแตกเลือดไหลซิบๆ
3. ในสวนสำธำรณะมีคนออกกำลังกำยกันประปรำย
4. ที่ปำกทำงเข้ำหมู่บ้ำนมียำมรักษำกำรอยู่ตลอดเวลำ
7
28. ข้อใดมีคำประพันธ์ที่เหมือนกับคำประพันธ์ที่ยกตัวอย่ำงมำนี้
“กลางไพรไก่ขันบรรเลงฟังเสียงเพียงเพลงซอเจ้งจาเรียงเวียงวัง”
1. เร่งพลพำชีตีกระหนำบตัวนำยชักดำบออกไล่หลัง
2. ตีนงูงูไซร้หำกเห็นกันนมไก่ไก่สำคัญไก่รู้
3. ลิงค่ำงครำงโครกครอกฝูงจิ้งจอกออกเห่ำหอน
4. ไว้ปำกไว้วำกย์วำทีไว้วงศ์กวีไว้เกียรติและไว้นำมกร
29. คำประพันธ์ในข้อใดแตกต่ำงจำกข้ออื่น
1. เปิบข้ำวทุกครำวคำ จงสูจำเป็นอำจิณ
เหงื่อกูที่สูกิน จึงก่อเกิดมำเป็นคน
2. รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุริยงเย็นยอแสง
ช่วงดังน้ำครั่งแดง แฝงเมฆเขำเงำเมรุธร
3. เขำตกทะเลบก สิก็ตกทะเลไป
คลื่นสีขจีใส ปะทะซ่ำฉะฉ่ำฉำน
4. จำปำหนำแน่นเนื่อง คลี่กลีบเหลืองเรืองอร่ำม
คิดคะนึงถึงนงรำม ผิวเหลืองกว่ำจำปำทอง
30. “หวานใดไม่หวานนักเท่ารสรักสมัครสมไร้รักหนักอารมณ์หวานเหมือนขมอมโศกา”
บทประพันธ์ข้ำงต้นใช้โวหำรประเภทใด และใช้ลักษณะคำประพันธ์ประเภทใด
ลาดับที่ ประเภทของโวหาร ลักษณะคาประพันธ์
1. อุปมำโวหำร กำพย์
2. เทศนำโวหำร กำพย์
3. สำธกโวหำร กลอน
4. พรรณนำโวหำร กลอน
31. ข้อใดผู้อ่ำนควรใช้เสียงเน้นหนัก เพื่อให้เห็นควำมสำคัญของเนื้อหำทำให้เกิดควำมไพเรำะ ชวนให้
ติดตำมอย่ำงต่อเนื่อง
1. เรื่องวัดพระเชตุพนฯ นี้ น่ำจะไขควำมไว้ที่ตรงนี้ได้อีกหน่อย ผู้อ่ำนจะได้เข้ำใจ
2. ท่ำนพระครูไม่ยอมให้แก้ไขในบริเวณโบสถ์ที่ท่ำนเคยลงไปอยู่เมื่อต่อสู้กับพวกโจร
3. กรุงสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลำ ในนำมีข้ำว เจ้ำเมืองบ่เอำจกอบในไพร่ลู่ทำง เพื่อนจูงวัวไปค้ำ ขี่ม้ำไปขำย
ใครใคร่ค้ำม้ำค้ำ ใครใคร่ค้ำช้ำงค้ำ
4. แม่มิเคยได้เคืองแค้นเหมือนครั้งนี้ เมื่อจำกบุรีทุเรศมำก็พร้อมหน้ำทั้งลูกผัวเป็นเพื่อนทุกข์ สำคัญ
ว่ำจะเป็นสุขประสำยำก
8
32. ข้อใดผู้อ่ำนควรใช้น้ำเสียงเพื่อถ่ำยทอดอำรมณ์ต่ำงจำกข้ออื่น
1. เห็นทหำรไม่เชื่อก็เหลือกลั้น ชักดำบไล่ฟันทั้งซ้ำยขวำ
ใครข่มเหงคนไทยไม่เมตตำ ชีวำจะดับด้วยมือเรำ
2. พิศดูสำวน้อยนวลหงส์ รูปทรงงำมเลิศเฉิดเฉลำ
อยำกจะช่วยทุกข์ภัยให้บรรเทำ จึงเข้ำใกล้นำงแล้วพลำงทัก
3. อย่ำมัวพูดเสียเวลำฆ่ำฉันเถิด ขอให้เกิดเป็นชำยได้สักหน
จะรบสู้กับพม่ำกล้ำประจญ ไม่ย่อย่นขำมกลัวพวกตัวร้ำย
4. ในชำตินี้มิสมัครรักพม่ำ เชิญท่ำนฆ่ำให้ดับลับชีพหำย
ไปชำติหน้ำขอกำเนิดเกิดเป็นชำย แล้วเชิญกรำยมำลองฝีมือกัน
33. ข้อใดให้คำจำกัดควำมของคำว่ำกำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ได้ถูกต้อง
1. กำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ คือกำรอ่ำนอย่ำงมีสมำธิ จดจ่ออยู่กับเรื่องที่อ่ำน
2. กำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ คือกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณไตร่ตรองรอบคอบ
3. กำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ คือกำรอ่ำนเพื่อแยกแยะองค์ประกอบต่ำงๆ ของสิ่งที่อ่ำน
4. กำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ คือกำรอ่ำนเพื่อจำแนกประเภทสิ่งที่อ่ำนในชีวิตประจำวัน
34. ชื่อเรื่องของเรียงควำมในข้อใดแตกต่ำงจำกข้ออื่น
1. ยำมเช้ำที่โขงเจียม
2. ทะเลงำมยำมสำยัณห์
3. ทุ่งทำนตะวัน สีสันประเทศไทย
4. สร้ำงชีวิตด้วยปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง
35. กลวิธีกำรเขียนเรียงควำมในข้อใดส่งผลต่อกำรลำดับเนื้อหำสำระภำยในเรื่อง
1. กำรใช้ย่อหน้ำที่ดีในกำรเขียนส่วนเนื้อเรื่องของเรียงควำม
2. กำรเลือกหัวข้อเรื่องที่อยู่ในควำมสนใจของกลุ่มคนในสังคม
3. กำรตั้งชื่อเรื่องให้มีควำมน่ำสนใจ ครอบคลุมเนื้อหำของเรื่อง
4. กำรเขียนสรุปให้ผู้อ่ำนประทับใจ และเน้นย้ำจุดมุ่งหมำยของเรื่อง
36. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนกำรเขียนเรียงควำมได้ถูกต้อง
ก. กำหนดจุดมุ่งหมำย ข. วำงโครงเรื่อง ค. ลงมือเขียน
ง. รวบรวมข้อมูล จ. อ่ำนทบทวนและแก้ไข
1. ก. ข. ค. ง. และ จ.
2. ก. ข. ง. ค. และ จ.
3. ก. ง. ข. จ. และ ค.
4. ก. ง. ข. ค. และ จ.
9
37. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรเขียนอ้ำงอิงแบบเชิงอรรถ
1. กำรเขียนอ้ำงอิงแบบเชิงอรรถจะนำไปรวบรวมไว้ในส่วนท้ำยของบรรณำนุกรม
2. กำรเขียนเชิงอรรถควรเขียนให้จบภำยใน 1 บรรทัด
3. กำรเรียงลำดับหมำยเลขเชิงอรรถต้องเรียงลำดับตั้งแต่หมำยเลข 1 ไปจนจบเล่ม
4. รำยละเอียดที่ระบุ ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ จังหวัด และสถำนที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ และหน้ำที่คัดลอก
ข้อควำมมำ
38. พฤติกรรมของบุคคลใดสำมำรถอนุมำนได้ว่ำเนื้อหำของรำยงำนจะมีประสิทธิภำพ
1. วัลภำเลือกศึกษำหัวข้อที่มีแหล่งข้อมูลอย่ำงหลำกหลำย
2. วัลลีเลือกศึกษำหัวข้อที่น่ำสนใจ และประเมินว่ำเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ำน
3. วัชรีเลือกศึกษำหัวข้อที่ตนเองไม่ถนัด เพื่อท้ำทำยควำมสำมำรถของตนเอง
4. วัลลภเลือกศึกษำหัวข้อที่เคยมีผู้ศึกษำไว้แล้วอย่ำงละเอียด เพื่อให้ค้นหำข้อมูลได้สะดวก
39. ข้อใดไม่จาเป็นต้องระบุในกำรเขียนบรรณำนุกรมทั้ง 2 รำยกำร
รศ.ดร.ปฐมพงษ์ ตระกูลยั่งยืน. (2539). รูปแบบการนับถือศาสนาในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3.
จำนวน 2500 เล่ม. กรุงเทพมหำนคร : สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
1. คำนำหน้ำชื่อผู้แต่ง ครั้งที่พิมพ์
2. คำนำหน้ำชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์
3. คำนำหน้ำชื่อผู้แต่ง จำนวนเล่ม
4. ครั้งที่พิมพ์ จำนวนเล่ม
40. รำยงำนเรื่อง “ลำตัด ลมหำยใจสุดท้ำยของเพลงพื้นบ้ำน” ควรเรียงลำดับโครงเรื่องตำมข้อใด
ก. ควำมเป็นมำและลักษณะทั่วไปของลำตัด
ข. แนวทำงกำรอนุรักษ์เพลงลำตัด
ค. สำเหตุกำรผันเปลี่ยนของวัฒนธรรมเพลงพื้นบ้ำน
ง. บทบำทของเพลงลำตัดต่อสังคมไทย
1. ค. ง. ก. ข.
2. ง. ค. ข. ก.
3. ก. ง. ค. ข.
4. ค. ก. ข. ง.
41. หัวเรื่องสำรคดีในข้อใด เมื่อนำมำเรียบเรียงจะมีเนื้อหำแตกต่ำงจำกข้ออื่น
1. กล้วยไม้สำยพันธุ์ใหม่
2. ผำน้ำตกนกแสนสวย
3. ต้นกล้วยมหัศจรรย์
4. วัฒน์ วรรลยำงกูล กวีศรีบูรพำ
10
42. ข้อควรคำนึงในกำรผลิตงำนเขียนประเภทสำรคดีคืออะไร
1. กำรแทรกเกร็ดควำมรู้
2. ควรมีรูปภำพประกอบ
3. ควรตั้งข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
4. ควรแสดงทรรศนะอย่ำงตรงไปตรงมำ
43. หลักกำรในข้อใดควรปฏิบัติในกำรตัดสินประเมินคุณค่ำงำนเขียน
1. อ่ำนและตีควำม
2. แยกแยะองค์ประกอบภำยในเรื่อง
3. วิเครำะห์องค์ประกอบภำยในเรื่องอย่ำงรอบด้ำน
4. พิจำรณำจำกผลงำนที่ผ่ำนมำของเจ้ำของผลงำน
44. หลักกำรแรกของกำรเขียนสำรคดีตรงกับข้อใด
1. กำรเลือกเรื่อง
2. กำรวำงโครงเรื่อง
3. กำรสำรวจเพื่อหำข้อมูล
4. กำรตั้งจุดมุ่งหมำยในกำรเขียน
45. กำรรับสำรในข้อใด ผู้ฟังและดูจะต้องใช้วิจำรณญำณมำกที่สุด
1. กำรฟังสัมมนำเรื่องโบรำณคดีใต้น้ำ
2. กำรฟังโฆษณำผ่ำนสถำนีโทรทัศน์
3. กำรฟังธรรมะผ่ำนสถำนีวิทยุแห่งประเทศไทย
4. กำรฟังบทเพลงลูกทุ่งผ่ำนรำยกำรลูกทุ่งยอดฮิต
46. ข้อใดแสดงกระบวนกำรฟังและดูอย่ำงมีวิจำรณญำณ
1. ได้ยิน ได้เห็น
2. ได้ยิน ได้เห็น ได้สัมผัส
3. ได้ยิน ได้เห็น ได้สัมผัส ได้รับรู้
4. ได้ฟัง ได้เห็น ได้วิเครำะห์ ใคร่ครวญ ได้ประเมินค่ำเพื่อนำไปใช้
47. หลักกำรวิเครำะห์ภำษำในงำนเขียนเชิงให้ควำมรู้ตรงกับข้อใด
1. พิจำรณำถ้อยคำที่มีลักษณะโน้มน้ำวใจ
2. พิจำรณำควำมไพเรำะ เหมำะสม สื่อควำม สื่ออำรมณ์
3. พิจำรณำระดับหรือแบบแผนกำรใช้ภำษำ ควำมถูกต้อง
4. พิจำรณำควำมเชื่อมโยง หรือสัมพันธภำพของภำษำในเรื่อง
11
48. บุคคลใดแสดงมำรยำทในกำรฟังและดูที่เหมำะสม
1. สุพจน์ยกมือขึ้นถำมผู้บรรยำยทันทีที่สงสัย
2. สุนีย์จดข้อสงสัยไว้ในสมุด รอจนกว่ำผู้บรรยำยจะเปิดโอกำสให้ซักถำม
3. สุนันท์ถำมในสิ่งที่สงสัยกับเพื่อนที่นั่งอยู่ข้ำงๆ เพรำะไม่กล้ำถำมผู้บรรยำย
4. สุมำลีลุกออกจำกที่ประชุมเมื่อผู้พูดบรรยำยเสร็จ โดยไม่อยู่ฟังช่วงกำรซักถำม
49. บทโฆษณำในข้อใดไม่ปรากฏถ้อยคำที่แฝงกำรโน้มน้ำวใจ
1. พักผ่อนอย่ำงรำชำ ที่ฮำน่ำรีสอร์ต
2. ปูนตรำ สิงห์ ปูนเข้ม ฉำบง่ำย สบำยมือ
3. โรงเรียนอนุบำลเด่นภพ มำตรฐำนเดียวกับกำรเรียนกำรสอนระบบกำรศึกษำอเมริกำ
4. กำรออกกำลังกำยอย่ำงเป็นประจำสม่ำเสมอ จะช่วยให้ร่ำงกำยแข็งแรง เป็นที่อยู่ของจิตใจที่แจ่มใส
50. ข้อใดไม่ใช่กลวิธีกำรพูดโน้มน้ำวใจที่ถูกต้อง
1. ทำให้ผู้ฟังเกิดอำรมณ์ควำมรู้สึกร่วม
2. กำรสร้ำงควำมน่ำเชื่อถือในตัวของผู้พูด
3. ทำให้ผู้ฟังเห็นถึงผลดี ผลเสียของสถำนกำรณ์
4. กำรสร้ำงควำมเชื่อถือด้วยกำรให้เห็นผลหักล้ำง ว่ำร้ำยฝ่ำยตรงข้ำม
51. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์ของกำรพูด
1. พูดเพื่อโน้มน้ำวให้เชื่อ
2. พูดเพื่อหันเหควำมสนใจ
3. พูดเพื่อมำรยำททำงสังคม
4. พูดเพื่อสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ถูกต้อง
52. คุณธรรมกำรพูดในข้อใดมีควำมเกี่ยวข้องกับหลักคำสอนในพระพุทธศำสนำ
1. พูดด้วยเมตตำจิต
2. พูดแต่คำสัตย์จริง
3. พูดให้ถูกกำลเทศะ
4. พูดแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์
53. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะของภำษำ
1. หน่วยคำที่ประกอบเป็นประโยคเป็นอิสระต่อกัน
2. ภำษำไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
3. หน่วยย่อยในภำษำจะประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยใหญ่
4. กำรยืมคำเข้ำมำใช้ในภำษำไม่นับเป็นกำรเปลี่ยนแปลงของภำษำ
12
54. ประโยคในข้อใดมีเจตนำบอกให้ทำ
1. ขับรถภำษำอะไร
2. พื้นที่ส่วนบุคคล
3. เห็นไหม เขำไปกันหมดแล้ว
4. กรุณำกรอกแบบสอบถำมหลังใช้บริกำร
55. ข้อใดไม่ปรำกฏเสียงสระประสม
1. เวิ้งว้ำง เงินผ่อน แบ่งแยก
2. วี้ดว้ำย เชิญชวน คลอนแคลน
3. โพล้เพล้ ร่องแร่ง จองหอง
4. กรีดกรำย บ้ำนเรือน ลอดช่อง
56. ข้อควำมใดมีควำมสัมพันธ์กับ “ลักษณะของประโยคที่ดี”
1. มีควำมยำวต่อเนื่อง
2. ปรำกฏกำรใช้ถ้อยคำที่ไพเรำะ คมคำย
3. สื่อควำมได้ชัดเจน มีควำมสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน
4. ปรำกฏกำรใช้ถ้อยคำภำษำต่ำงประเทศ และศัพท์ทำงวิชำกำร
57. ข้อควำมใดไม่มีควำมเกี่ยวข้องกับภำษำไทยถิ่น
1. กำรศึกษำเรียนรู้เกี่ยวกับภำษำไทยถิ่นทำให้สำมำรถศึกษำประวัติของคำได้
2. ควำมแตกต่ำงระหว่ำงภำษำไทยถิ่นกับภำษำไทยมำตรฐำนคือเรื่องของคำศัพท์
3. ภำษำไทยถิ่นเป็นภำษำย่อยของภำษำไทยที่ใช้สื่อสำรกันในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง
4. กำรผสมระหว่ำงเชื้อชำติและวัฒนธรรมเป็นสำเหตุหนึ่งของกำรเกิดภำษำไทยถิ่น
58. ข้อใดต่อไปนี้มีวิธีกำรร้อยเรียงประโยคด้วยกำรแทนคำหรือวลี
1. นกไม่สบำย วันนี้เลยไปเที่ยวไม่ได้
2. นกชอบกิน แต่ฉันไม่ชอบ
3. นกเคยไปเที่ยวเชียงใหม่ แต่ผมไม่เคย
4. ผู้ชำยคนนั้นหน้ำตำดีมำก เขำเป็นนักแสดงช่องอะไร
59. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับฉันทลักษณ์ของร่ำยสุภำพ
1. ร่ำยสุภำพจะจบบทด้วยโคลงสำมสุภำพเสมอ
2. ร่ำยสุภำพบทหนึ่งๆ มีจำนวนวรรคทั้งสิ้น 5 วรรค
3. กำรแต่งร่ำยสุภำพไม่กำหนดจำนวนคำในแต่ละวรรค
4. คำสุดท้ำยของวรรคหน้ำต้องสัมผัสกับคำที่ 1, 2 และ 3 ของวรรคต่อๆ ไป
13
60. คำประพันธ์ประเภทฉันท์มีลักษณะเด่นเฉพำะตรงกับข้อใด
1. คำสร้อย
2. คำครุ คำลหุ
3. คำเอก คำโท
4. คำเป็น คำตำย
61. ข้อใดไม่ใช่หลักกำรใช้คำยืมที่ถูกต้อง
1. ต้องรู้แหล่งที่มำของคำ
2. ต้องรู้หลักกำรเขียนที่ถูกต้อง
3. ต้องรู้หลักกำรออกเสียงที่ถูกต้อง
4. ต้องรู้ว่ำมีกลุ่มคนที่ใช้ภำษำนี้มำกน้อยเพียงใด
62. ข้อใดใช้ระดับของภำษำต่ำงจำกพวก
1. กรุณำรอสักครู่
2. พรุ่งนี้พบกันบริเวณหน้ำสวนสำธำรณะ
3. งำนสัปดำห์หนังสือปีนี้มีคนมำบำนเบอะ
4. นักเรียนควรมีควำมอุตสำหะในกำรศึกษำเล่ำเรียน
63. ข้อใดเรียงลำดับหน่วยในภำษำไทยจำกเล็กสุดถึงใหญ่สุดได้ถูกต้อง
1. คำ เสียง วลี ประโยค
2. เสียง คำ วลี ประโยค
3. วลี เสียง คำ ประโยค
4. คำ วลี เสียง ประโยค
64. คำพูดในข้อใดเหมำะที่จะใช้ในกำรประชุม
1. ขอโทษนะ คุณปรำนีพูดดังๆ หน่อย จะได้ได้ยินกันทุกคน
2. ดิฉันขอให้ที่ประชุมพิจำรณำทบทวนเรื่องนี้อีกครั้ง
3. เรื่องมันไปกันใหญ่แล้ว ขอให้พูดให้ตรงประเด็นหน่อยเถอะ
4. คุณจิรนัดดำนั่งเงียบอยู่นำนแล้ว กรุณำแสดงควำมคิดเห็นครับ
65. ข้อใดคือจุดมุ่งหมำยที่สำคัญของกำรพูดอภิปรำย
1. เพื่อแสดงควำมรู้ ควำมเข้ำใจของผู้พูด
2. เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนคติของผู้ฟัง
3. เพื่อควำมบันเทิง ผ่อนคลำยจำกปัญหำ
4. เพื่อแลกเปลี่ยนควำมรู้ ควำมคิด ประสบกำรณ์เพื่อแก้ไขปัญหำ
14
66. หัวเรื่องในข้อใดเหมำะสมที่จะนำมำอภิปรำย
1. เกิดเป็นชำยดีกว่ำหญิง
2. ระบบธุรกิจขำยตรง
3. ก้ำวไกลไปกับอำเซียน
4. เรำจะแก้ไขสถำนกำรณ์กำรอ่ำนของคนไทยได้อย่ำงไร
67. สิ่งสำคัญประกำรแรกของกำรพูดโต้แย้งตรงกับข้อใด
1. มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำนิยำมของกำรโต้แย้ง
2. มีควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรใช้ภำษำเพื่อกำรหักล้ำง
3. ตั้งใจฟังเรื่องที่จะต้องโต้แย้งตั้งแต่ต้นจนจบอย่ำงมีสมำธิ
4. มีควำมสำมำรถในกำรพูดสรุปได้คมคำยทำให้ผู้ฟังเชื่อถือ
68. ข้อใดเป็นลักษณะเฉพำะของคำที่ยืมมำจำกภำษำอังกฤษ
1. มีลักษณะเป็นคำสองพยำงค์
2. ไม่ปรำกฏกำรใช้พยัญชนะเสียงควบกล้ำ
3. มีเสียงควบกล้ำที่ไม่มีในภำษำไทย เช่น ฟร
4. มีลักษณะเป็นคำแผลงด้วยกำรเติมหน่วยคำเติมหน้ำ
69. กำพย์ประเภทใดนิยมที่จะนำมำแต่งคู่กับบทร้อยกรองประเภทฉันท์
1. กำพย์ยำนี และกำพย์สุรำงคนำงค์
2. กำพย์ฉบัง และกำพย์สุรำงคนำงค์
3. กำพย์ห่อโคลง และกำพย์ยำนี
4. กำพย์ห่อโคลง และกำพย์สุรำงคนำงค์
70. สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ เป็นฉันท์ซึ่งมีท่วงทำนองที่เหมำะแก่กำรบรรจุเนื้อควำมในลักษณะใด
1. บทชมโฉม
2. บทยอพระเกียรติ
3. บทพรรณนำควำมรัก
4. บทตื่นเต้น ระทึกใจ
15
71. ข้อใดเป็นประโยคใจควำมสำคัญของข้อควำมต่อไปนี้
(ก) คาว่า “เอ็นดู” ก็เหมือนกันถ้าสาวๆ ได้ยินพ่อเฒ่าชาวใต้แหลงว่า “เอ็นดูหลาว” อย่าเข้าใจผิดคิดไป
ว่าพ่อเฒ่าหัวงูมาเอ็นดูหวังเลียงต้อย เพราะ “เอ็นดู” ในบริบทของคนใต้แปลว่าสงสาร (ข) นี่แหละครับ
เสน่ห์ของการเดินทางไปยังต่างถิ่นต่างที่ คือได้เรียนรู้ภาษา เรียนรู้วัฒนธรรม และวิธีคิดที่ต่างจาก
ความคุ้นเคยของเรา (ค) นับว่าชาวชุมพรและคนปักษ์ใต้โชคดีที่มีปราชญ์อย่างอาจารย์สนั่นพากเพียร
รวบรวมภาษาถิ่นที่มีคุณค่าไว้เป็นลายลักษณ์อักษร (ง) ก่อนที่ภาษาอินเทอร์เน็ตใน “แชทรูม” และการส่ง
“ชอร์ตแมสเสจ” ในโทรศัพท์มือถือจะบดบังภาษาถิ่นจนหมด
1. (ก)
2. (ข)
3. (ค)
4. (ง)
72. ข้อใดเป็นประเด็นโต้แย้งของข้อควำมต่อไปนี้
การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศควรเริ่มต้นจากการค้นหาจากจุดที่เป็นอุปสรรคมากที่สุด
ของการพัฒนาประเทศ (most binding constraint) และเน้นแก้ปัญหาในจุดดังกล่าว การพยายามแก้ปัญหา
หลายปัญหาพร้อมๆ กัน เป็นการพัฒนาที่ไร้ประโยชน์
1. มีอุปสรรคใดบ้ำงในกำรแก้ไขปัญหำและพัฒนำประเทศ
2. กำรแก้ไขปัญหำทำงเศรษฐกิจก่อให้เกิดประโยชน์หรือไม่ อย่ำงไร
3. กำรแก้ปัญหำทำงเศรษฐกิจหลำยๆ อย่ำงพร้อมกัน ถือเป็นกำรแก้ปัญหำหรือไม่
4. กำรแก้ไขปัญหำเศรษฐกิจของประเทศควรเริ่มต้นจำกจุดที่สำคัญที่สุดใช่หรือไม่
คาชี้แจง นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ จากนั้นตอบคาถามข้อ 73-75
เรารู้สึกได้ถึงความแตกต่างเมื่อเราหันมาใช้ครีมกระชับสัดส่วนตราหุ่นสวย เมื่อเราใช้ครีมแล้วเรา
ไม่ต้องลดอาหารหรือออกกาลังกายให้หนัก ทาให้เราไม่รู้สึกเหนื่อยมากเกินไปจนทาให้ร่างกายทรุดโทรม
นอกจากนี ยังไม่มีสารพิษตกค้าง สภาพร่างกายของเราจึงดีขึนทันตาเห็น หุ่นสวยกระชับ ไร้ไขมัน รู้สึก
กลับไปเป็นสาววัยแรกรุ่นอีกครัง ตอนแรกคิดว่าการลดนาหนักด้วยวิธีนีจะไม่ได้ผล เดี๋ยวนีเข้าใจแล้ว
อยากให้คนที่อยากสวยหันมาใช้ครีมกระชับสัดส่วนตราหุ่นสวยแบบเรามากขึน
73. ข้อใดเป็นเจตนำในกำรพูด
1. อวดอ้ำงว่ำตนเองสวย
2. บอกเล่ำวิธีกำรลดน้ำหนักให้มีรูปร่ำงสวยงำม
3. แนะนำคุณค่ำที่ได้จำกกำรลดน้ำหนักด้วยครีมกระชับสัดส่วนตรำ หุ่นสวย
4. ชักชวนให้เพื่อนที่ต้องกำรลดน้ำหนักหันมำใช้ครีมกระชับสัดส่วนตรำ หุ่นสวย
16
74. ข้อควำมข้ำงต้นมีวิธีกำรลำดับเนื้อหำอย่ำงไร
1. ลำดับตำมเวลำ
2. ลำดับตำมสถำนที่
3. ลำดับจำกเหตุไปสู่ผล
4. ลำดับจำกผลไปสู่เหตุ
75. จำกข้อควำมข้ำงต้นกำรแสดงทรรศนะของผู้เขียนเกิดจำกข้อใด
1. ควำมรู้
2. ควำมเชื่อ
3. ค่ำนิยม
4. ประสบกำรณ์
76. ข้อใดเป็นโครงสร้ำงของกำรแสดงเหตุผลในข้อควำมต่อไปนี้
“ด้วยความที่ไข่ตุ๋นเป็นอาหารที่รับประทานได้ง่าย แถมยังทาง่าย ราคาถูก ที่สาคัญยังมีคุณค่าทาง
โภชนาการสูงอีกด้วย ไข่ตุ๋นจึงเป็นอาหารที่ทังเด็กและผู้ใหญ่ต่างก็ชอบรับประทาน”
1. ข้อสนับสนุน ข้อสรุป ข้อสนับสนุน
2. ข้อสนับสนุน ข้อสนับสนุน ข้อสรุป
3. ข้อสรุป ข้อสนับสนุน ข้อสรุป
4. ข้อสรุป ข้อสรุป ข้อสนับสนุน
77. ข้อควำมต่อไปนี้ใช้วิธีกำรเขียนสอดคล้องกับข้อใด
ถ้าเราออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ กินอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกาย ก็จะช่วยให้สุขภาพของเราสมบูรณ์
แข็งแรง ผิวพรรณผ่องใส และสามารถสร้างความมั่นใจในตนเองได้ดียิ่งขึน
1. เปรียบเทียบข้อดีข้อเสีย
2. ใช้ภำษำเร้ำใจ
3. ใช้เหตุผล
4. อ้ำงอิงหลักฐำน
78. กำรฟังในข้อใดมีจุดมุ่งหมำยแตกต่ำงจำกข้ออื่น
1. โก๊ะตี๋ฟังวิทยุรำยกำรเรื่องเล่ำเสำร์นี้
2. เรยำฟังถ่ำยทอดสดกำรอภิปรำยไม่ไว้วำงใจรัฐบำล
3. เด่นจันทร์ฟังเพลงในรำยกำรเพลงไพเรำะเสนำะโสต
4. ดี๋ฟังกำรอภิปรำยเรื่องละครไทยสู่ละครโลกได้จริงหรือ
17
79. กำรฟังในข้อใดเป็นกำรฟังเพื่อสำระและคติของชีวิตอย่ำงเด่นชัด
1. อัดฟังขับเสภำเรื่อง “ขุนช้ำง ขุนแผน”
2. แขกฟังรำยกำรเรื่อง “ท่องเที่ยวทั่วไทยให้สุขสันต์”
3. เฟย์ฟังรำยกำรวิทยุเรื่อง “เรำจะอยู่กับคนที่เรำไม่ชอบได้อย่ำงไร”
4. เบียร์ฟังเพื่อนเล่ำเรื่อง “นิทรรศกำรศิลปะกำรออกแบบเครื่องแต่งกำย”
80. สถำนกำรณ์ต่อไปนี้แสดงว่ำผู้ฟังมีสัมฤทธิผลในกำรฟังระดับใด
อาทิตย์ฟังรายการวิทยุ มีข้อความจากบันทึกของศรีบูรพาตอนหนึ่งว่า “ แม้เรามิได้เป็นดอกซากุระ
ก็อย่ารังเกียจที่ต้องเกิดเป็นบุปผาพันธุ์อื่นเลย ขอแต่ให้เป็นดอกที่งามที่สุดในพันธุ์ของเรา ภูเขาไฟฟูจี
มีอยู่ลูกเดียว แต่ภูเขาทังหลายก็หาไร้ค่าไม่ แม้มิได้เป็นซามูไรก็จงเป็นลูกสมุนของซามูไรเถิด เราจะเป็น
กัปตันกันหมดทุกคนไม่ได้ ด้วยว่าถ้าปราศจากลูกเรือแล้ว เราจะไปกันได้อย่างไร” หลังจากได้ฟังแล้ว
เขาบอกกับตนเองว่าผู้พูดต้องการให้คนเรามีทัศนคติที่ดีต่อบทบาทหน้าที่ของตนเหนือกว่าสิ่งใด
1. เข้ำใจจุดประสงค์ของผู้พูด
2. รับรู้ข้อควำมได้ครบถ้วน
3. บอกได้ว่ำสิ่งที่ฟังน่ำเชื่อถือ
4. ประเมินได้ว่ำสิ่งที่ฟังมีประโยชน์
81. “แว่วเสียงสาเนียงบุหรงร้อง ว่าเสียงสามนิ่มน้องเสน่หา
พระแย้มเยี่ยมม่านทัศนา เห็นแต่ป่าพุ่มไม้ใบบัง
เอนองค์ลงอิงพิงเขนย กรเกยก่ายพักตร์ถวิลหวัง
รสรักร้อนรนพ้นกาลัง ชลนัยน์ไหลหลั่งลงพรั่งพราย”
ข้อใดไม่สามารถอนุมำนได้จำกบทประพันธ์ข้ำงต้น
1. มีควำมเศร้ำจำกควำมรัก
2. มีควำมผิดหวังในควำมรัก
3. มีควำมลุ่มหลงในควำมรัก
4. มีควำมร้อนแรงในควำมรัก
82. ข้อใดมีเนื้อหำแสดงควำมคิดเห็น
1. อันเหล่ำศัตรูหมู่ร้ำย จงแพ้พ่ำยอย่ำรอต่อติด
2. เจ้ำจงยกพลขันธ์ไปบรรจบ สมทบทัพอิเหนำให้จงได้
3. ชะรอยเป็นบุพเพนิวำสำ เทวำอำรักษ์มำชักให้
4. กูก็ไม่ครั่นคร้ำมขำมใคร จะหักให้เป็นภัสม์ธุลีผง
18
83. ข้อใดให้จินตภำพแตกต่ำงจำกข้ออื่น
1. ตำยระดับทับกันดังฟอนฟำง เลือดนองท้องช้ำงเหลวไหล
2. ผงคลีมืดคลุ้มชอุ่มควัน รีบร้นพลขันธ์คลำไคล
3. ว่ำแล้วสองกษัตริย์ก็จัดทัพ พร้อมสรรพพหลพลขันธ์
4. พอได้ศุภฤกษ์ก็ลั่นฆ้อง ประโคมศึกกึกก้องท้องสนำม
84. บทประพันธ์ในข้อใดปรำกฏนำฏกำร
1. อันสุริยวงศ์เทวัญอสัญหยำ เรืองเดชเดชำชำญสนำม
ทั้งโยธีก็ชำนำญกำรสงครำม ลือนำมในชวำระอำฤทธิ์
2. ต่ำงมีฝีมืออื้ออึง วำงวิ่งเข้ำถึงอำวุธสั้น
ดำบสองมือโถมทะลวงฟัน เหล่ำกริชติดฟันประจัญรบ
3. กรุงกษัตริย์ขอขึ้นก็นับร้อย เรำเป็นเมืองน้อยกระจิหริด
ดังหิ่งห้อยจะแข่งแสงอำทิตย์ เห็นผิดระบอบบุรำณมำ
4. ใช่จะไร้ธิดำทุกธำนี มีงำมแต่บุตรีท้ำวดำหำ
พระองค์จงควรตรึกตรำ ไพร่ฟ้ำประชำกรจะร้อนนัก
85. จำกวรรณกรรมเรื่อง นิทำนเวตำล นักเรียนพิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้
“อนึ่งพระองค์ย่อมจะทราบคาถาซึ่งมูลเทวะบัณฑิตแต่งไว้ มีความว่า ชายผู้ไม่ใช่คนโง่ ไม่ยอมคืนสู่
เรือนซึ่งไม่มีนางที่รักผู้มีรูปงามคอยรับรองในขณะกลับถึงเรือนนัน” ข้อควำมข้ำงต้นใช้โวหำรแบบใด
1. สำธกโวหำร
2. อุปมำโวหำร
3. บรรยำยโวหำร
4. พรรณนำโวหำร
86. “จาใจจากแม่เปลือง ปลิดอก อรเอย
เยียวว่าแดเดียวยก แยกได้
สองซีกแล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่
ภาคพี่ไปหนึ่งไว้ แนบเนือนวลถนอม”
คำประพันธ์ข้ำงต้นมีลีลำในกำรแต่งสอดคล้องกับข้อใด
1. จึงบัญชำตรัสดัวยขัดเคือง ดูดู๋เจ้ำเมืองดำหำ
2. กูก็ไม่ครั่นคร้ำมขำมใคร จะหักให้เป็นภัสม์ธุลีลง
3. แล้วว่ำอนิจจำควำมรัก พึ่งประจักษ์ดั่งสำยน้ำไหล
4. ได้ฟังกริ้วโกรธดังเพลิงกัลป์ จึงกระชั้นสีหนำทประภำษไป
19
87. ข้อใดปรำกฏคำถำมเชิงวำทศิลป์
1. อำกำศจักจำรผจง จำรึก พอฤๅ
2. โฉมแม่หยำดฟ้ำแย้ม อยู่ร้อนฤๅเห็น
3. สุริยจันทรขจำย จำกโลก ไปฤๅ
4. กฤษณนิทรเลอหลัง นำคหลับ ฤๅพ่อ
88. “(ก)...พระองค์เสด็จเหาะตรงขึนสู่นภากาศ ประดุจจะยังธุลีละอองพระบาทให้เรี่ยราดลง...” และ
“(ข)...เมื่อตะวันฉายเงาไม้ มิได้บ่ายไปตามตะวัน บังกันพระองค์อยู่ดูประดุจพระกลด...”
บทประพันธ์ทั้งสองบทข้ำงต้นปรำกฏภำพพจน์แบบใดบ้ำง เรียงตำมลำดับ
1. (ก) อุปมำ (ข) อุปมำ
2. (ก) อุปมำ (ข) อติพจน์
3. (ก) อุปมำ (ข) อุปลักษณ์
4. (ก) ไม่ปรำกฏภำพพจน์ (ข) อุปมำ
89. “ฟานฝูงคณาเนือนิกรกวางดงดูนี่แดงดาษ หมู่ละมั่งระมาดระมัดกาย ชะมดฉมันหมายเม่นหมีหมู
หมู่กระทิงเถื่อน โคถึกเที่ยวทุรสถาน กาสรกาเลาะลานก็ลับเขาเข้าเคียงคู่ กระจงจามรีรู้ระวังขนมิให้ขาด
ระคาย กระรอกตุ่นกระแตกระต่ายก็ไต่เต้น เหล่าเหียเห็น ก็ระเห็จหาภักษา”
บทประพันธ์ข้ำงต้นปรำกฏสัตว์กี่ชนิด
1. จำนวน 20 ชนิด
2. จำนวน 21 ชนิด
3. จำนวน 22 ชนิด
4. จำนวน 23 ชนิด
90. “หวังเป็นเกือกทองรองบาทา พระผู้วงศ์เทวาอันปรากฏ
จะขอพระบุตรีมียศ ให้โอรสข้าน้อยดังจินดา
อันกรุงไกรไอศูรย์ทังสอง จะเป็นทองแผ่นเดียวไปวันหน้า
ขอพานักพักพึ่งพระเดชา ไปกว่าชีวันจะบรรลัย”
ข้อใดไม่ปรากฏน้ำเสียงในบทประพันธ์ข้ำงต้น
1. อ่อนน้อม
2. ยำเกรง
3. ถ่อมตน
4. ทะนงในศักดิ์ศรีของตน
20
91. “หนึ่งในพระทัยท่าน ก็เบิกบานคือดอกบัว
ราคี บ พันพัว สุวคนธกาจร”
ข้อใดกล่ำวถึงพระคุณของพระพุทธเจ้ำสอดคล้องกับบทประพันธ์ข้ำงต้น
1. สมญำโลกอุดรพิสดำร อันลึกโอฬำร
พิสุทธิ์พิเศษสุกใส
2. โดยเสด็จพระผู้ตรัสไตร ปัญญำผ่องใส
สะอำดและปรำศมัวหมอง
3. ชี้ทำงบรรเทำทุกข์ และชี้สุขเกษมสำนต์
ชี้ทำงพระนฤพำน อันพ้นโศกวิโยคภัย
4. พร้อมเบญจพิธจัก- ษุจรัสวิมลใส
เห็นเหตุที่ใกล้ไกล ก็เจนจบประจักษ์จริง
92. ข้อใดปรำกฏรสวรรณคดีต่ำงจำกข้ออื่น
1. สงสำรน้ำคำที่พร่ำสั่ง คิดถึงควำมหลังแล้วใจหำย
ครวญพลำงกำสรดระทดกำย แล้วคิดอำยพวกพลมนตรี
2. เอนองค์ลงอิงพิงเขนย กรเกยก่ำยพักตร์ถวิลหวัง
รสรักร้อนรนพ้นกำลัง ชลนัยน์ไหลหลั่งลงพรั่งพรำย
3. เมื่อนั้น สองระตูวิโยคโศกศัลย์
กอดศพเชษฐำเข้ำจำบัลย์ พิโรธร่ำรำพันโศกำ
4. เมื่อนั้น โฉมยงองค์ระเด่นจินตะหรำ
ค้อนให้ไม่แลดูสำรำ กัลป์ยำคั่งแค้นแน่นใจ
93. พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเอย
ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง
กระหม่ากระเหม่นทรวง สั่นซีด พักตร์นา
หนักหฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหรทาย ฯ
ข้อใดไม่ใช่อำรมณ์ควำมรู้สึกที่ปรำกฏในบทประพันธ์ข้ำงต้น
1. หนักใจ
2. พรั่นใจ
3. หวั่นใจ
4. ร้อนใจ
21
94. หวังเริ่มคุณเกียรติก้อง กลางรงค์
ยืนพระยศอยู่ยง คู่หล้า
สงครามกษัตริย์ทรง ภพแผ่น สองฤๅ
สองราชรอนฤทธิ์ร้า เรื่องรู้สรเสริญ
ข้อใดคือใจควำมสำคัญของบทประพันธ์ข้ำงต้น
1. กำรทำสงครำมครั้งนี้จะเป็นเกียรติยศแก่กษัตริย์ทั้งสอง
2. กำรทำสงครำมครั้งนี้ผู้คนจะพำกันสรรเสริญผู้ที่ชนะ
3. กษัตริย์ทั้งสองจะเป็นที่สรรเสริญของฝ่ำยตรงข้ำม
4. กษัตริย์ทั้งสองจะสู้กันอย่ำงทัดเทียม
95. “ข้าขอประนมหัตถ์ พระไตรรัตนนาถา ตรีโลกอมรมา อภิวาทนาการ อนึ่งข้าอัญชลี พระฤๅษีผู้ทรงญาณ
แปดองค์เธอมีฌาน โดยรอบรู้ในโรคา ไหว้คุณอิศวเรศ ทังพรหมเมศทุกชันฟ้า สาปสรรค์ซึ่งหว้านยา
ประทานทั่วโลกธาตรี ไหว้ครูกุมารภัจ ผู้เจนจัดในคัมภีร์ เวชศาสตรบรรดามี ให้ทานทั่วแก่นรชน ไหว้ครู
ผู้สั่งสอน แต่ปางก่อนเจริญผล ล่วงลุนิพพานดล สาเร็จกิจประสิทธิ์พร”
จำกบทประพันธ์ข้ำงต้นสะท้อนคุณธรรมใดในสังคมไทย
1. กตัญญู
2. เมตตำ
3. มุทิตำ
4. กรุณำ
96. “ถ้าเราจะสอนเขาทังหลายให้รู้สึกเกียรติยศแห่งการที่จะเป็นผู้เพาะความสมบูรณ์ให้แก่ประเทศ เช่น
ชาวนา ชาวสวน พ่อค้าช่างต่างๆ จะไม่ดีกว่าหรือ”
ข้อควำมข้ำงต้นใช้กลวิธีทำงวรรณศิลป์แบบใดเด่นชัดที่สุด และกลวิธีดังกล่ำวมีจุดมุ่งหมำยอย่ำงไร
ข้อ กลวิธีทางวรรณศิลป์ จุดมุ่งหมาย
1. ใช้กำรเปรียบเทียบ ย้ำให้จดจำ
2. ใช้ภำษำไพเรำะ มีควำมไพเรำะน่ำอ่ำน
3. ใช้ประโยคคำถำม กระตุ้นให้คิด
4. ใช้คำแสดงควำมรู้สึก ทำให้น่ำเชื่อถือ
22
97. “ท่านเชื่อหรือว่าพวกหนุ่มๆ ของเราจะทาประโยชน์ให้แก่บ้านเมือง โดยทางเสมียนมากกว่าทางอื่นๆ
ได้อย่างไร ถ้าไม่อุดหนุนจานวนที่จาเพาะสิ่งของนันๆ ขึน?”
ข้อควำมข้ำงต้นคำว่ำ “เพำะ” มีควำมหมำยในลักษณะใด และมีควำมหมำยว่ำอย่ำงไร
ข้อ ลักษณะความหมาย ความหมาย
1. ควำมหมำยตรง ทำให้งอก
2. ควำมหมำยตรง ส่งเสริม
3. ควำมหมำยแฝง ปลูก
4. ควำมหมำยแฝง ทำให้เกิด
98. บทประพันธ์ในข้อใดปรำกฏโวหำรภำพพจน์
1. เพียนทองงำมดั่งทอง ไม่เหมือนน้องห่มตำดพรำย
2. กระแหแหห่ำงชำย ดั่งสำยสวำทคลำดจำกสมร
3. แก้มช้ำช้ำใครต้อง อันแก้มน้องช้ำเพรำะชม
4. ปลำทุกทุกข์อกตรม เหมือนทุกพี่ที่จำกนำง
99. เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร
ทุทาสสถุลฉะนีไฉน ก็มาเป็น
ศึกบถึงและมึงก็ยังมิเห็น
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ปรากฏในบทประพันธ์ข้ำงต้น
1. รุทธรส
2. พิโรธวำทัง
3. กำรใช้ภำพพจน์
4. คำถำมเชิงวำทศิลป์
100. พอทรงจบแจ้งพระทัยในข้อหา ก็โกรธาเคืองขุ่นหุนหัน
มันเคี่ยวเข็ญทาเป็นอย่างไรกัน อีวันทองคนเดียวไม่รู้แล้ว
ข้อใดสอดคล้องกับบทประพันธ์ข้ำงต้น
1. อุปมำ
2. นำมนัย
3. อุปลักษณ์
4. ปฏิปุจฉำ
23
ชุดที่ 2 ข้อสอบ O-NET วิชา ภาษาไทย ม.ปลาย 2552
แบบระบำยตัวเลือก แต่ละข้อมีคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
จำนวน 100 ข้อ : ข้อละ 1 คะแนน
ใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคำถำม ข้อ 1-5
ก. โบรำณว่ำเป็นข้ำจอมกษัตริย์
ข. รำชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษำ
ค. ท่ำนกำหนดจดไว้ในตำรำ
ง. มีมำแต่โบรำณช้ำนำนครัน
1. ข้อใดมีเสียงสระประสม
1. ข้อ ก
2. ข้อ ข
3. ข้อ ค
4. ข้อ ง
2. ข้อใดมีคำที่ออกเสียงอักษรควบ
1. ข้อ ก
2. ข้อ ข
3. ข้อ ค
4. ข้อ ง
3. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
1. ข้อ ก
2. ข้อ ข
3. ข้อ ค
4. ข้อ ง
4. ข้อใดมีอักษรต่ำน้อยที่สุด (ไม่นับอักษรที่ซ้ำกัน)
1. ข้อ ก
2. ข้อ ข
3. ข้อ ค
4. ข้อ ง
ปีการศึกษา
24
5. ข้อใดมีอักษรนำ
1. ข้อ ก และ ข
2. ข้อ ข และ ค
3. ข้อ ค และ ง
4. ข้อ ง และ ก
6. คำในข้อใดมีตัวสะกดมำตรำเดียวกับ “เหตุผล” ทุกคำ
1. พุดตำน ถอดถอน มลพิษ
2. มดเท็จ คิดสั้น จัดกำร
3. ผลัดเวร บทกลอน โทษทัณฑ์
4. สวดมนต์ จุดอ่อน ทรัพย์สิน
7. คำซ้ำในข้อใดต้องใช้เป็นคำซ้ำเสมอ
1. คนงำนใหม่ขยันเป็นพักๆ เอำแน่ไม่ได้
2. นักเรียนอนุบำลหกล้มหัวเข่ำแตก เลือดไหลซิบๆ
3. งำนนี้ถึงจะได้เงินเดือนน้อย ก็ทำไปพลำงๆ ก่อนแล้วกัน
4. ถ้ำเรำวำงแผนให้ดีตั้งแต่แรกๆ โครงกำรนี้ก็คงสำเร็จไปแล้ว
8. ข้อใดเป็นคำซ้อนทุกคำ
1. ซ้ำซ้อน ซ่อนรูป ซักฟอก
2. ถ่องแท้ ถี่ถ้วน ถำกถำง
3. บีบคั้น เบียดเบียน เบำควำม
4. แปรผัน เป่ำหู โปรยปรำย
9. ข้อควำมต่อไปนี้ส่วนใดมีคำประสมทั้ง 2 ส่วน
1) บริเวณสวนกว้ำงขวำง / 2) มีสนำมที่ได้รับกำรดูแลจำกเทศบำลเมือง / 3) มีประติมำกรรมเป็นรูป
เทพธิดำแสนงำม / 4) มุมหนึ่งมีนำฬิกำแดดคอยบอกเวลำ
1. ส่วนที่ 1 และ 4
2. ส่วนที่ 2 และ 3
3. ส่วนที่ 1 และ 3
4. ส่วนที่ 2 และ 4
10. ข้อใดมีคำประสมทุกคำ
1. คำขำด คำคม คำรำม
2. เดินแต้ม เดินรถ เดินสะพัด
3. น้ำป่ำ น้ำไหล น้ำมือ
4. ติดลม ติดใจ ติดขัด
25
11. ข้อใดไม่มีคำสมำส
1. วิสุทธโยธำมำตย์เจ้ำ กรมขวำ
2. หนึ่งชื่อรำชโยธำ เทพซ้ำย
3. ตำแหน่งศักดิ์ยศถำ เสถียรที่
4. คุมพยุหยำตรำย้ำย ย่ำงเข้ำตำมสถำน
12. ข้อใดมีคำสมำสที่มีกำรสร้ำงคำต่ำงกับข้ออื่น
1. ขับคเชนทร์สำวก้ำว ส่ำยเสื้องเทำทำง
2. สถำนที่พุทธบำทสร้ำง สืบไว้แสวงบุญ
3. สุธำรสรับพระเต้ำ เครื่องต้นไปตำม
4. โดยเสด็จดำเนินแคล้ว คลำดคล้อยบทจร
13. ข้อใดสะกดถูกทุกคำ
1. เขำกินอำหำรมังสวิรัติทุกวันพุธมำสำมปีแล้ว
2. ที่ปำกทำงเข้ำหมู่บ้ำนมียำมรักษำกำรอยู่ตลอดเวลำ
3. คนที่ซื้อทองรูปพรรณต้องจ่ำยเงินค่ำกำเหน็จด้วย
4. เพื่อนเห็นเขำนั่งหลับจึงถำมว่ำเข้ำฌำนถึงชั้นไหนแล้ว
14. ข้อใดมีคำสะกดผิด
1. ดำวพระศุกร์ที่เห็นในเวลำเช้ำมืดเรียกว่ำดำวประกำยพรึก
2. ในสวนสำธำรณะมีคนมำออกกำลังกำยกันอยู่ประปรำย
3. กระบะที่ลงรักแบบญี่ปุ่นและจีนเรียกว่ำเครื่องกำมะลอ
4. ในภำวะเศรษฐกิจตกต่ำทุกครอบครัวต้องกระเบียดกระเสียน
ใช้ข้อควำมในพจนำนุกรมต่อไปนี้ตอบคำถำม ข้อ 15-16
จวัก [จะหฺวัก] น. เครื่องใช้ตักแกงหรือตักข้ำว ทำด้วยกะลำมะพร้ำว มีด้ำมถือ, กระจ่ำ
จ่ำ หรือ ตวัก ก็ว่ำ.
จอ 1 น. ชื่อปีที่ 11 ของรอบปีนักษัตร มีหมำเป็นเครื่องหมำย.
จอ 2 น. ผ้ำขำวที่ขึงไว้สำหรับเชิดหนังหรือฉำยภำพยนตร์ เป็นต้น; โดยปริยำยเรียกสิ่ง
ที่มีลักษณะคล้ำยคลึงเช่นนั้น เช่น จอโทรทัศน์.
จ่อ 1 ก. เอำสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ำไปใกล้หรือเกือบจดสิ่งอื่น เช่น เอำยำดมจ่อจมูก; มุ่งอยู่
เฉพำะกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักใช้เข้ำคู่กับคำ จด เป็น จดจ่อ เช่น เขำมีใจจดจ่อกับงำน.
จ่อคิว (ปำก) ว. ใกล้ถึงลำดับที่จะได้หรือจะเป็น เช่น เขำจ่อคิวขึ้นเป็นหัวหน้ำ.
จ่อ 2 (ถิ่น-อีสำน) น. ภำชนะสำนชนิดหนึ่ง รูปร่ำงอย่ำงกระด้ง มีไส้สำนเป็นช่องโค้ง
อยู่ภำยใน ใช้เลี้ยงตัวไหม.
26
15. มีคำที่เป็นคำตั้งหรือแม่คำกี่คำ
1. 3 คำ
2. 4 คำ
3. 5 คำ
4. 6 คำ
16. มีคำที่ระบุว่ำใช้เฉพำะแห่งกี่คำ
1. 1 คำ
2. 2 คำ
3. 3 คำ
4. 4 คำ
17. คำภำษำอังกฤษในข้อใดใช้คำไทยแทนไม่ได้
1. จินดำทำข้อสอบหลำยวิชำจนรู้สึกเบลอร์ไปหมด
2. จิตรำเป็นดีไซเนอร์ประจำห้องเสื้อที่มีชื่อเสียง
3. จินตนำไปหำหมอเพื่อใช้แสงเลเซอร์รักษำผิวหน้ำ
4. จิตรลดำเป็นวิสัญญีแพทย์ระดับอินเตอร์ของโรงพยำบำลนี้
18. ข้อใดเป็นคำศัพท์บัญญัติจำกคำภำษำอังกฤษทุกคำ
1. จุลทรรศน์ จุลินทรีย์ จุลกฐิน
2. สังคม สังเครำะห์ สังโยค
3. สมมำตร สมมุติฐำน สมเพช
4. วิกฤตกำรณ์ วิจัย วิสัยทัศน์
19. ข้อใดไม่มีคำยืมภำษำบำลีสันสกฤต
ก. วันจะจรจำกน้องสิบสองค่ำ
ข. พอจวนย่ำรุ่งเร่งออกจำกท่ำ
ค. รำลึกถึงดวงจันทร์ครรไลลำ
ง. พี่ตั้งตำแลแลตำมแพรำย
1. ข้อ ก และ ข
2. ข้อ ก และ ค
3. ข้อ ข และ ง
4. ข้อ ค และ ง
27
20. ข้อใดใช้คำลักษณนำมไม่ถูกต้อง
1. เขำสำมำรถปฏิบัติตำมเงื่อนไขของหน่วยงำนได้ครบทุกข้อ
2. นักวิชำกำรเสนอข้อคิดเห็นไว้ในบทสรุปของรำยงำนหลำยประกำร
3. รัฐบำลมีปัญหำเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไขหลำยเรื่อง
4. คณะกรรมกำรกำลังพิจำรณำคำขวัญที่ส่งเข้ำประกวด 50 บท
21. ข้อควำมต่อไปนี้มีบุพบทและสันธำนกี่คำ
คนไทยสมัยโลกำภิวัตน์ได้เปรียบคนไทยรุ่นก่อนในด้ำนที่มีควำมรู้กว้ำงขวำง เพรำะสำมำรถแสวงหำ
ควำมรู้ได้จำกแหล่งต่ำงๆ ทั้งหนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์
1. บุพบท 1 คำ สันธำน 3 คำ
2. บุพบท 2 คำ สันธำน 3 คำ
3. บุพบท 1 คำ สันธำน 4 คำ
4. บุพบท 2 คำ สันธำน 4 คำ
22. ข้อควำมต่อไปนี้มีคำนำมและคำกริยำหลักอย่ำงละกี่คำ (ไม่นับคำซ้ำ)
กำรกู้ยืมจะมีประโยชน์ต่อเมื่อเงินที่กู้มำนั้นใช้อย่ำงมีคุณภำพและสร้ำงรำยได้ เพื่อเพิ่มต้นทุนของเงิน
จำนวนนั้น
1. นำม 4 คำ กริยำ 3 คำ
2. นำม 5 คำ กริยำ 4 คำ
3. นำม 6 คำ กริยำ 5 คำ
4. นำม 7 คำ กริยำ 6 คำ
23. ข้อใดเป็นประโยคควำมเดียว
1. เครื่องปั้นดินเผำก่อนประวัติศำสตร์ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลกคือเครื่องปั้นดินเผำที่บ้ำนเชียง
2. เครื่องปั้นดินเผำที่บ้ำนเชียงส่วนใหญ่เป็นหม้อลำยเขียนสีรูปวงกลมม้วนคล้ำยลำยก้นหอย
3. หลักฐำนทำงโบรำณคดีแสดงว่ำบ้ำนเชียงเป็นแหล่งอำรยธรรมสำคัญในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
4. คณะกรรมกำรมรดกโลกประกำศให้แหล่งโบรำณคดีบ้ำนเชียงเป็นมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2535
24. ข้อใดไม่ใช่ประโยคควำมซ้อน
1. คนไทยนิยมทำอำหำรตำมฤดูกำลซึ่งสอดคล้องกับธรรมชำติ
2. ปลำยฤดูฝนต้นฤดูหนำว อำกำศที่เปลี่ยนแปลงทำให้คนเป็นไข้หวัด
3. เย็นนี้แม่บ้ำนจะทำแกงส้มดอกแคและผัดผักรวม
4. เชื่อกันว่ำกำรรับประทำนแกงร้อนๆ จะช่วยแก้ไข้หวัดในระยะเปลี่ยนฤดูได้
28
25. ข้อใดไม่ใช่ประโยค
1. กำรดำเนินงำนธุรกิจหรือกำรประกอบอำชีพต้องมีควำมพอเพียง
2. เศรษฐกิจพอเพียงมิได้จำกัดเฉพำะเกษตรกรหรือชำวไร่ชำวนำเท่ำนั้น
3. เกษตรทฤษฎีใหม่เป็นระบบเศรษฐกิจที่เน้นให้เกษตรกรสำมำรถดูแลตัวเองได้
4. กำรบริหำรจัดกำรเศรษฐกิจที่ทำให้คนสำมำรถดูแลตัวเองให้อยู่ได้โดยไม่เดือดร้อน
26. ข้อใดมีน้ำเสียงเชิงตำหนิ
1. ผู้จัดกำรบริษัทนำเที่ยวบริหำรงำนจนใครๆ ยกนิ้วให้
2. ชำวบ้ำนรู้ตื้นลึกหนำบำงเป็นอย่ำงดีว่ำเขำร่ำรวยเพรำะอะไร
3. ไม่ว่ำแม่จะถำมควำมเห็นกี่ครั้ง ลูกสำวก็ยังยืนคำเหมือนเดิม
4. เวลำจะไปพักผ่อนต่ำงจังหวัด คุณแม่ก็จัดแจงจองที่พักล่วงหน้ำ
27. คำทุกคำในข้อใดใช้ได้ทั้งควำมหมำยตำมตัวและควำมหมำยเชิงอุปมำ
1. ปีนเกลียว ปิดฉำก ถูกขำ
2. ปิดตำ เฝ้ำไข้ เปลี่ยนมือ
3. วำงใจ เป่ำปี่ แก้เคล็ด
4. ปั่นหัว กินตะเกียบ ลงคอ
28. ข้อใดใช้คำถูกต้อง
1. เธอได้รับคำชมว่ำทำงำนเก่งมำกจนใครๆ ยกมือให้
2. กำรแสดงดนตรีกว่ำจะยกเลิกก็เกือบสองทุ่ม
3. ผู้มีรำยได้ต่ำได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภำษีเงินได้
4. ผู้ต้องขังที่มีควำมประพฤติดีจะได้รับกำรยกโทษลงครึ่งหนึ่ง
29. ข้อใดใช้คำฟุ่มเฟือย
1. ทหำรในขบวนสวนสนำมเดินอกผำยไหล่ผึ่ง
2. คุณยำยขอให้ฉันกับญำติที่บุกรุกที่ดินเลิกแล้วต่อกัน
3. ฉันต้องทนฟังเขำชี้แจงเหตุผลแม้จะไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย
4. พ่อแม่ชื่นชมปีติยินดีที่ลูกสำวสำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำเอก
30. ข้อใดใช้ภำษำกำกวม
1. เด็กข้ำงบ้ำนวิ่งชนฉันหกล้มปำกแตก
2. คนขับรถถูกสั่งพักงำนฐำนละเลยหน้ำที่
3. ก๋วยเตี๋ยวปลำแบบโบรำณในซอยนี้มีหลำยร้ำน
4. พวงมำลัยแบบนี้แม่ค้ำขำยฉันพวงละ 10 บำท
29
31. สำนวนในข้อใดเหมำะสมที่จะเติมในช่องว่ำงของข้อควำมต่อไปนี้
พวกเรำทำรำยงำนกันแทบตำย ส่วนเธอไม่ช่วยทำอะไรเลยแม้แต่จะหำข้อมูล พอเสร็จแล้วจะมำ
....................... ขอลงชื่อว่ำทำกลุ่มเดียวกับเรำได้อย่ำงไร
1. เก็บดอกไม้ร่วมต้น
2. เก็บเบี้ยใต้ถุนร้ำน
3. ตกกระไดพลอยโจน
4. ชุบมือเปิบ
32. สำนวนในข้อใดไม่เกี่ยวกับกำรพูด
1. พอก้ำวขำก็ลำโรง
2. ละเลงขนมเบื้องด้วยปำก
3. ไปไหนมำสำมวำสองศอก
4. น้ำร้อนปลำเป็น น้ำเย็นปลำตำย
33. ข้อควำมต่อไปนี้ส่วนใดใช้ภำษำต่ำงระดับกับส่วนอื่น
1) สัตว์หลำยชนิดมีประสำทสัมผัสพิเศษที่สำมำรถรับรู้ภัยธรรมชำติล่วงหน้ำได้ / 2) ฝูงมดที่กรูเกรียว
กันขึ้นมำจำกพื้นดินบอกให้เรำรู้ว่ำฝนจะตกหนักในไม่ช้ำนี้ / 3) ถ้ำฝูงแมลงสำบพำกันไต่ออกมำจำกที่ซ่อน
วิ่งพล่ำนไปทุกทิศทุกทำง / 4) เป็นสัญญำณว่ำจะมีพำยุและฝนฟ้ำคะนองตำมมำแน่ๆ
1. ส่วนที่ 1
2. ส่วนที่ 2
3. ส่วนที่ 3
4. ส่วนที่ 4
34. ข้อใดใช้ภำษำต่ำงระดับกับข้ออื่น
1. โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังอักเสบเป็นโรคที่เกิดขึ้นแก่เด็กมำกกว่ำผู้ใหญ่
2. ในตอนแรกนี้ คุณหมอขอกล่ำวถึงเรื่องของผิวหนังแห้งก่อนครับ
3. ลูกน้อยควรจะใช้ครีมที่มีควำมเข้มข้น ไม่ใช้โลชั่นซึ่งผสมน้ำมำก
4. น้องหนูต้องใช้ครีมบำรุงผิวทันทีหลังอำบน้ำ ไม่เช่นนั้นผิวน้องหนูจะแห้งยิ่งขึ้น
35. ข้อใดไม่ใช้สำนวนภำษำต่ำงประเทศ
1. ในสภำวะปัจจุบันพบว่ำโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ปรำกฏในกลุ่มคนอำยุ 35-45 ปี มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี
2. โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ จึงไม่ได้เป็นโรคที่เกิดแก่ผู้สูงอำยุอีกต่อไป
3. ในกรณีของหลอดเลือดหัวใจที่ยังตีบไม่มำก เรำอำจไม่รู้สึกอำกำรใดๆ เลย
4. บ่อยครั้งที่อำกำรต่ำงๆ จะเกิดขึ้นต่อเมื่อหลอดเลือดหัวใจตีบไปสูงกว่ำ 70% ขึ้น
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)

More Related Content

What's hot

1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)nunrutchadaphun
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทยSiwadolChaimano
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0sincerecin
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0Supisara Jaibaan
 
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)teerachon
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 
ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51Kanchana Daoart
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fUnity' Aing
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3Nanapawan Jan
 
ติว O net วิชา ภาษาไทย โดยครูเจริญ
ติว O  net วิชา ภาษาไทย โดยครูเจริญติว O  net วิชา ภาษาไทย โดยครูเจริญ
ติว O net วิชา ภาษาไทย โดยครูเจริญPhasu Wichitchon
 
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารSimilun_maya
 
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1Wangkaew
 
ข้อสอบO netไทย ม.๓
ข้อสอบO netไทย ม.๓ข้อสอบO netไทย ม.๓
ข้อสอบO netไทย ม.๓teera11
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑panjit
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยRuangrat Watthanasaowalak
 

What's hot (19)

1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
 
ข้อสอบ ไทย
ข้อสอบ ไทยข้อสอบ ไทย
ข้อสอบ ไทย
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3
 
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทยข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
 
ติว O net วิชา ภาษาไทย โดยครูเจริญ
ติว O  net วิชา ภาษาไทย โดยครูเจริญติว O  net วิชา ภาษาไทย โดยครูเจริญ
ติว O net วิชา ภาษาไทย โดยครูเจริญ
 
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
 
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
 
ข้อสอบO netไทย ม.๓
ข้อสอบO netไทย ม.๓ข้อสอบO netไทย ม.๓
ข้อสอบO netไทย ม.๓
 
Thai onet[1]
Thai onet[1]Thai onet[1]
Thai onet[1]
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
 

Similar to 1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)

1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทยSiwadolChaimano
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0SasipraphaTamoon
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทยSiwadolChaimano
 
แนวข้อสอบ ภาษาไทย
แนวข้อสอบ ภาษาไทยแนวข้อสอบ ภาษาไทย
แนวข้อสอบ ภาษาไทยnookkiss123
 
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.Tortortor Gozillaa
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทยWiranchana Tama
 
โควต้า มช. ภาษาไทย
โควต้า มช. ภาษาไทยโควต้า มช. ภาษาไทย
โควต้า มช. ภาษาไทยWarothai Jaiwanna
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51Prechaya Kham
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51Prechaya Kham
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51Prechaya Kham
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูดareemarketing
 

Similar to 1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6) (20)

1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย
 
แนวข้อสอบ ภาษาไทย
แนวข้อสอบ ภาษาไทยแนวข้อสอบ ภาษาไทย
แนวข้อสอบ ภาษาไทย
 
Onet thai
Onet thaiOnet thai
Onet thai
 
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
โควต้า มช. 51 -ภาษาไทย.
 
m3thai51
m3thai51m3thai51
m3thai51
 
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
โควต้า มช. ภาษาไทย
โควต้า มช. ภาษาไทยโควต้า มช. ภาษาไทย
โควต้า มช. ภาษาไทย
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
ภาษาไทย โควตา51
ภาษาไทย โควตา51ภาษาไทย โควตา51
ภาษาไทย โควตา51
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
 
Korat
KoratKorat
Korat
 

More from teerachon

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 

More from teerachon (20)

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 

1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.6)

  • 1. 1 ชุดที่ 1 แนวข้อสอบ O-NET วิชา ภาษาไทย ม.ปลาย คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. โอ้อกเรามีกรรมทาไฉน จึงจะได้แนบชิดขนิษฐา คำที่ขีดเส้นใต้อ่ำนอย่ำงไรจึงจะไพเรำะ 1. อ่ำนทอดเสียงแล้วปล่อยให้หำงเสียงผวนขึ้นจมูก 2. อ่ำนครั่นเสียงให้น้ำเสียงติดขัดสะเทือนอำรมณ์ 3. อ่ำนเปลี่ยนเสียงจำกเสียงต่ำขึ้นไปเสียงสูง 4. อ่ำนหลบเสียงจำกเสียงสูงลงไปเสียงต่ำ 2. ข้อใดอ่ำนจังหวะวรรคตอนได้ถูกต้อง 1. ทั้งองค์/ฐำนรำนร้ำวถึง/เก้ำแฉก เผยอแยกยอด/ทรุดก็/หลุดหัก 2. โอ้เจดีย์/ที่สร้ำงยัง/ร้ำง/รัก เสียดำยนัก/นึกน่ำน้ำตำ/กระเด็น 3. กระนี้หรือ/ชื่อเสียง/เกียรติยศ จะมิหมด/ล่วงหน้ำ/ทันตำเห็น 4. เป็นผู้ดีมี/มำกแล้ว/ยำกเย็น คิดก็เป็น/อนิจจังเสีย/ทั้งนั้น 3. ยูงทองร้องกะโต้งโห่งดัง เพียงฆ้องกลองระฆัง แตรสังข์กังสดาลขานเสียง คำประพันธ์ข้ำงต้นต้องอ่ำนตำมข้อใด 1. ยูงทองร้อง/กะโต้งโห่งดัง เพียงฆ้อง/กลองระฆัง// แตรสังข์/กังสดำลขำนเสียง// 2. ยูงทอง/ร้องกะโต้ง/โห่งดัง เพียงฆ้อง/กลอง/ระฆัง// แตรสังข์/กังสดำล/ขำนเสียง// 3. ยูงทอง/ร้องกะโต้งโห่งดัง เพียงฆ้อง/กลองระฆัง// แตรสังข์/กังสดำลขำนเสียง// 4. ยูงทอง/ร้องกะโต้งโห่งดัง เพียงฆ้อง/กลองระฆัง// แตรสังข์/กังสดำล/ขำนเสียง//
  • 2. 2 4. คำประพันธ์ในข้อใดมิได้แสดงอำรมณ์เกรี้ยวกรำดกระแทกน้ำเสียง 1. เอออุเหม่อิลลำชะล่ำไฉน ประพำสบ่เกรงบ่กลัวกระทำ อุกอำจ อหังกำร์ 2. เรำนี่แหละจะสำปจะสรรให้สำแก่ใจ นะเจ้ำแน่ะนำงอิลลำ จะทำไฉน 3. แสงสกำววิโรจน์นภำประจักษ์ แฉล้มเฉลำและโสภิตนัก ณ ฉันใด 4. กลกะกำกะหวำดขมังธนู บห่อนจะเห็นธวัชริปู สิล่ำถอย 5. ขุนผู้คู่กากับ เป็นเทพหลังพรั่งพฤนท์ ขี่คชินทรพาหนะ นามชนะจาบัง ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรอ่ำนร่ำย 1. อ่ำนคำส่งสัมผัส “พฤนท์” ว่ำ พริน 2. อ่ำนคำส่งสัมผัส “พฤนท์” ว่ำ พะรึน 3. อ่ำนคำรับสัมผัส “คชินทร” ว่ำ คะ-ชิน-ทอน 4. อ่ำนคำรับสัมผัส “คชินทร” ว่ำ คะ-ชิน-ทะ-ระ 6. พำดหัวข่ำวหนังสือพิมพ์ข้อใดเน้นกำรนำเสนอเฉพำะข้อเท็จจริง 1. โทรทัศน์ดำวเทียมเข้ำถึงง่ำย ผู้ประกอบกำรอ้ำอึ้ง คิดต่ำงจำก กสทช. 2. แอร์ นิวซีแลนด์ ยกเลิกเที่ยวบินหลำยสำยหลังภูเขำไฟยังคงปะทุ 3. กฟผ. แจงเครียด คำดปี 56 ควำมต้องกำรไฟฟ้ำเพิ่ม 3.5 % 4. ธุรกิจล่องเรือเจ้ำพระยำพุ่งกระฉูด เงินสะพัด 700 ล้ำน 7. ไข่ตุ๋นเป็นอาหารที่ทาจากไข่ตีกับนาหรือนาซุป ปรุงรสให้ออกเค็มเล็กน้อย และใส่เครื่องต่างๆ ตามใจชอบ นึ่งให้สุก รับประทานกับข้าว หรือจะรับประทานเปล่าๆ ร้อนๆ ก็คล่องคอดี ข้อใดไม่ปรำกฏในข้อควำมข้ำงต้น 1. รสชำติไข่ตุ๋น 2. วิธีทำไข่ตุ๋น 3. วิธีรับประทำนไข่ตุ๋น 4. ประโยชน์ของไข่ตุ๋น
  • 3. 3 8. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นที่ต้องพิจำรณำในกำรอ่ำนเพื่อให้ทรำบเรื่องรำว 1. ตัวละครในเรื่องคือใครบ้ำง และมีลักษณะนิสัยอย่ำงไร 2. บทสนทนำของตัวละครในเรื่องมีลักษณะเด่นอย่ำงไร 3. กำรกระทำของตัวละครทำให้เกิดผลอะไรตำมมำ 4. ตัวละครแต่ละตัวได้กระทำสิ่งใดบ้ำง 9. ข้อใดใช้ภำษำต่ำงจำกข้ออื่น 1. น้ำฝนกวำดผืนพสุธำใหม่จนไม่เหลือฝุ่น 2. นกเป็นร้อยๆ เริ่มร้องเพลงเพรียกอยู่ตำมยอดไม้ 3. กำรเกิดใหม่ของพฤกษำทำให้โลกนี้เป็นอุทยำนสีเขียว 4. กระรอกตกใจกระโดดโหยงๆ เขย่ำกิ่งไม้เหนือหัวทำลูกไม้ป่ำหล่น 10. ข้อใดใช้บรรยำยโวหำร 1. อยู่ๆ มีเสียงพึบพับจำกทำงด้ำนขวำรำวกับใครสะบัดผ้ำผืนใหญ่ 2. ผมก็ตำค้ำง ตั้งท่ำจะวิ่งกลับไปหำแม่ที่เดินใกล้เข้ำมำ 3. ใบกล้วยนั้นกำลังโยกซ้ำยย้ำยขวำ พลิกใบไปมำ 4. รองเท้ำใหม่ส่งเสียงกับๆ ก้องไปในรำวป่ำ 11. ข้อใดใช้ภำษำสอดคล้องกับลักษณะกำรเขียนย่อควำมมำกที่สุด 1. พี่กุ้งสบตำพี่กอล์ฟไม่วำงตำ 2. เธอเป็นคนสวยอย่ำงร้ำยกำจ 3. ปิ๊กชงกำแฟได้อร่อยเลิศล้ำ 4. เขำไปลอยกระทงกับเพื่อนๆ 12. ...จึงเรียนเชิญท่านเป็นวิทยากรเพื่อแสดงปาฐกถา เรื่อง “การใช้ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน” แก่สมาชิกชมรมวิชาภาษาไทย... ข้อใดกล่ำวถึงลักษณะเนื้อควำมในจดหมำยได้ถูกต้องที่สุด 1. ส่งข่ำวเหตุกำรณ์ 2. ขอควำมร่วมมือ 3. มีเรื่องปรึกษำ 4. สมำนไมตรี
  • 4. 4 13. กำรเขียนจดหมำยกิจธุระในข้อใดใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้ำยได้ถูกต้องเหมำะสมกับสถำนภำพของผู้รับ ข้อ ผู้รับ คาขึ้นต้น คาลงท้าย 1. พระภิกษุ นมัสกำร ด้วยควำมเคำรพอย่ำงสูง 2. คุณครู กรำบเท้ำ ด้วยควำมเคำรพ 3. วิทยำกรพิเศษ เรียน ขอแสดงควำมนับถือ 4. คุณปู่ กรำบเท้ำ ขอแสดงควำมนับถือ 14. ข้อใดกล่ำวถึงลักษณะกำรใช้ภำษำในกำรเขียนเรียงควำม ย่อควำม และจดหมำยไม่ถูกต้องที่สุด 1. กำรเขียนเรียงควำมควรใช้ภำษำที่สั้นกระชับและได้ใจควำม 2. เรียงควำมสำมำรถใช้โวหำรแบบพรรณนำโวหำรได้ 3. กำรเขียนย่อควำมเน้นกำรพรรณนำเช่นเดียวกับกำรเขียนเรียงควำม 4. กำรเขียนจดหมำยส่วนตัวสำมำรถใช้ภำษำระดับไม่เป็นทำงกำรได้ 15. ถ้ำนักเรียนมีควำมจำเป็นต้องกรอกข้อควำมลงในแบบรำยกำร นักเรียนควรจะทำสิ่งใดก่อนเป็นอันดับแรก 1. กรอกข้อมูลตำมควำมเป็นจริง 2. อ่ำนข้อควำมในแบบแสดงรำยกำรให้เข้ำใจ 3. เลือกถ้อยคำที่กะทัดรัด เพื่อให้ตรงตำมจุดมุ่งหมำยของแบบรำยกำร 4. ปฏิบัติตำมข้อบังคับหรือคำแนะนำในกำรกรอกแบบรำยกำรนั้นๆ อย่ำงเคร่งครัด 16. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในกำรกรอกแบบรำยกำรสัญญำ 1. กรอกข้อควำมอย่ำงละเอียด 2. อ่ำนแบบรำยกำรสัญญำอย่ำงละเอียด 3. ปรึกษำผู้รู้ก่อนกรอกแบบรำยกำรสัญญำ 4. ลงลำยมือชื่อในแบบรำยกำรที่ไม่ได้กรอกข้อควำมครบถ้วน 17. ข้อใดแสดงควำมสัมพันธ์ที่ไม่เหมาะสมระหว่ำงผู้ฟังกับผู้พูด 1. จับตำมองผู้พูดตลอดเวลำ 2. ปรบมือให้กำลังใจผู้พูด 3. แสดงควำมเข้ำใจผ่ำนทำงสีหน้ำ 4. ซักถำมผู้พูดเกี่ยวกับข้อสงสัยต่ำงๆ ตลอดเวลำ
  • 5. 5 18. ข้อควำมต่อไปนี้มีจุดมุ่งหมำยในกำรพูดสอดคล้องกับข้อใดมำกที่สุด ข้าพเจ้าใคร่จะกล่าวแก่ทุกท่านว่า การทานุบารุงประเทศชาตินันมิใช่เป็นหน้าที่ของผู้หนึ่งผู้ใด โดยเฉพาะ หากเป็นภาระความรับผิดชอบของคนไทยทุกคนที่จะต้องขวนขวายกระทาหน้าที่ของตน ให้ดีที่สุด เพื่อธารงรักษาชาติบ้านเมืองให้เจริญมั่นคงและผาสุกร่มเย็น 1. เป็นกำรเร้ำควำมรู้สึก 2. บอกเรื่องรำวที่ควรรู้แก่ผู้ฟัง 3. สร้ำงควำมบันเทิงสนุกสนำน 4. เป็นกำรทำให้ผู้ฟังเชื่อด้วยเหตุผล 19. ข้อควำมต่อไปนี้ไม่สอดคล้องกับกำรพูดในโอกำสใด ข้าพเจ้าใคร่จะกล่าวแก่ทุกท่านว่า การทานุบารุงประเทศชาตินันมิใช่เป็นหน้าที่ของผู้หนึ่งผู้ใด โดยเฉพาะ หากเป็นภาระความรับผิดชอบของคนไทยทุกคนที่จะต้องขวนขวายกระทาหน้าที่ของตน ให้ดีที่สุด เพื่อธารงรักษาชาติบ้านเมืองให้เจริญมั่นคงและผาสุกร่มเย็น 1. กำรกล่ำวปำฐกถำ หัวข้อ “ปรำบทุจริต ล้มคอรัปชัน” 2. กำรกล่ำวเปิดงำนโครงกำร “มุมมองและทิศทำงกำรท่องเที่ยว” 3. กำรกล่ำวสุนทรพจน์ หัวข้อ “รักชำติ รักประชำธิปไตย” 4. กำรกล่ำวสดุดีบุคคลสำคัญ เนื่องในงำนรำลึกทหำรผ่ำนศึก 20. ข้อควำมต่อไปนี้มีกลวิธีกำรลำดับเนื้อหำอย่ำงไร วัลลีเป็นตัวอย่างลูกที่ดี ซึ่งมีความกตัญญู ทุกวันเวลาพักเที่ยงวัลลีต้องเดินกลับบ้านเพื่อไปป้อนอาหาร เที่ยงให้คุณแม่ที่ป่วยเป็นอัมพาต การกระทาของวัลลีนีสมควรแล้วที่จะได้รับรางวัลดีเด่นด้านความ กตัญญู 1. ลำดับตำมเวลำ 2. ลำดับตำมสถำนที่ 3. ลำดับจำกเหตุไปสู่ผล 4. ลำดับจำกผลไปสู่เหตุ 21. ข้อใดเป็นอวัจนภำษำที่แสดงถึงควำมไม่สุภำพ 1. วิทยำธรได้รับคำชมว่ำเป็นผู้ชำยที่มีเสน่ห์ จะนั่งจะยืนมีท่ำทำงสุภำพ นอบน้อมอยู่เสมอ 2. ใครๆ มักบอกเขำว่ำไม่น่ำชื่อวินัย เพรำะเขำไม่มีวินัย เวลำนำยเรียกก็เดินล้วงกระเป๋ำเข้ำไปหำ 3. สถำพรรีบมำทำงำนแต่เช้ำและยิ้มทักทำยผู้อื่นด้วยหน้ำตำยิ้มแย้มทุกวัน 4. เวลำนำเอกสำรเข้ำไปนำเสนอเจ้ำนำย วิศรุตจะยืนค้อมตัวรอรับคำสั่งจำกนำยเสมอ
  • 6. 6 22. ลักษณะคำในข้อใดมีกำรกลำยเสียง 1. อย่ำงนี้-ยังงี้ 2. สะดือ-สำยดือ 3. หมำกพร้ำว-มะพร้ำว 4. ตะกรุด-กะตุด 23. ข้อใดมีคำไทยแท้ทุกคำ 1. นำรีตกกระไดพลอยโจนกับบุรุษหลังจำกดูใจกันมำนำน 2. พอฝนจะตกก็รีบกลับบ้ำนทันที 3. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตกลูกครั้งละตัว 4. เพื่อนชวนเขำไปเรียนต่อที่กรุงเทพฯ เขำจึงตกลงใจแต่งงำนกัน 24. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ตรีมำกที่สุด 1. ประเพณีกินเจของชำวจีนมีอำหำรเจขำยมำกมำย 2. ร้ำนค้ำขำยโค้กยังติดธงเจสีเหลืองเลย 3. ผัดหมี่ ผัดซีอิ๊ว และโกซีหมี่ขำยดีเป็นเทน้ำเทท่ำ 4. เธอชอบกินอำหำรเจใช่ไหม วันพรุ่งนี้ฉันจะซื้อมำฝำก 25. คำว่ำ “ขัน” ข้อใดมีหน้ำที่ของคำแตกต่ำงจำกข้ออื่นมำกที่สุด 1. เขำพูดเรื่องขำขัน 2. ไหนขันที่ฉันต้องกำร 3. เขำขันอำสำช่วยเหลือเรำ 4. เมื่อเช้ำนี้ ไก่ขันเสียงดังมำก 26. ข้อใดมีกำรประสมอักษรเหมือนคำว่ำ สัมฤทธิ์ 1. พระเจ้ำ 2. สำมัญ 3. เจ้ำเล่ห์ 4. คำศัพท์ 27. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ 1. คนงำนใหม่ขยันเป็นพักๆ เอำแน่ไม่ได้ 2. นักเรียนอนุบำลหกล้มหัวเข่ำแตกเลือดไหลซิบๆ 3. ในสวนสำธำรณะมีคนออกกำลังกำยกันประปรำย 4. ที่ปำกทำงเข้ำหมู่บ้ำนมียำมรักษำกำรอยู่ตลอดเวลำ
  • 7. 7 28. ข้อใดมีคำประพันธ์ที่เหมือนกับคำประพันธ์ที่ยกตัวอย่ำงมำนี้ “กลางไพรไก่ขันบรรเลงฟังเสียงเพียงเพลงซอเจ้งจาเรียงเวียงวัง” 1. เร่งพลพำชีตีกระหนำบตัวนำยชักดำบออกไล่หลัง 2. ตีนงูงูไซร้หำกเห็นกันนมไก่ไก่สำคัญไก่รู้ 3. ลิงค่ำงครำงโครกครอกฝูงจิ้งจอกออกเห่ำหอน 4. ไว้ปำกไว้วำกย์วำทีไว้วงศ์กวีไว้เกียรติและไว้นำมกร 29. คำประพันธ์ในข้อใดแตกต่ำงจำกข้ออื่น 1. เปิบข้ำวทุกครำวคำ จงสูจำเป็นอำจิณ เหงื่อกูที่สูกิน จึงก่อเกิดมำเป็นคน 2. รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุริยงเย็นยอแสง ช่วงดังน้ำครั่งแดง แฝงเมฆเขำเงำเมรุธร 3. เขำตกทะเลบก สิก็ตกทะเลไป คลื่นสีขจีใส ปะทะซ่ำฉะฉ่ำฉำน 4. จำปำหนำแน่นเนื่อง คลี่กลีบเหลืองเรืองอร่ำม คิดคะนึงถึงนงรำม ผิวเหลืองกว่ำจำปำทอง 30. “หวานใดไม่หวานนักเท่ารสรักสมัครสมไร้รักหนักอารมณ์หวานเหมือนขมอมโศกา” บทประพันธ์ข้ำงต้นใช้โวหำรประเภทใด และใช้ลักษณะคำประพันธ์ประเภทใด ลาดับที่ ประเภทของโวหาร ลักษณะคาประพันธ์ 1. อุปมำโวหำร กำพย์ 2. เทศนำโวหำร กำพย์ 3. สำธกโวหำร กลอน 4. พรรณนำโวหำร กลอน 31. ข้อใดผู้อ่ำนควรใช้เสียงเน้นหนัก เพื่อให้เห็นควำมสำคัญของเนื้อหำทำให้เกิดควำมไพเรำะ ชวนให้ ติดตำมอย่ำงต่อเนื่อง 1. เรื่องวัดพระเชตุพนฯ นี้ น่ำจะไขควำมไว้ที่ตรงนี้ได้อีกหน่อย ผู้อ่ำนจะได้เข้ำใจ 2. ท่ำนพระครูไม่ยอมให้แก้ไขในบริเวณโบสถ์ที่ท่ำนเคยลงไปอยู่เมื่อต่อสู้กับพวกโจร 3. กรุงสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลำ ในนำมีข้ำว เจ้ำเมืองบ่เอำจกอบในไพร่ลู่ทำง เพื่อนจูงวัวไปค้ำ ขี่ม้ำไปขำย ใครใคร่ค้ำม้ำค้ำ ใครใคร่ค้ำช้ำงค้ำ 4. แม่มิเคยได้เคืองแค้นเหมือนครั้งนี้ เมื่อจำกบุรีทุเรศมำก็พร้อมหน้ำทั้งลูกผัวเป็นเพื่อนทุกข์ สำคัญ ว่ำจะเป็นสุขประสำยำก
  • 8. 8 32. ข้อใดผู้อ่ำนควรใช้น้ำเสียงเพื่อถ่ำยทอดอำรมณ์ต่ำงจำกข้ออื่น 1. เห็นทหำรไม่เชื่อก็เหลือกลั้น ชักดำบไล่ฟันทั้งซ้ำยขวำ ใครข่มเหงคนไทยไม่เมตตำ ชีวำจะดับด้วยมือเรำ 2. พิศดูสำวน้อยนวลหงส์ รูปทรงงำมเลิศเฉิดเฉลำ อยำกจะช่วยทุกข์ภัยให้บรรเทำ จึงเข้ำใกล้นำงแล้วพลำงทัก 3. อย่ำมัวพูดเสียเวลำฆ่ำฉันเถิด ขอให้เกิดเป็นชำยได้สักหน จะรบสู้กับพม่ำกล้ำประจญ ไม่ย่อย่นขำมกลัวพวกตัวร้ำย 4. ในชำตินี้มิสมัครรักพม่ำ เชิญท่ำนฆ่ำให้ดับลับชีพหำย ไปชำติหน้ำขอกำเนิดเกิดเป็นชำย แล้วเชิญกรำยมำลองฝีมือกัน 33. ข้อใดให้คำจำกัดควำมของคำว่ำกำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ได้ถูกต้อง 1. กำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ คือกำรอ่ำนอย่ำงมีสมำธิ จดจ่ออยู่กับเรื่องที่อ่ำน 2. กำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ คือกำรอ่ำนอย่ำงมีวิจำรณญำณไตร่ตรองรอบคอบ 3. กำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ คือกำรอ่ำนเพื่อแยกแยะองค์ประกอบต่ำงๆ ของสิ่งที่อ่ำน 4. กำรอ่ำนเพื่อวิเครำะห์ คือกำรอ่ำนเพื่อจำแนกประเภทสิ่งที่อ่ำนในชีวิตประจำวัน 34. ชื่อเรื่องของเรียงควำมในข้อใดแตกต่ำงจำกข้ออื่น 1. ยำมเช้ำที่โขงเจียม 2. ทะเลงำมยำมสำยัณห์ 3. ทุ่งทำนตะวัน สีสันประเทศไทย 4. สร้ำงชีวิตด้วยปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง 35. กลวิธีกำรเขียนเรียงควำมในข้อใดส่งผลต่อกำรลำดับเนื้อหำสำระภำยในเรื่อง 1. กำรใช้ย่อหน้ำที่ดีในกำรเขียนส่วนเนื้อเรื่องของเรียงควำม 2. กำรเลือกหัวข้อเรื่องที่อยู่ในควำมสนใจของกลุ่มคนในสังคม 3. กำรตั้งชื่อเรื่องให้มีควำมน่ำสนใจ ครอบคลุมเนื้อหำของเรื่อง 4. กำรเขียนสรุปให้ผู้อ่ำนประทับใจ และเน้นย้ำจุดมุ่งหมำยของเรื่อง 36. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนกำรเขียนเรียงควำมได้ถูกต้อง ก. กำหนดจุดมุ่งหมำย ข. วำงโครงเรื่อง ค. ลงมือเขียน ง. รวบรวมข้อมูล จ. อ่ำนทบทวนและแก้ไข 1. ก. ข. ค. ง. และ จ. 2. ก. ข. ง. ค. และ จ. 3. ก. ง. ข. จ. และ ค. 4. ก. ง. ข. ค. และ จ.
  • 9. 9 37. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรเขียนอ้ำงอิงแบบเชิงอรรถ 1. กำรเขียนอ้ำงอิงแบบเชิงอรรถจะนำไปรวบรวมไว้ในส่วนท้ำยของบรรณำนุกรม 2. กำรเขียนเชิงอรรถควรเขียนให้จบภำยใน 1 บรรทัด 3. กำรเรียงลำดับหมำยเลขเชิงอรรถต้องเรียงลำดับตั้งแต่หมำยเลข 1 ไปจนจบเล่ม 4. รำยละเอียดที่ระบุ ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ จังหวัด และสถำนที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ และหน้ำที่คัดลอก ข้อควำมมำ 38. พฤติกรรมของบุคคลใดสำมำรถอนุมำนได้ว่ำเนื้อหำของรำยงำนจะมีประสิทธิภำพ 1. วัลภำเลือกศึกษำหัวข้อที่มีแหล่งข้อมูลอย่ำงหลำกหลำย 2. วัลลีเลือกศึกษำหัวข้อที่น่ำสนใจ และประเมินว่ำเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ำน 3. วัชรีเลือกศึกษำหัวข้อที่ตนเองไม่ถนัด เพื่อท้ำทำยควำมสำมำรถของตนเอง 4. วัลลภเลือกศึกษำหัวข้อที่เคยมีผู้ศึกษำไว้แล้วอย่ำงละเอียด เพื่อให้ค้นหำข้อมูลได้สะดวก 39. ข้อใดไม่จาเป็นต้องระบุในกำรเขียนบรรณำนุกรมทั้ง 2 รำยกำร รศ.ดร.ปฐมพงษ์ ตระกูลยั่งยืน. (2539). รูปแบบการนับถือศาสนาในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. จำนวน 2500 เล่ม. กรุงเทพมหำนคร : สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์. 1. คำนำหน้ำชื่อผู้แต่ง ครั้งที่พิมพ์ 2. คำนำหน้ำชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ 3. คำนำหน้ำชื่อผู้แต่ง จำนวนเล่ม 4. ครั้งที่พิมพ์ จำนวนเล่ม 40. รำยงำนเรื่อง “ลำตัด ลมหำยใจสุดท้ำยของเพลงพื้นบ้ำน” ควรเรียงลำดับโครงเรื่องตำมข้อใด ก. ควำมเป็นมำและลักษณะทั่วไปของลำตัด ข. แนวทำงกำรอนุรักษ์เพลงลำตัด ค. สำเหตุกำรผันเปลี่ยนของวัฒนธรรมเพลงพื้นบ้ำน ง. บทบำทของเพลงลำตัดต่อสังคมไทย 1. ค. ง. ก. ข. 2. ง. ค. ข. ก. 3. ก. ง. ค. ข. 4. ค. ก. ข. ง. 41. หัวเรื่องสำรคดีในข้อใด เมื่อนำมำเรียบเรียงจะมีเนื้อหำแตกต่ำงจำกข้ออื่น 1. กล้วยไม้สำยพันธุ์ใหม่ 2. ผำน้ำตกนกแสนสวย 3. ต้นกล้วยมหัศจรรย์ 4. วัฒน์ วรรลยำงกูล กวีศรีบูรพำ
  • 10. 10 42. ข้อควรคำนึงในกำรผลิตงำนเขียนประเภทสำรคดีคืออะไร 1. กำรแทรกเกร็ดควำมรู้ 2. ควรมีรูปภำพประกอบ 3. ควรตั้งข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ 4. ควรแสดงทรรศนะอย่ำงตรงไปตรงมำ 43. หลักกำรในข้อใดควรปฏิบัติในกำรตัดสินประเมินคุณค่ำงำนเขียน 1. อ่ำนและตีควำม 2. แยกแยะองค์ประกอบภำยในเรื่อง 3. วิเครำะห์องค์ประกอบภำยในเรื่องอย่ำงรอบด้ำน 4. พิจำรณำจำกผลงำนที่ผ่ำนมำของเจ้ำของผลงำน 44. หลักกำรแรกของกำรเขียนสำรคดีตรงกับข้อใด 1. กำรเลือกเรื่อง 2. กำรวำงโครงเรื่อง 3. กำรสำรวจเพื่อหำข้อมูล 4. กำรตั้งจุดมุ่งหมำยในกำรเขียน 45. กำรรับสำรในข้อใด ผู้ฟังและดูจะต้องใช้วิจำรณญำณมำกที่สุด 1. กำรฟังสัมมนำเรื่องโบรำณคดีใต้น้ำ 2. กำรฟังโฆษณำผ่ำนสถำนีโทรทัศน์ 3. กำรฟังธรรมะผ่ำนสถำนีวิทยุแห่งประเทศไทย 4. กำรฟังบทเพลงลูกทุ่งผ่ำนรำยกำรลูกทุ่งยอดฮิต 46. ข้อใดแสดงกระบวนกำรฟังและดูอย่ำงมีวิจำรณญำณ 1. ได้ยิน ได้เห็น 2. ได้ยิน ได้เห็น ได้สัมผัส 3. ได้ยิน ได้เห็น ได้สัมผัส ได้รับรู้ 4. ได้ฟัง ได้เห็น ได้วิเครำะห์ ใคร่ครวญ ได้ประเมินค่ำเพื่อนำไปใช้ 47. หลักกำรวิเครำะห์ภำษำในงำนเขียนเชิงให้ควำมรู้ตรงกับข้อใด 1. พิจำรณำถ้อยคำที่มีลักษณะโน้มน้ำวใจ 2. พิจำรณำควำมไพเรำะ เหมำะสม สื่อควำม สื่ออำรมณ์ 3. พิจำรณำระดับหรือแบบแผนกำรใช้ภำษำ ควำมถูกต้อง 4. พิจำรณำควำมเชื่อมโยง หรือสัมพันธภำพของภำษำในเรื่อง
  • 11. 11 48. บุคคลใดแสดงมำรยำทในกำรฟังและดูที่เหมำะสม 1. สุพจน์ยกมือขึ้นถำมผู้บรรยำยทันทีที่สงสัย 2. สุนีย์จดข้อสงสัยไว้ในสมุด รอจนกว่ำผู้บรรยำยจะเปิดโอกำสให้ซักถำม 3. สุนันท์ถำมในสิ่งที่สงสัยกับเพื่อนที่นั่งอยู่ข้ำงๆ เพรำะไม่กล้ำถำมผู้บรรยำย 4. สุมำลีลุกออกจำกที่ประชุมเมื่อผู้พูดบรรยำยเสร็จ โดยไม่อยู่ฟังช่วงกำรซักถำม 49. บทโฆษณำในข้อใดไม่ปรากฏถ้อยคำที่แฝงกำรโน้มน้ำวใจ 1. พักผ่อนอย่ำงรำชำ ที่ฮำน่ำรีสอร์ต 2. ปูนตรำ สิงห์ ปูนเข้ม ฉำบง่ำย สบำยมือ 3. โรงเรียนอนุบำลเด่นภพ มำตรฐำนเดียวกับกำรเรียนกำรสอนระบบกำรศึกษำอเมริกำ 4. กำรออกกำลังกำยอย่ำงเป็นประจำสม่ำเสมอ จะช่วยให้ร่ำงกำยแข็งแรง เป็นที่อยู่ของจิตใจที่แจ่มใส 50. ข้อใดไม่ใช่กลวิธีกำรพูดโน้มน้ำวใจที่ถูกต้อง 1. ทำให้ผู้ฟังเกิดอำรมณ์ควำมรู้สึกร่วม 2. กำรสร้ำงควำมน่ำเชื่อถือในตัวของผู้พูด 3. ทำให้ผู้ฟังเห็นถึงผลดี ผลเสียของสถำนกำรณ์ 4. กำรสร้ำงควำมเชื่อถือด้วยกำรให้เห็นผลหักล้ำง ว่ำร้ำยฝ่ำยตรงข้ำม 51. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์ของกำรพูด 1. พูดเพื่อโน้มน้ำวให้เชื่อ 2. พูดเพื่อหันเหควำมสนใจ 3. พูดเพื่อมำรยำททำงสังคม 4. พูดเพื่อสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ถูกต้อง 52. คุณธรรมกำรพูดในข้อใดมีควำมเกี่ยวข้องกับหลักคำสอนในพระพุทธศำสนำ 1. พูดด้วยเมตตำจิต 2. พูดแต่คำสัตย์จริง 3. พูดให้ถูกกำลเทศะ 4. พูดแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ 53. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะของภำษำ 1. หน่วยคำที่ประกอบเป็นประโยคเป็นอิสระต่อกัน 2. ภำษำไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 3. หน่วยย่อยในภำษำจะประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยใหญ่ 4. กำรยืมคำเข้ำมำใช้ในภำษำไม่นับเป็นกำรเปลี่ยนแปลงของภำษำ
  • 12. 12 54. ประโยคในข้อใดมีเจตนำบอกให้ทำ 1. ขับรถภำษำอะไร 2. พื้นที่ส่วนบุคคล 3. เห็นไหม เขำไปกันหมดแล้ว 4. กรุณำกรอกแบบสอบถำมหลังใช้บริกำร 55. ข้อใดไม่ปรำกฏเสียงสระประสม 1. เวิ้งว้ำง เงินผ่อน แบ่งแยก 2. วี้ดว้ำย เชิญชวน คลอนแคลน 3. โพล้เพล้ ร่องแร่ง จองหอง 4. กรีดกรำย บ้ำนเรือน ลอดช่อง 56. ข้อควำมใดมีควำมสัมพันธ์กับ “ลักษณะของประโยคที่ดี” 1. มีควำมยำวต่อเนื่อง 2. ปรำกฏกำรใช้ถ้อยคำที่ไพเรำะ คมคำย 3. สื่อควำมได้ชัดเจน มีควำมสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน 4. ปรำกฏกำรใช้ถ้อยคำภำษำต่ำงประเทศ และศัพท์ทำงวิชำกำร 57. ข้อควำมใดไม่มีควำมเกี่ยวข้องกับภำษำไทยถิ่น 1. กำรศึกษำเรียนรู้เกี่ยวกับภำษำไทยถิ่นทำให้สำมำรถศึกษำประวัติของคำได้ 2. ควำมแตกต่ำงระหว่ำงภำษำไทยถิ่นกับภำษำไทยมำตรฐำนคือเรื่องของคำศัพท์ 3. ภำษำไทยถิ่นเป็นภำษำย่อยของภำษำไทยที่ใช้สื่อสำรกันในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง 4. กำรผสมระหว่ำงเชื้อชำติและวัฒนธรรมเป็นสำเหตุหนึ่งของกำรเกิดภำษำไทยถิ่น 58. ข้อใดต่อไปนี้มีวิธีกำรร้อยเรียงประโยคด้วยกำรแทนคำหรือวลี 1. นกไม่สบำย วันนี้เลยไปเที่ยวไม่ได้ 2. นกชอบกิน แต่ฉันไม่ชอบ 3. นกเคยไปเที่ยวเชียงใหม่ แต่ผมไม่เคย 4. ผู้ชำยคนนั้นหน้ำตำดีมำก เขำเป็นนักแสดงช่องอะไร 59. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับฉันทลักษณ์ของร่ำยสุภำพ 1. ร่ำยสุภำพจะจบบทด้วยโคลงสำมสุภำพเสมอ 2. ร่ำยสุภำพบทหนึ่งๆ มีจำนวนวรรคทั้งสิ้น 5 วรรค 3. กำรแต่งร่ำยสุภำพไม่กำหนดจำนวนคำในแต่ละวรรค 4. คำสุดท้ำยของวรรคหน้ำต้องสัมผัสกับคำที่ 1, 2 และ 3 ของวรรคต่อๆ ไป
  • 13. 13 60. คำประพันธ์ประเภทฉันท์มีลักษณะเด่นเฉพำะตรงกับข้อใด 1. คำสร้อย 2. คำครุ คำลหุ 3. คำเอก คำโท 4. คำเป็น คำตำย 61. ข้อใดไม่ใช่หลักกำรใช้คำยืมที่ถูกต้อง 1. ต้องรู้แหล่งที่มำของคำ 2. ต้องรู้หลักกำรเขียนที่ถูกต้อง 3. ต้องรู้หลักกำรออกเสียงที่ถูกต้อง 4. ต้องรู้ว่ำมีกลุ่มคนที่ใช้ภำษำนี้มำกน้อยเพียงใด 62. ข้อใดใช้ระดับของภำษำต่ำงจำกพวก 1. กรุณำรอสักครู่ 2. พรุ่งนี้พบกันบริเวณหน้ำสวนสำธำรณะ 3. งำนสัปดำห์หนังสือปีนี้มีคนมำบำนเบอะ 4. นักเรียนควรมีควำมอุตสำหะในกำรศึกษำเล่ำเรียน 63. ข้อใดเรียงลำดับหน่วยในภำษำไทยจำกเล็กสุดถึงใหญ่สุดได้ถูกต้อง 1. คำ เสียง วลี ประโยค 2. เสียง คำ วลี ประโยค 3. วลี เสียง คำ ประโยค 4. คำ วลี เสียง ประโยค 64. คำพูดในข้อใดเหมำะที่จะใช้ในกำรประชุม 1. ขอโทษนะ คุณปรำนีพูดดังๆ หน่อย จะได้ได้ยินกันทุกคน 2. ดิฉันขอให้ที่ประชุมพิจำรณำทบทวนเรื่องนี้อีกครั้ง 3. เรื่องมันไปกันใหญ่แล้ว ขอให้พูดให้ตรงประเด็นหน่อยเถอะ 4. คุณจิรนัดดำนั่งเงียบอยู่นำนแล้ว กรุณำแสดงควำมคิดเห็นครับ 65. ข้อใดคือจุดมุ่งหมำยที่สำคัญของกำรพูดอภิปรำย 1. เพื่อแสดงควำมรู้ ควำมเข้ำใจของผู้พูด 2. เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนคติของผู้ฟัง 3. เพื่อควำมบันเทิง ผ่อนคลำยจำกปัญหำ 4. เพื่อแลกเปลี่ยนควำมรู้ ควำมคิด ประสบกำรณ์เพื่อแก้ไขปัญหำ
  • 14. 14 66. หัวเรื่องในข้อใดเหมำะสมที่จะนำมำอภิปรำย 1. เกิดเป็นชำยดีกว่ำหญิง 2. ระบบธุรกิจขำยตรง 3. ก้ำวไกลไปกับอำเซียน 4. เรำจะแก้ไขสถำนกำรณ์กำรอ่ำนของคนไทยได้อย่ำงไร 67. สิ่งสำคัญประกำรแรกของกำรพูดโต้แย้งตรงกับข้อใด 1. มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับคำนิยำมของกำรโต้แย้ง 2. มีควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรใช้ภำษำเพื่อกำรหักล้ำง 3. ตั้งใจฟังเรื่องที่จะต้องโต้แย้งตั้งแต่ต้นจนจบอย่ำงมีสมำธิ 4. มีควำมสำมำรถในกำรพูดสรุปได้คมคำยทำให้ผู้ฟังเชื่อถือ 68. ข้อใดเป็นลักษณะเฉพำะของคำที่ยืมมำจำกภำษำอังกฤษ 1. มีลักษณะเป็นคำสองพยำงค์ 2. ไม่ปรำกฏกำรใช้พยัญชนะเสียงควบกล้ำ 3. มีเสียงควบกล้ำที่ไม่มีในภำษำไทย เช่น ฟร 4. มีลักษณะเป็นคำแผลงด้วยกำรเติมหน่วยคำเติมหน้ำ 69. กำพย์ประเภทใดนิยมที่จะนำมำแต่งคู่กับบทร้อยกรองประเภทฉันท์ 1. กำพย์ยำนี และกำพย์สุรำงคนำงค์ 2. กำพย์ฉบัง และกำพย์สุรำงคนำงค์ 3. กำพย์ห่อโคลง และกำพย์ยำนี 4. กำพย์ห่อโคลง และกำพย์สุรำงคนำงค์ 70. สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ เป็นฉันท์ซึ่งมีท่วงทำนองที่เหมำะแก่กำรบรรจุเนื้อควำมในลักษณะใด 1. บทชมโฉม 2. บทยอพระเกียรติ 3. บทพรรณนำควำมรัก 4. บทตื่นเต้น ระทึกใจ
  • 15. 15 71. ข้อใดเป็นประโยคใจควำมสำคัญของข้อควำมต่อไปนี้ (ก) คาว่า “เอ็นดู” ก็เหมือนกันถ้าสาวๆ ได้ยินพ่อเฒ่าชาวใต้แหลงว่า “เอ็นดูหลาว” อย่าเข้าใจผิดคิดไป ว่าพ่อเฒ่าหัวงูมาเอ็นดูหวังเลียงต้อย เพราะ “เอ็นดู” ในบริบทของคนใต้แปลว่าสงสาร (ข) นี่แหละครับ เสน่ห์ของการเดินทางไปยังต่างถิ่นต่างที่ คือได้เรียนรู้ภาษา เรียนรู้วัฒนธรรม และวิธีคิดที่ต่างจาก ความคุ้นเคยของเรา (ค) นับว่าชาวชุมพรและคนปักษ์ใต้โชคดีที่มีปราชญ์อย่างอาจารย์สนั่นพากเพียร รวบรวมภาษาถิ่นที่มีคุณค่าไว้เป็นลายลักษณ์อักษร (ง) ก่อนที่ภาษาอินเทอร์เน็ตใน “แชทรูม” และการส่ง “ชอร์ตแมสเสจ” ในโทรศัพท์มือถือจะบดบังภาษาถิ่นจนหมด 1. (ก) 2. (ข) 3. (ค) 4. (ง) 72. ข้อใดเป็นประเด็นโต้แย้งของข้อควำมต่อไปนี้ การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศควรเริ่มต้นจากการค้นหาจากจุดที่เป็นอุปสรรคมากที่สุด ของการพัฒนาประเทศ (most binding constraint) และเน้นแก้ปัญหาในจุดดังกล่าว การพยายามแก้ปัญหา หลายปัญหาพร้อมๆ กัน เป็นการพัฒนาที่ไร้ประโยชน์ 1. มีอุปสรรคใดบ้ำงในกำรแก้ไขปัญหำและพัฒนำประเทศ 2. กำรแก้ไขปัญหำทำงเศรษฐกิจก่อให้เกิดประโยชน์หรือไม่ อย่ำงไร 3. กำรแก้ปัญหำทำงเศรษฐกิจหลำยๆ อย่ำงพร้อมกัน ถือเป็นกำรแก้ปัญหำหรือไม่ 4. กำรแก้ไขปัญหำเศรษฐกิจของประเทศควรเริ่มต้นจำกจุดที่สำคัญที่สุดใช่หรือไม่ คาชี้แจง นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ จากนั้นตอบคาถามข้อ 73-75 เรารู้สึกได้ถึงความแตกต่างเมื่อเราหันมาใช้ครีมกระชับสัดส่วนตราหุ่นสวย เมื่อเราใช้ครีมแล้วเรา ไม่ต้องลดอาหารหรือออกกาลังกายให้หนัก ทาให้เราไม่รู้สึกเหนื่อยมากเกินไปจนทาให้ร่างกายทรุดโทรม นอกจากนี ยังไม่มีสารพิษตกค้าง สภาพร่างกายของเราจึงดีขึนทันตาเห็น หุ่นสวยกระชับ ไร้ไขมัน รู้สึก กลับไปเป็นสาววัยแรกรุ่นอีกครัง ตอนแรกคิดว่าการลดนาหนักด้วยวิธีนีจะไม่ได้ผล เดี๋ยวนีเข้าใจแล้ว อยากให้คนที่อยากสวยหันมาใช้ครีมกระชับสัดส่วนตราหุ่นสวยแบบเรามากขึน 73. ข้อใดเป็นเจตนำในกำรพูด 1. อวดอ้ำงว่ำตนเองสวย 2. บอกเล่ำวิธีกำรลดน้ำหนักให้มีรูปร่ำงสวยงำม 3. แนะนำคุณค่ำที่ได้จำกกำรลดน้ำหนักด้วยครีมกระชับสัดส่วนตรำ หุ่นสวย 4. ชักชวนให้เพื่อนที่ต้องกำรลดน้ำหนักหันมำใช้ครีมกระชับสัดส่วนตรำ หุ่นสวย
  • 16. 16 74. ข้อควำมข้ำงต้นมีวิธีกำรลำดับเนื้อหำอย่ำงไร 1. ลำดับตำมเวลำ 2. ลำดับตำมสถำนที่ 3. ลำดับจำกเหตุไปสู่ผล 4. ลำดับจำกผลไปสู่เหตุ 75. จำกข้อควำมข้ำงต้นกำรแสดงทรรศนะของผู้เขียนเกิดจำกข้อใด 1. ควำมรู้ 2. ควำมเชื่อ 3. ค่ำนิยม 4. ประสบกำรณ์ 76. ข้อใดเป็นโครงสร้ำงของกำรแสดงเหตุผลในข้อควำมต่อไปนี้ “ด้วยความที่ไข่ตุ๋นเป็นอาหารที่รับประทานได้ง่าย แถมยังทาง่าย ราคาถูก ที่สาคัญยังมีคุณค่าทาง โภชนาการสูงอีกด้วย ไข่ตุ๋นจึงเป็นอาหารที่ทังเด็กและผู้ใหญ่ต่างก็ชอบรับประทาน” 1. ข้อสนับสนุน ข้อสรุป ข้อสนับสนุน 2. ข้อสนับสนุน ข้อสนับสนุน ข้อสรุป 3. ข้อสรุป ข้อสนับสนุน ข้อสรุป 4. ข้อสรุป ข้อสรุป ข้อสนับสนุน 77. ข้อควำมต่อไปนี้ใช้วิธีกำรเขียนสอดคล้องกับข้อใด ถ้าเราออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ กินอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกาย ก็จะช่วยให้สุขภาพของเราสมบูรณ์ แข็งแรง ผิวพรรณผ่องใส และสามารถสร้างความมั่นใจในตนเองได้ดียิ่งขึน 1. เปรียบเทียบข้อดีข้อเสีย 2. ใช้ภำษำเร้ำใจ 3. ใช้เหตุผล 4. อ้ำงอิงหลักฐำน 78. กำรฟังในข้อใดมีจุดมุ่งหมำยแตกต่ำงจำกข้ออื่น 1. โก๊ะตี๋ฟังวิทยุรำยกำรเรื่องเล่ำเสำร์นี้ 2. เรยำฟังถ่ำยทอดสดกำรอภิปรำยไม่ไว้วำงใจรัฐบำล 3. เด่นจันทร์ฟังเพลงในรำยกำรเพลงไพเรำะเสนำะโสต 4. ดี๋ฟังกำรอภิปรำยเรื่องละครไทยสู่ละครโลกได้จริงหรือ
  • 17. 17 79. กำรฟังในข้อใดเป็นกำรฟังเพื่อสำระและคติของชีวิตอย่ำงเด่นชัด 1. อัดฟังขับเสภำเรื่อง “ขุนช้ำง ขุนแผน” 2. แขกฟังรำยกำรเรื่อง “ท่องเที่ยวทั่วไทยให้สุขสันต์” 3. เฟย์ฟังรำยกำรวิทยุเรื่อง “เรำจะอยู่กับคนที่เรำไม่ชอบได้อย่ำงไร” 4. เบียร์ฟังเพื่อนเล่ำเรื่อง “นิทรรศกำรศิลปะกำรออกแบบเครื่องแต่งกำย” 80. สถำนกำรณ์ต่อไปนี้แสดงว่ำผู้ฟังมีสัมฤทธิผลในกำรฟังระดับใด อาทิตย์ฟังรายการวิทยุ มีข้อความจากบันทึกของศรีบูรพาตอนหนึ่งว่า “ แม้เรามิได้เป็นดอกซากุระ ก็อย่ารังเกียจที่ต้องเกิดเป็นบุปผาพันธุ์อื่นเลย ขอแต่ให้เป็นดอกที่งามที่สุดในพันธุ์ของเรา ภูเขาไฟฟูจี มีอยู่ลูกเดียว แต่ภูเขาทังหลายก็หาไร้ค่าไม่ แม้มิได้เป็นซามูไรก็จงเป็นลูกสมุนของซามูไรเถิด เราจะเป็น กัปตันกันหมดทุกคนไม่ได้ ด้วยว่าถ้าปราศจากลูกเรือแล้ว เราจะไปกันได้อย่างไร” หลังจากได้ฟังแล้ว เขาบอกกับตนเองว่าผู้พูดต้องการให้คนเรามีทัศนคติที่ดีต่อบทบาทหน้าที่ของตนเหนือกว่าสิ่งใด 1. เข้ำใจจุดประสงค์ของผู้พูด 2. รับรู้ข้อควำมได้ครบถ้วน 3. บอกได้ว่ำสิ่งที่ฟังน่ำเชื่อถือ 4. ประเมินได้ว่ำสิ่งที่ฟังมีประโยชน์ 81. “แว่วเสียงสาเนียงบุหรงร้อง ว่าเสียงสามนิ่มน้องเสน่หา พระแย้มเยี่ยมม่านทัศนา เห็นแต่ป่าพุ่มไม้ใบบัง เอนองค์ลงอิงพิงเขนย กรเกยก่ายพักตร์ถวิลหวัง รสรักร้อนรนพ้นกาลัง ชลนัยน์ไหลหลั่งลงพรั่งพราย” ข้อใดไม่สามารถอนุมำนได้จำกบทประพันธ์ข้ำงต้น 1. มีควำมเศร้ำจำกควำมรัก 2. มีควำมผิดหวังในควำมรัก 3. มีควำมลุ่มหลงในควำมรัก 4. มีควำมร้อนแรงในควำมรัก 82. ข้อใดมีเนื้อหำแสดงควำมคิดเห็น 1. อันเหล่ำศัตรูหมู่ร้ำย จงแพ้พ่ำยอย่ำรอต่อติด 2. เจ้ำจงยกพลขันธ์ไปบรรจบ สมทบทัพอิเหนำให้จงได้ 3. ชะรอยเป็นบุพเพนิวำสำ เทวำอำรักษ์มำชักให้ 4. กูก็ไม่ครั่นคร้ำมขำมใคร จะหักให้เป็นภัสม์ธุลีผง
  • 18. 18 83. ข้อใดให้จินตภำพแตกต่ำงจำกข้ออื่น 1. ตำยระดับทับกันดังฟอนฟำง เลือดนองท้องช้ำงเหลวไหล 2. ผงคลีมืดคลุ้มชอุ่มควัน รีบร้นพลขันธ์คลำไคล 3. ว่ำแล้วสองกษัตริย์ก็จัดทัพ พร้อมสรรพพหลพลขันธ์ 4. พอได้ศุภฤกษ์ก็ลั่นฆ้อง ประโคมศึกกึกก้องท้องสนำม 84. บทประพันธ์ในข้อใดปรำกฏนำฏกำร 1. อันสุริยวงศ์เทวัญอสัญหยำ เรืองเดชเดชำชำญสนำม ทั้งโยธีก็ชำนำญกำรสงครำม ลือนำมในชวำระอำฤทธิ์ 2. ต่ำงมีฝีมืออื้ออึง วำงวิ่งเข้ำถึงอำวุธสั้น ดำบสองมือโถมทะลวงฟัน เหล่ำกริชติดฟันประจัญรบ 3. กรุงกษัตริย์ขอขึ้นก็นับร้อย เรำเป็นเมืองน้อยกระจิหริด ดังหิ่งห้อยจะแข่งแสงอำทิตย์ เห็นผิดระบอบบุรำณมำ 4. ใช่จะไร้ธิดำทุกธำนี มีงำมแต่บุตรีท้ำวดำหำ พระองค์จงควรตรึกตรำ ไพร่ฟ้ำประชำกรจะร้อนนัก 85. จำกวรรณกรรมเรื่อง นิทำนเวตำล นักเรียนพิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้ “อนึ่งพระองค์ย่อมจะทราบคาถาซึ่งมูลเทวะบัณฑิตแต่งไว้ มีความว่า ชายผู้ไม่ใช่คนโง่ ไม่ยอมคืนสู่ เรือนซึ่งไม่มีนางที่รักผู้มีรูปงามคอยรับรองในขณะกลับถึงเรือนนัน” ข้อควำมข้ำงต้นใช้โวหำรแบบใด 1. สำธกโวหำร 2. อุปมำโวหำร 3. บรรยำยโวหำร 4. พรรณนำโวหำร 86. “จาใจจากแม่เปลือง ปลิดอก อรเอย เยียวว่าแดเดียวยก แยกได้ สองซีกแล่งทรวงตก แตกภาค ออกแม่ ภาคพี่ไปหนึ่งไว้ แนบเนือนวลถนอม” คำประพันธ์ข้ำงต้นมีลีลำในกำรแต่งสอดคล้องกับข้อใด 1. จึงบัญชำตรัสดัวยขัดเคือง ดูดู๋เจ้ำเมืองดำหำ 2. กูก็ไม่ครั่นคร้ำมขำมใคร จะหักให้เป็นภัสม์ธุลีลง 3. แล้วว่ำอนิจจำควำมรัก พึ่งประจักษ์ดั่งสำยน้ำไหล 4. ได้ฟังกริ้วโกรธดังเพลิงกัลป์ จึงกระชั้นสีหนำทประภำษไป
  • 19. 19 87. ข้อใดปรำกฏคำถำมเชิงวำทศิลป์ 1. อำกำศจักจำรผจง จำรึก พอฤๅ 2. โฉมแม่หยำดฟ้ำแย้ม อยู่ร้อนฤๅเห็น 3. สุริยจันทรขจำย จำกโลก ไปฤๅ 4. กฤษณนิทรเลอหลัง นำคหลับ ฤๅพ่อ 88. “(ก)...พระองค์เสด็จเหาะตรงขึนสู่นภากาศ ประดุจจะยังธุลีละอองพระบาทให้เรี่ยราดลง...” และ “(ข)...เมื่อตะวันฉายเงาไม้ มิได้บ่ายไปตามตะวัน บังกันพระองค์อยู่ดูประดุจพระกลด...” บทประพันธ์ทั้งสองบทข้ำงต้นปรำกฏภำพพจน์แบบใดบ้ำง เรียงตำมลำดับ 1. (ก) อุปมำ (ข) อุปมำ 2. (ก) อุปมำ (ข) อติพจน์ 3. (ก) อุปมำ (ข) อุปลักษณ์ 4. (ก) ไม่ปรำกฏภำพพจน์ (ข) อุปมำ 89. “ฟานฝูงคณาเนือนิกรกวางดงดูนี่แดงดาษ หมู่ละมั่งระมาดระมัดกาย ชะมดฉมันหมายเม่นหมีหมู หมู่กระทิงเถื่อน โคถึกเที่ยวทุรสถาน กาสรกาเลาะลานก็ลับเขาเข้าเคียงคู่ กระจงจามรีรู้ระวังขนมิให้ขาด ระคาย กระรอกตุ่นกระแตกระต่ายก็ไต่เต้น เหล่าเหียเห็น ก็ระเห็จหาภักษา” บทประพันธ์ข้ำงต้นปรำกฏสัตว์กี่ชนิด 1. จำนวน 20 ชนิด 2. จำนวน 21 ชนิด 3. จำนวน 22 ชนิด 4. จำนวน 23 ชนิด 90. “หวังเป็นเกือกทองรองบาทา พระผู้วงศ์เทวาอันปรากฏ จะขอพระบุตรีมียศ ให้โอรสข้าน้อยดังจินดา อันกรุงไกรไอศูรย์ทังสอง จะเป็นทองแผ่นเดียวไปวันหน้า ขอพานักพักพึ่งพระเดชา ไปกว่าชีวันจะบรรลัย” ข้อใดไม่ปรากฏน้ำเสียงในบทประพันธ์ข้ำงต้น 1. อ่อนน้อม 2. ยำเกรง 3. ถ่อมตน 4. ทะนงในศักดิ์ศรีของตน
  • 20. 20 91. “หนึ่งในพระทัยท่าน ก็เบิกบานคือดอกบัว ราคี บ พันพัว สุวคนธกาจร” ข้อใดกล่ำวถึงพระคุณของพระพุทธเจ้ำสอดคล้องกับบทประพันธ์ข้ำงต้น 1. สมญำโลกอุดรพิสดำร อันลึกโอฬำร พิสุทธิ์พิเศษสุกใส 2. โดยเสด็จพระผู้ตรัสไตร ปัญญำผ่องใส สะอำดและปรำศมัวหมอง 3. ชี้ทำงบรรเทำทุกข์ และชี้สุขเกษมสำนต์ ชี้ทำงพระนฤพำน อันพ้นโศกวิโยคภัย 4. พร้อมเบญจพิธจัก- ษุจรัสวิมลใส เห็นเหตุที่ใกล้ไกล ก็เจนจบประจักษ์จริง 92. ข้อใดปรำกฏรสวรรณคดีต่ำงจำกข้ออื่น 1. สงสำรน้ำคำที่พร่ำสั่ง คิดถึงควำมหลังแล้วใจหำย ครวญพลำงกำสรดระทดกำย แล้วคิดอำยพวกพลมนตรี 2. เอนองค์ลงอิงพิงเขนย กรเกยก่ำยพักตร์ถวิลหวัง รสรักร้อนรนพ้นกำลัง ชลนัยน์ไหลหลั่งลงพรั่งพรำย 3. เมื่อนั้น สองระตูวิโยคโศกศัลย์ กอดศพเชษฐำเข้ำจำบัลย์ พิโรธร่ำรำพันโศกำ 4. เมื่อนั้น โฉมยงองค์ระเด่นจินตะหรำ ค้อนให้ไม่แลดูสำรำ กัลป์ยำคั่งแค้นแน่นใจ 93. พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเอย ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง กระหม่ากระเหม่นทรวง สั่นซีด พักตร์นา หนักหฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหรทาย ฯ ข้อใดไม่ใช่อำรมณ์ควำมรู้สึกที่ปรำกฏในบทประพันธ์ข้ำงต้น 1. หนักใจ 2. พรั่นใจ 3. หวั่นใจ 4. ร้อนใจ
  • 21. 21 94. หวังเริ่มคุณเกียรติก้อง กลางรงค์ ยืนพระยศอยู่ยง คู่หล้า สงครามกษัตริย์ทรง ภพแผ่น สองฤๅ สองราชรอนฤทธิ์ร้า เรื่องรู้สรเสริญ ข้อใดคือใจควำมสำคัญของบทประพันธ์ข้ำงต้น 1. กำรทำสงครำมครั้งนี้จะเป็นเกียรติยศแก่กษัตริย์ทั้งสอง 2. กำรทำสงครำมครั้งนี้ผู้คนจะพำกันสรรเสริญผู้ที่ชนะ 3. กษัตริย์ทั้งสองจะเป็นที่สรรเสริญของฝ่ำยตรงข้ำม 4. กษัตริย์ทั้งสองจะสู้กันอย่ำงทัดเทียม 95. “ข้าขอประนมหัตถ์ พระไตรรัตนนาถา ตรีโลกอมรมา อภิวาทนาการ อนึ่งข้าอัญชลี พระฤๅษีผู้ทรงญาณ แปดองค์เธอมีฌาน โดยรอบรู้ในโรคา ไหว้คุณอิศวเรศ ทังพรหมเมศทุกชันฟ้า สาปสรรค์ซึ่งหว้านยา ประทานทั่วโลกธาตรี ไหว้ครูกุมารภัจ ผู้เจนจัดในคัมภีร์ เวชศาสตรบรรดามี ให้ทานทั่วแก่นรชน ไหว้ครู ผู้สั่งสอน แต่ปางก่อนเจริญผล ล่วงลุนิพพานดล สาเร็จกิจประสิทธิ์พร” จำกบทประพันธ์ข้ำงต้นสะท้อนคุณธรรมใดในสังคมไทย 1. กตัญญู 2. เมตตำ 3. มุทิตำ 4. กรุณำ 96. “ถ้าเราจะสอนเขาทังหลายให้รู้สึกเกียรติยศแห่งการที่จะเป็นผู้เพาะความสมบูรณ์ให้แก่ประเทศ เช่น ชาวนา ชาวสวน พ่อค้าช่างต่างๆ จะไม่ดีกว่าหรือ” ข้อควำมข้ำงต้นใช้กลวิธีทำงวรรณศิลป์แบบใดเด่นชัดที่สุด และกลวิธีดังกล่ำวมีจุดมุ่งหมำยอย่ำงไร ข้อ กลวิธีทางวรรณศิลป์ จุดมุ่งหมาย 1. ใช้กำรเปรียบเทียบ ย้ำให้จดจำ 2. ใช้ภำษำไพเรำะ มีควำมไพเรำะน่ำอ่ำน 3. ใช้ประโยคคำถำม กระตุ้นให้คิด 4. ใช้คำแสดงควำมรู้สึก ทำให้น่ำเชื่อถือ
  • 22. 22 97. “ท่านเชื่อหรือว่าพวกหนุ่มๆ ของเราจะทาประโยชน์ให้แก่บ้านเมือง โดยทางเสมียนมากกว่าทางอื่นๆ ได้อย่างไร ถ้าไม่อุดหนุนจานวนที่จาเพาะสิ่งของนันๆ ขึน?” ข้อควำมข้ำงต้นคำว่ำ “เพำะ” มีควำมหมำยในลักษณะใด และมีควำมหมำยว่ำอย่ำงไร ข้อ ลักษณะความหมาย ความหมาย 1. ควำมหมำยตรง ทำให้งอก 2. ควำมหมำยตรง ส่งเสริม 3. ควำมหมำยแฝง ปลูก 4. ควำมหมำยแฝง ทำให้เกิด 98. บทประพันธ์ในข้อใดปรำกฏโวหำรภำพพจน์ 1. เพียนทองงำมดั่งทอง ไม่เหมือนน้องห่มตำดพรำย 2. กระแหแหห่ำงชำย ดั่งสำยสวำทคลำดจำกสมร 3. แก้มช้ำช้ำใครต้อง อันแก้มน้องช้ำเพรำะชม 4. ปลำทุกทุกข์อกตรม เหมือนทุกพี่ที่จำกนำง 99. เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร ทุทาสสถุลฉะนีไฉน ก็มาเป็น ศึกบถึงและมึงก็ยังมิเห็น จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด ข้อใดต่อไปนี้ไม่ปรากฏในบทประพันธ์ข้ำงต้น 1. รุทธรส 2. พิโรธวำทัง 3. กำรใช้ภำพพจน์ 4. คำถำมเชิงวำทศิลป์ 100. พอทรงจบแจ้งพระทัยในข้อหา ก็โกรธาเคืองขุ่นหุนหัน มันเคี่ยวเข็ญทาเป็นอย่างไรกัน อีวันทองคนเดียวไม่รู้แล้ว ข้อใดสอดคล้องกับบทประพันธ์ข้ำงต้น 1. อุปมำ 2. นำมนัย 3. อุปลักษณ์ 4. ปฏิปุจฉำ
  • 23. 23 ชุดที่ 2 ข้อสอบ O-NET วิชา ภาษาไทย ม.ปลาย 2552 แบบระบำยตัวเลือก แต่ละข้อมีคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว จำนวน 100 ข้อ : ข้อละ 1 คะแนน ใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคำถำม ข้อ 1-5 ก. โบรำณว่ำเป็นข้ำจอมกษัตริย์ ข. รำชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษำ ค. ท่ำนกำหนดจดไว้ในตำรำ ง. มีมำแต่โบรำณช้ำนำนครัน 1. ข้อใดมีเสียงสระประสม 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ค 4. ข้อ ง 2. ข้อใดมีคำที่ออกเสียงอักษรควบ 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ค 4. ข้อ ง 3. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ค 4. ข้อ ง 4. ข้อใดมีอักษรต่ำน้อยที่สุด (ไม่นับอักษรที่ซ้ำกัน) 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ค 4. ข้อ ง ปีการศึกษา
  • 24. 24 5. ข้อใดมีอักษรนำ 1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ข และ ค 3. ข้อ ค และ ง 4. ข้อ ง และ ก 6. คำในข้อใดมีตัวสะกดมำตรำเดียวกับ “เหตุผล” ทุกคำ 1. พุดตำน ถอดถอน มลพิษ 2. มดเท็จ คิดสั้น จัดกำร 3. ผลัดเวร บทกลอน โทษทัณฑ์ 4. สวดมนต์ จุดอ่อน ทรัพย์สิน 7. คำซ้ำในข้อใดต้องใช้เป็นคำซ้ำเสมอ 1. คนงำนใหม่ขยันเป็นพักๆ เอำแน่ไม่ได้ 2. นักเรียนอนุบำลหกล้มหัวเข่ำแตก เลือดไหลซิบๆ 3. งำนนี้ถึงจะได้เงินเดือนน้อย ก็ทำไปพลำงๆ ก่อนแล้วกัน 4. ถ้ำเรำวำงแผนให้ดีตั้งแต่แรกๆ โครงกำรนี้ก็คงสำเร็จไปแล้ว 8. ข้อใดเป็นคำซ้อนทุกคำ 1. ซ้ำซ้อน ซ่อนรูป ซักฟอก 2. ถ่องแท้ ถี่ถ้วน ถำกถำง 3. บีบคั้น เบียดเบียน เบำควำม 4. แปรผัน เป่ำหู โปรยปรำย 9. ข้อควำมต่อไปนี้ส่วนใดมีคำประสมทั้ง 2 ส่วน 1) บริเวณสวนกว้ำงขวำง / 2) มีสนำมที่ได้รับกำรดูแลจำกเทศบำลเมือง / 3) มีประติมำกรรมเป็นรูป เทพธิดำแสนงำม / 4) มุมหนึ่งมีนำฬิกำแดดคอยบอกเวลำ 1. ส่วนที่ 1 และ 4 2. ส่วนที่ 2 และ 3 3. ส่วนที่ 1 และ 3 4. ส่วนที่ 2 และ 4 10. ข้อใดมีคำประสมทุกคำ 1. คำขำด คำคม คำรำม 2. เดินแต้ม เดินรถ เดินสะพัด 3. น้ำป่ำ น้ำไหล น้ำมือ 4. ติดลม ติดใจ ติดขัด
  • 25. 25 11. ข้อใดไม่มีคำสมำส 1. วิสุทธโยธำมำตย์เจ้ำ กรมขวำ 2. หนึ่งชื่อรำชโยธำ เทพซ้ำย 3. ตำแหน่งศักดิ์ยศถำ เสถียรที่ 4. คุมพยุหยำตรำย้ำย ย่ำงเข้ำตำมสถำน 12. ข้อใดมีคำสมำสที่มีกำรสร้ำงคำต่ำงกับข้ออื่น 1. ขับคเชนทร์สำวก้ำว ส่ำยเสื้องเทำทำง 2. สถำนที่พุทธบำทสร้ำง สืบไว้แสวงบุญ 3. สุธำรสรับพระเต้ำ เครื่องต้นไปตำม 4. โดยเสด็จดำเนินแคล้ว คลำดคล้อยบทจร 13. ข้อใดสะกดถูกทุกคำ 1. เขำกินอำหำรมังสวิรัติทุกวันพุธมำสำมปีแล้ว 2. ที่ปำกทำงเข้ำหมู่บ้ำนมียำมรักษำกำรอยู่ตลอดเวลำ 3. คนที่ซื้อทองรูปพรรณต้องจ่ำยเงินค่ำกำเหน็จด้วย 4. เพื่อนเห็นเขำนั่งหลับจึงถำมว่ำเข้ำฌำนถึงชั้นไหนแล้ว 14. ข้อใดมีคำสะกดผิด 1. ดำวพระศุกร์ที่เห็นในเวลำเช้ำมืดเรียกว่ำดำวประกำยพรึก 2. ในสวนสำธำรณะมีคนมำออกกำลังกำยกันอยู่ประปรำย 3. กระบะที่ลงรักแบบญี่ปุ่นและจีนเรียกว่ำเครื่องกำมะลอ 4. ในภำวะเศรษฐกิจตกต่ำทุกครอบครัวต้องกระเบียดกระเสียน ใช้ข้อควำมในพจนำนุกรมต่อไปนี้ตอบคำถำม ข้อ 15-16 จวัก [จะหฺวัก] น. เครื่องใช้ตักแกงหรือตักข้ำว ทำด้วยกะลำมะพร้ำว มีด้ำมถือ, กระจ่ำ จ่ำ หรือ ตวัก ก็ว่ำ. จอ 1 น. ชื่อปีที่ 11 ของรอบปีนักษัตร มีหมำเป็นเครื่องหมำย. จอ 2 น. ผ้ำขำวที่ขึงไว้สำหรับเชิดหนังหรือฉำยภำพยนตร์ เป็นต้น; โดยปริยำยเรียกสิ่ง ที่มีลักษณะคล้ำยคลึงเช่นนั้น เช่น จอโทรทัศน์. จ่อ 1 ก. เอำสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ำไปใกล้หรือเกือบจดสิ่งอื่น เช่น เอำยำดมจ่อจมูก; มุ่งอยู่ เฉพำะกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักใช้เข้ำคู่กับคำ จด เป็น จดจ่อ เช่น เขำมีใจจดจ่อกับงำน. จ่อคิว (ปำก) ว. ใกล้ถึงลำดับที่จะได้หรือจะเป็น เช่น เขำจ่อคิวขึ้นเป็นหัวหน้ำ. จ่อ 2 (ถิ่น-อีสำน) น. ภำชนะสำนชนิดหนึ่ง รูปร่ำงอย่ำงกระด้ง มีไส้สำนเป็นช่องโค้ง อยู่ภำยใน ใช้เลี้ยงตัวไหม.
  • 26. 26 15. มีคำที่เป็นคำตั้งหรือแม่คำกี่คำ 1. 3 คำ 2. 4 คำ 3. 5 คำ 4. 6 คำ 16. มีคำที่ระบุว่ำใช้เฉพำะแห่งกี่คำ 1. 1 คำ 2. 2 คำ 3. 3 คำ 4. 4 คำ 17. คำภำษำอังกฤษในข้อใดใช้คำไทยแทนไม่ได้ 1. จินดำทำข้อสอบหลำยวิชำจนรู้สึกเบลอร์ไปหมด 2. จิตรำเป็นดีไซเนอร์ประจำห้องเสื้อที่มีชื่อเสียง 3. จินตนำไปหำหมอเพื่อใช้แสงเลเซอร์รักษำผิวหน้ำ 4. จิตรลดำเป็นวิสัญญีแพทย์ระดับอินเตอร์ของโรงพยำบำลนี้ 18. ข้อใดเป็นคำศัพท์บัญญัติจำกคำภำษำอังกฤษทุกคำ 1. จุลทรรศน์ จุลินทรีย์ จุลกฐิน 2. สังคม สังเครำะห์ สังโยค 3. สมมำตร สมมุติฐำน สมเพช 4. วิกฤตกำรณ์ วิจัย วิสัยทัศน์ 19. ข้อใดไม่มีคำยืมภำษำบำลีสันสกฤต ก. วันจะจรจำกน้องสิบสองค่ำ ข. พอจวนย่ำรุ่งเร่งออกจำกท่ำ ค. รำลึกถึงดวงจันทร์ครรไลลำ ง. พี่ตั้งตำแลแลตำมแพรำย 1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ก และ ค 3. ข้อ ข และ ง 4. ข้อ ค และ ง
  • 27. 27 20. ข้อใดใช้คำลักษณนำมไม่ถูกต้อง 1. เขำสำมำรถปฏิบัติตำมเงื่อนไขของหน่วยงำนได้ครบทุกข้อ 2. นักวิชำกำรเสนอข้อคิดเห็นไว้ในบทสรุปของรำยงำนหลำยประกำร 3. รัฐบำลมีปัญหำเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไขหลำยเรื่อง 4. คณะกรรมกำรกำลังพิจำรณำคำขวัญที่ส่งเข้ำประกวด 50 บท 21. ข้อควำมต่อไปนี้มีบุพบทและสันธำนกี่คำ คนไทยสมัยโลกำภิวัตน์ได้เปรียบคนไทยรุ่นก่อนในด้ำนที่มีควำมรู้กว้ำงขวำง เพรำะสำมำรถแสวงหำ ควำมรู้ได้จำกแหล่งต่ำงๆ ทั้งหนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ 1. บุพบท 1 คำ สันธำน 3 คำ 2. บุพบท 2 คำ สันธำน 3 คำ 3. บุพบท 1 คำ สันธำน 4 คำ 4. บุพบท 2 คำ สันธำน 4 คำ 22. ข้อควำมต่อไปนี้มีคำนำมและคำกริยำหลักอย่ำงละกี่คำ (ไม่นับคำซ้ำ) กำรกู้ยืมจะมีประโยชน์ต่อเมื่อเงินที่กู้มำนั้นใช้อย่ำงมีคุณภำพและสร้ำงรำยได้ เพื่อเพิ่มต้นทุนของเงิน จำนวนนั้น 1. นำม 4 คำ กริยำ 3 คำ 2. นำม 5 คำ กริยำ 4 คำ 3. นำม 6 คำ กริยำ 5 คำ 4. นำม 7 คำ กริยำ 6 คำ 23. ข้อใดเป็นประโยคควำมเดียว 1. เครื่องปั้นดินเผำก่อนประวัติศำสตร์ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลกคือเครื่องปั้นดินเผำที่บ้ำนเชียง 2. เครื่องปั้นดินเผำที่บ้ำนเชียงส่วนใหญ่เป็นหม้อลำยเขียนสีรูปวงกลมม้วนคล้ำยลำยก้นหอย 3. หลักฐำนทำงโบรำณคดีแสดงว่ำบ้ำนเชียงเป็นแหล่งอำรยธรรมสำคัญในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 4. คณะกรรมกำรมรดกโลกประกำศให้แหล่งโบรำณคดีบ้ำนเชียงเป็นมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2535 24. ข้อใดไม่ใช่ประโยคควำมซ้อน 1. คนไทยนิยมทำอำหำรตำมฤดูกำลซึ่งสอดคล้องกับธรรมชำติ 2. ปลำยฤดูฝนต้นฤดูหนำว อำกำศที่เปลี่ยนแปลงทำให้คนเป็นไข้หวัด 3. เย็นนี้แม่บ้ำนจะทำแกงส้มดอกแคและผัดผักรวม 4. เชื่อกันว่ำกำรรับประทำนแกงร้อนๆ จะช่วยแก้ไข้หวัดในระยะเปลี่ยนฤดูได้
  • 28. 28 25. ข้อใดไม่ใช่ประโยค 1. กำรดำเนินงำนธุรกิจหรือกำรประกอบอำชีพต้องมีควำมพอเพียง 2. เศรษฐกิจพอเพียงมิได้จำกัดเฉพำะเกษตรกรหรือชำวไร่ชำวนำเท่ำนั้น 3. เกษตรทฤษฎีใหม่เป็นระบบเศรษฐกิจที่เน้นให้เกษตรกรสำมำรถดูแลตัวเองได้ 4. กำรบริหำรจัดกำรเศรษฐกิจที่ทำให้คนสำมำรถดูแลตัวเองให้อยู่ได้โดยไม่เดือดร้อน 26. ข้อใดมีน้ำเสียงเชิงตำหนิ 1. ผู้จัดกำรบริษัทนำเที่ยวบริหำรงำนจนใครๆ ยกนิ้วให้ 2. ชำวบ้ำนรู้ตื้นลึกหนำบำงเป็นอย่ำงดีว่ำเขำร่ำรวยเพรำะอะไร 3. ไม่ว่ำแม่จะถำมควำมเห็นกี่ครั้ง ลูกสำวก็ยังยืนคำเหมือนเดิม 4. เวลำจะไปพักผ่อนต่ำงจังหวัด คุณแม่ก็จัดแจงจองที่พักล่วงหน้ำ 27. คำทุกคำในข้อใดใช้ได้ทั้งควำมหมำยตำมตัวและควำมหมำยเชิงอุปมำ 1. ปีนเกลียว ปิดฉำก ถูกขำ 2. ปิดตำ เฝ้ำไข้ เปลี่ยนมือ 3. วำงใจ เป่ำปี่ แก้เคล็ด 4. ปั่นหัว กินตะเกียบ ลงคอ 28. ข้อใดใช้คำถูกต้อง 1. เธอได้รับคำชมว่ำทำงำนเก่งมำกจนใครๆ ยกมือให้ 2. กำรแสดงดนตรีกว่ำจะยกเลิกก็เกือบสองทุ่ม 3. ผู้มีรำยได้ต่ำได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภำษีเงินได้ 4. ผู้ต้องขังที่มีควำมประพฤติดีจะได้รับกำรยกโทษลงครึ่งหนึ่ง 29. ข้อใดใช้คำฟุ่มเฟือย 1. ทหำรในขบวนสวนสนำมเดินอกผำยไหล่ผึ่ง 2. คุณยำยขอให้ฉันกับญำติที่บุกรุกที่ดินเลิกแล้วต่อกัน 3. ฉันต้องทนฟังเขำชี้แจงเหตุผลแม้จะไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. พ่อแม่ชื่นชมปีติยินดีที่ลูกสำวสำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำเอก 30. ข้อใดใช้ภำษำกำกวม 1. เด็กข้ำงบ้ำนวิ่งชนฉันหกล้มปำกแตก 2. คนขับรถถูกสั่งพักงำนฐำนละเลยหน้ำที่ 3. ก๋วยเตี๋ยวปลำแบบโบรำณในซอยนี้มีหลำยร้ำน 4. พวงมำลัยแบบนี้แม่ค้ำขำยฉันพวงละ 10 บำท
  • 29. 29 31. สำนวนในข้อใดเหมำะสมที่จะเติมในช่องว่ำงของข้อควำมต่อไปนี้ พวกเรำทำรำยงำนกันแทบตำย ส่วนเธอไม่ช่วยทำอะไรเลยแม้แต่จะหำข้อมูล พอเสร็จแล้วจะมำ ....................... ขอลงชื่อว่ำทำกลุ่มเดียวกับเรำได้อย่ำงไร 1. เก็บดอกไม้ร่วมต้น 2. เก็บเบี้ยใต้ถุนร้ำน 3. ตกกระไดพลอยโจน 4. ชุบมือเปิบ 32. สำนวนในข้อใดไม่เกี่ยวกับกำรพูด 1. พอก้ำวขำก็ลำโรง 2. ละเลงขนมเบื้องด้วยปำก 3. ไปไหนมำสำมวำสองศอก 4. น้ำร้อนปลำเป็น น้ำเย็นปลำตำย 33. ข้อควำมต่อไปนี้ส่วนใดใช้ภำษำต่ำงระดับกับส่วนอื่น 1) สัตว์หลำยชนิดมีประสำทสัมผัสพิเศษที่สำมำรถรับรู้ภัยธรรมชำติล่วงหน้ำได้ / 2) ฝูงมดที่กรูเกรียว กันขึ้นมำจำกพื้นดินบอกให้เรำรู้ว่ำฝนจะตกหนักในไม่ช้ำนี้ / 3) ถ้ำฝูงแมลงสำบพำกันไต่ออกมำจำกที่ซ่อน วิ่งพล่ำนไปทุกทิศทุกทำง / 4) เป็นสัญญำณว่ำจะมีพำยุและฝนฟ้ำคะนองตำมมำแน่ๆ 1. ส่วนที่ 1 2. ส่วนที่ 2 3. ส่วนที่ 3 4. ส่วนที่ 4 34. ข้อใดใช้ภำษำต่ำงระดับกับข้ออื่น 1. โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังอักเสบเป็นโรคที่เกิดขึ้นแก่เด็กมำกกว่ำผู้ใหญ่ 2. ในตอนแรกนี้ คุณหมอขอกล่ำวถึงเรื่องของผิวหนังแห้งก่อนครับ 3. ลูกน้อยควรจะใช้ครีมที่มีควำมเข้มข้น ไม่ใช้โลชั่นซึ่งผสมน้ำมำก 4. น้องหนูต้องใช้ครีมบำรุงผิวทันทีหลังอำบน้ำ ไม่เช่นนั้นผิวน้องหนูจะแห้งยิ่งขึ้น 35. ข้อใดไม่ใช้สำนวนภำษำต่ำงประเทศ 1. ในสภำวะปัจจุบันพบว่ำโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ปรำกฏในกลุ่มคนอำยุ 35-45 ปี มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี 2. โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ จึงไม่ได้เป็นโรคที่เกิดแก่ผู้สูงอำยุอีกต่อไป 3. ในกรณีของหลอดเลือดหัวใจที่ยังตีบไม่มำก เรำอำจไม่รู้สึกอำกำรใดๆ เลย 4. บ่อยครั้งที่อำกำรต่ำงๆ จะเกิดขึ้นต่อเมื่อหลอดเลือดหัวใจตีบไปสูงกว่ำ 70% ขึ้น