SlideShare a Scribd company logo
1 of 157
Download to read offline
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics


                                                     คานา
         การดําเนินโครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ
(The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology,
Engineering and Mathematics (STEM) โดยสถาบันวิทยาศาสตร์ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นกิจกรรมที่มีจุดมุํงหมายในการ สร๎างแกนนําในการพัฒนา
ความรู๎ความเข๎าใจการจัดการเรียนการสอน           STEM และการนําไปใช๎ในการพัฒนาการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์อยํางยั่งยืน ตลอดจนเป็นการสํงเสริมให๎เกิดเครือขํายการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน
STEM ให๎มีประสิทธิภาพ
         รายงานฉบับนี้เป็นการสรุปผลของการเข๎ารํวมโครงการ สัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
แบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science,
Technology, Engineering and Mathematics (STEM) โดยคณะครูและศึกษานิเทศ ก์ผู๎เข๎ารํวมโครงการ
เพื่อ รายงานสรุป ผลการดําเนิน งานตํอหนํวยงานต๎นสังกัด ตลอดจนเพื่อเผยแพรํผลของการดําเนินงาน
ตํอหนํวยงานและบุคคลทั่วไปอันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการสร๎างเครือขํายความรํวมมือและการแลกเปลี่ยนความรู๎
ประสบการณ์แกํบุคคลที่ สนใจ ข๎อมูลในรายงานเป็นการสรุปผลการเข๎ารํวมโครงการตามขั้นตอนตํางๆ
นับตั้งแตํเริ่มเดินทางจนกระทั่งถึงวันสุดท๎ายของการทํากิจกรรม เป็นการนําเสนอข๎อมูล  การทํากิจกรรม
ทุกรายการในกําหน ดการ รวมทั้งเป็นรายงานการวิเคราะห์ผลความสําเร็จและการใช๎ประโยชน์ของแตํละ
กิจกรรมในการพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ รูปแบบของรายงานเป็นการเขียนเชิงพรรณนาและ
มีรูปภาพประกอบแตํละหัวข๎อ โดยมีองค์ประกอบสําคัญของหัวข๎อที่นําเสนอได๎แกํ รายละเอียดหรื อขั้นตอน
การทํากิจกรรม ข๎อค๎นพบจากกิจกรรม และแนวทางหรือข๎อเสนอแนะตํอการนําไปประยุกต์ใช๎ ซึ่งคณะผู๎จัดทํา
หวังวําข๎อมูลรายงานสรุปฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ตํอการพัฒนาวิทยาศาสตร์ศึกษาในประเทศไทยตํอไป
       ขอขอบพระคุณผู๎มีสํวนเกี่ยวข๎องทุกทําน และขออุทิศผลอันเกิดจากคุณปร                 ะโยชน์ใดๆ ที่เกิดจาก
โครงการครั้งนี้ให๎แกํผู๎มีพระคุณทุกทําน


                                                               คณะผู๎จัดทํา
                                                             พฤศจิกายน 2555




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

                                           บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
บทนา
               ปัจจุบันองค์ความรู๎ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์                (Science,
Technology, Engineering, and Mathematics (STEM)) นับเป็นรากฐานสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ จากการศึกษาและงานวิจัย พบ วํา ประเทศใดที่ประชากรมีระดับพื้ นฐานความรู๎ STEM
อยูํในระดับสูงก็อนุมานได๎วํา ประเทศนั้นมีความได๎เปรียบทางด๎านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงสํงผลให๎
ประเทศตํ างๆ ได๎เริ่มสํงเสริมให๎มีการพัฒนาการเรียนการสอน STEM เป็นประเด็นสําคัญในการพัฒนา
วิทยาศาสตร์ศึกษาในศตวรรษที่ 21
               จากความสําคัญของการจัดการเรียนการสอน STEM ดังกลําว สถาบันวิทยาศาสตร์
สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จึงได๎มีความรํวมมือทางวิชาการกับ State University of New York
at Cortland ผําน MOU ซึ่งได๎ลงนามระหวํางสองหนํวยงานในปี พ .ศ.๒๕๔๔ ในการสัมมนาพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการ
เรียนการสอน Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM Learning)เพื่อเสริมสร๎าง
ความเข๎าใจให๎กับครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้งนี้จะทําให๎ผู๎ที่เกี่ยวข๎องกับการพัฒนาครูทั้งกํอนและ
ขณะประจําการสามารถกําหนดแนวทางในการพัฒนาให๎ครูมีความรู๎ความเข๎าใจการจัดการเรียนการสอน
STEM อยํางถูกต๎องและสามารถนําไปบูรณาการในการเรียนการสอนได๎
ผลการสัมมนา
           การสัมมนา ศึกษา ดูงาน การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ณ เมือง Cortland , New York
สหรัฐอเมริกา ระหวํางวันที่ 29 กันยายน -15 ตุลาคม 2555 สรุปผลการสัมมนา ดังนี้
ด้านการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์
1. การพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
           จากประสบการณ์ที่ได๎รับจากการเข๎ารํวมโครงการครั้งนี้พบวําการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ของประเทศสหรัฐอเมริกาโดยสํวนใหญํมุํงเน๎นการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎โดยใช๎แนวทางการสืบเสาะหาความรู๎
(inquiry) ที่มุํงพัฒนาให๎ผู๎เรียนสามารถเรียนรู๎จากการทํา กิจกรรมให๎ผู๎เรียนสืบเสาะหาความรู๎จากการลงมือ
ปฏิบัติแล๎วเชื่อมโยงไปสูํ การสร๎าง องค์ความรู๎ โดยที่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไมํได๎เน๎นการถํายทอด
เนื้อหาความรู๎แกํผู๎เรียนเพียงอยํางเดียว แตํเป็นการสํงเสริมให๎ผู๎ เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์
อยํางเป็นกระบวนการ มีเหตุมีผลด๎วยการสืบเสาะหาความรู๎จากสื่อและแหลํงเรียนรู๎ที่หลากหลาย มีความ
ทันสมัย จากแนวคิดในการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ในรูปแบบ ดังกลําว สามารถนํามาพัฒนาแนวคิดหรือ
ปรัชญาในการจัดการศึก ษาวิทยาศาสตร์ของไทยให๎มีการมุํงเน๎นในด๎านทักษะกระบวนการและธรรมชาติ
ของวิทยาศาสตร์ให๎มากขึ้น ควรให๎ความสําคัญตํอการสอนเนื้อหาลง โดยมุํงเน๎นการนํากระบวนการสืบเสาะ
ความรู๎ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry) มาใช๎เป็นเครื่องมือในการจัดกิจก รรมให๎มากขึ้น เนื่องจากการ
สืบเสาะความรู๎ทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการเรียนรู๎ที่มุํงให๎ผู๎เรียนสร๎างองค์ความรู๎ใหมํด๎วยตนเอง โดยผําน
กระบวนการคิดและปฏิบัติ และใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือ ในการจัดกิจกรรม ควรกระตุ๎น

สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                      เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

ให๎ผู๎เรียนเกิดความสงสัยใครํรู๎ แล๎วให๎ผู๎เรียนตั้งใจรวบรวมข๎อมูลและหลักฐานโดยใช๎กระบวนการกลุํม มีครูเป็น
ผู๎คอยชํวยเหลือให๎คําแนะนําและเป็นที่ปรึกษาคอยชํวยเหลือ ให๎นักเรียนเชื่อมโยง ความรู๎ที่มี กับความรู๎ใหมํ
จนกระทั่งเกิดองค์ความรู๎ในเรื่องที่สนใจศึกษาแล๎วสามารถเชื่อมโยงนําความรู๎ไปประยุกต์ใช๎ ได๎ ทั้งนี้การสืบ
เสาะหาความรู๎แบํงออกเป็น 4 ระดับ คือการสืบเสาะหาความรู๎แบบยืนยัน (Confirmed Inquiry) แบบนําทาง
(Directed Inquiry) แบบชี้แนะแนวทาง (Guided Inquiry) และแบบเปิด (Open Inquiry) โดยผู๎สอนอาจเริ่ม
จัดกิจกรรมจากการสืบเสาะหาความรู๎ในระดับยืนยันกํอนเพื่อให๎ผู๎เรียนคุ๎นเคยกับกระบวนการสร๎างองค์ความรู๎
ไปทีละขั้น จนสามารถพัฒนาไปถึงการสืบเสาะหาความรู๎แบบเปิดได๎ ซึ่งการนําแนวคิดการจัดกิจกรรม
ดังกลําวไปใช๎ เชื่อวําจะทําให๎เกิดประสิทธิผลในการเรียนรู๎ทางวิทยาศาสตร์ของผู๎เรียนมากยิ่งขึ้น
2. การใช้และการพัฒนาเอกสาร สื่อ และแหล่งเรียนรู้ในกระบวนการจัดกิจกรรม
           จากการเข๎ารํวมการสังเกตการณ์ในห๎องเรียนวิทยาศาสตร์ทั้งใน State University of New York
at Cortland และในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนมัธยมศึกษา Tully High School พบวําการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนจะมีการใช๎เอ กสาร หนังสือ สื่อการสอนและแหลํงเรียนรู๎ที่มีความสอดคล๎อง
เชื่อมโยงกัน เป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีความทันสมัยและมุํงเน๎นให๎ผู๎เรียนใช๎สื่อในการเรียนรู๎จากการ
สืบค๎นหาความรู๎ การลงมือปฏิบัติโดยใช๎ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยํางแท๎จริง เชํน การเลือกใช๎
หนังสือเรียนที่มีสื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประกอบการจัดกิจกรรมหรือการสืบเสาะหาความรู๎ในแตํละ
สาระสําคัญ มีการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีในรูปแบบของห๎องปฏิบัติการเสมือนหรือสื่อแอนนิเมชั่นมาใช๎
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ นอกจากนี้ยังมีการใช๎โมเดลประกอบในการ เรียนรู๎เพื่อสร๎างความเข๎าใจ
ในองค์ความรู๎แตํละเรื่องให๎ชัดเจน มีการเลือกใช๎สื่อที่เกี่ยวข๎องกับสถานการณ์ในชีวิตประจําวันอยํางเหมาะสม
จากประสบการณ์ดังกลําวจึงเป็นปัจจัยสํงเสริมให๎ผู๎เข๎ารํวมโครงการมีวิสัยทัศน์ในการผลิต การพัฒนาและการ
เลือกใช๎เอกสาร สื่อ และแหลํงเรียนรู๎ประกอบการจัดการเรียนการสอนให๎มีประสิทธิภาพตํอการเรียนรู๎ของ
ผู๎เรียนมากขึ้น
3. การพัฒนาทักษะ และเทคนิคการใช้กลวิธีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
           ดังที่ได๎กลําวไปแล๎ววําการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในประเทศสหรัฐอเมริกา
เป็นการเรียนการสอนที่มุํงให๎ผู๎เรียนสืบเสาะหาความรู๎โดยใช๎ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการลงมือ
ปฏิบัติ ดังนั้นครูผู๎สอนจึงไมํได๎มีบทบาทเป็นเพียงผู๎ถํายทอดเนื้อหาความรู๎เทํานั้น แตํครูผู๎สอนจะทําหน๎าที่เป็นผู๎
อํานวยความสะดวก จัดบรรยากาศและสภาพแว ดล๎อม ตลอดจนจัดหาสื่อและแหลํงเรียนรู๎ให๎ผู๎เรียนใช๎สร๎าง
ประสบการณ์ที่จะนําไปสูํการสร๎างองค์ความรู๎ตํอไป ด๎วยเหตุดังกลําวจึงพบวําครูผู๎สอนมักจะใช๎กลวิธี
ที่หลากหลายในการกระตุ๎นให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎ตามกระบวนการของการเรียนรู๎ทางวิท ยาศาสตร์ ครูต๎อง
รู๎จักการใช๎คําถามกระตุ๎นผู๎เรียน รู๎จักใช๎เทคนิควิธีสํงเสริมให๎ผู๎เรียนเรียนรู๎จากสื่อและแหลํงเรียนรู๎ตํางๆ มีกลวิธี
ในการจัดกิจกรรมให๎ผู๎เรียนลงมือปฏิบัติอยํางเหมาะสมตํอธรรมชาติและพื้นฐานความสามารถในการเรียนรู๎
ของผู๎เรียนแตํละคน โดยกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะดังกลําวจะสํงผลให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎อยําง
ชัดเจนและเป็นความรู๎ที่คงทน ในขั้นตอนของการทํากิจกรรมจะสังเกตเห็นบรรยากาศของการเรียน


สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

แบบรํวมมือ การชํวยเหลือซึ่งกันและกัน ทําให๎เกิดผลของการเรียนรู๎อยํางแท๎จริง จากข๎อสังเก     ตดังกลําว
ผู๎เข๎ารํวมโครงการจึงสามารถนํามาประยุกต์ใช๎ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของตน โดยควรให๎
ความสําคัญตํอการใช๎เทคนิควิธีในการกระตุ๎นและอํานวยความสะดวกให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎อยํางอิสระด๎วย
การใช๎กลวิธีตํางๆ อาทิ กลวิธีทํากิจกรรมกํอนเข๎าสูํเนื้อหา (ABC, Activity Before Content) กลวิธีคิดเดี่ยว
คิดคูํ (Think pair share) กลวิธีจิ๊กซอว์ (Jigsaw) กลวิธีทํานาย สังเกต อธิบาย (POE, predict observe
explain) ฯลฯ อยํางไรก็ตามการจัดกิจกรรมตํางๆ ควรฝึกให๎ผู๎เรียนมีโอกาสได๎เรียนรู๎และทํางานเป็นกลุํมไป
พร๎อมกันด๎วย
4. การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์
           ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ของไทยอาจมีสาเหตุมาจากปัจจัยสําคัญอยํางหนึ่งนั่นคือ
หลักสูตรวิทยาศาสตร์ที่ให๎ความสําคัญกับเนื้อหามากกวํากระบวนการเรียนรู๎ และบริบทในการเรียนรู๎
ของผู๎เรียน โดยเฉพาะหลักสูตรวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทําให๎ผู๎เรียนต๎องใช๎เวลากับการ
เรียนเนื้อหามากเกินไปทําให๎ไมํเกิดทักษะวิทยาศาสตร์ขึ้นอยํางแท๎จริง ดังนั้นเพื่อพัฒนาผู๎เรียนให๎เกิดทักษะ
และมีคุณลักษณะความเป็นนักวิทยาศาสตร์อยํางมีคุณภาพ จึงควรมีการพัฒนาหลักสูตรที่มีความสอดคล๎องกับ
บริบททางการเรียนรู๎ของผู๎เรียนในแตํละสถานศึกษา เป็นหลักสูตรที่สํงเสริมให๎ผู๎เรียนได๎ฝึกทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์อยํางจริงจัง มีความสอดคล๎องกับท๎องถิ่นและบูรณาการให๎ผู๎เรียนได๎เรียนรู๎จากสถานการณ์
ในชีวิตประจําวันหรือบริบทใกล๎ตัวให๎มากยิ่งขึ้น
5. การใช้ภาษาอังกฤษในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
            การเข๎ารํวมโครงการในครั้งนี้ เป็นการจัดกิจกรรมที่ทําให๎ผู๎เข๎ารํวมโครงการมีโอกาสได๎พัฒนาทักษะ
การใช๎ภาษาอังกฤษโดยตรงจากการสื่อสาร การฟังบรรยายและการอํานเอกสารหรือข๎อความตํางๆ
ตลอดระยะเวลาของการเข๎ารํวมโครงการในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งโอกาสดังกลําวนับเป็นการกระตุ๎นให๎
ผู๎เข๎ารํวมโครงการมีการพัฒนาตนเองในด๎านทักษะภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะทักษะในการอําน การฟังและ
การพูดสื่อสาร นอกจากนี้ยังนับเป็นการสร๎างแรงบันดา ลใจให๎ผู๎เข๎ารํวมโครงการเกิดการพัฒนาตนเองอยําง
ตํอเนื่อง มีความตั้งใจที่จะใช๎ภาษาอังกฤษในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ซึ่งสํงผลดีตํอ
นโยบายการสํงเสริมให๎เกิดการพัฒนาบุคลากรในด๎านการใช๎ภาษาอังกฤษและรองรับการเตรียมตัวเข๎าสูํ
การเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียนอีกด๎วย
6. การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
           ระบบการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาให๎ความสําคัญตํอการดูแลชํวยเหลือนักเรียนเป็นอยํางมาก
มีระเบียบและข๎อปฏิบัติในการดูแลรักษาสิทธิ์ของนักเรียนอยํางเครํงครัด เชํน การไมํอนุญาตให๎ถํายภาพ
เจาะจงสําหรับนักเรียนแตํละคนโดยไมํได๎รับอนุญาตจากผู๎ปกครองหรือครูผู๎ดูแลนักเรียน การให๎ความสําคัญ
ตํอสิทธิเสรีภาพในการเรียนรู๎อยํางเทําเทียม การดูแลความปลอดภัยของนักเรียนอยํางเข๎มงวด เชํน ในเวลาที่
มีรถนักเรียนจอดรับนักเรียนที่จุดใดในเมือง Cortland รถที่จะแลํนผํานบริเวณนั้นต๎องหยุดทั้งสองฝั่งของถนน
เพื่อปูองกันไมํให๎เกิดอุบัติเหตุขึ้นกับนักเรียน นอกจากนี้ยังให๎ความสําคัญตํอระดับพื้นฐานความสามารถเฉพาะ

สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

แตํละบุคคลเป็นอยํางมาก สถานศึกษาจะมีการคัดกรองนักเรียนอยํางละเอียด เพื่อจะได๎จัดการศึกษาให๎แกํ
นักเรียนได๎อยํางเหมาะสม ในกรณี พบนักเรียนที่มีความบกพรํองก็จะต๎องจัดให๎มีระบบดูแลชํวยเหลือเฉพาะ
รวมทั้งมีการจัดการศึกษารองรับความผิดปกติของนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการจัดเตรียมบุคลากรที่มีความ
เชี่ยวชาญเฉพาะทางไว๎ดูแลนักเรียนโดยตรง จากประสบการณ์ดังกลําวผู๎เข๎ารํวมโครงการสามารถที่จะนํา
ความรู๎เหลํานี้มาประยุกต์ใช๎ให๎เหมาะสมในการดูแลชํวยเหลือนักเรียนของตนตํอไป
ด้านการขับเคลื่อนนโยบายทางวิทยาศาสตร์ศึกษา
             ปัจจุบันรัฐมีนโยบายในการสํงเสริมทางด๎านวิทยาศาสตร์ศึกษา โดยมุํงเน๎นการพัฒนากระบวนการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุํงเน๎นให๎เด็กได๎พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยํางแท๎จริง สํงเสริม
การพัฒนาผู๎ที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีให๎มีปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสม
ตํอความต๎องการในการพัฒนาประเทศ มีการสํงเสริมให๎เกิดการใช๎สื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข๎ามาใช๎ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาครูผู๎สอนให๎มีความรู๎ความสามารถและทักษะในการจัดการเรียนการ
สอนอยํางมีคุณภาพ สํงเสริมให๎มีรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย ซึ่ง โครงการสัมมนาการพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริม
การเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM) นับเป็นโครงการหนึ่ง
ที่มีประโยชน์ตํอการขับเคลื่อนนโยบายทางด๎านการสํงเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เนื่องจากเป็นการจัด
กิจกรรมที่สํงเสริมให๎ครูและศึกษานิเทศที่เข๎ารํวมโครงการมีประสบกา รณ์ในการเรียนรู๎เทคนิควิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (STEM) โดยตรงจากการ
ฟังบรรยาย การเข๎ารํวมกิจกรรมการเรียนรู๎ในรายวิชาทางด๎านการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
ใน State University of New York at Cortland และการสังเกตชั้นเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา นอกจากนี้
ผู๎เข๎ารํวมโครงการยังได๎ศึกษาเรียนรู๎เทคนิควิธีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ที่ฝึกให๎ผู๎เรียนเกิดทักษะการ
สืบเสาะหาความรู๎และการใช๎ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสร๎างองค์ ความรู๎ อาทิ เทคนิคการจัด
กิจกรรมการเรียนรู๎เกี่ยวกับปรากฏการณ์ข๎างขึ้นข๎างแรม (Moon Phases) เทคนิคการใช๎โมเดลในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ เทคนิคการใช๎นิทานเป็นสื่อ เทคนิคการจัดกิจกรรมรถไฟเหาะตีลังกา
(Rollercoaster) ในการฝึกให๎ผู๎เรียนแกํไขปัญหาโดย ใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นต๎น กิจกรรม
การเรียนรู๎เหลํานี้ทําให๎ผู๎เข๎ารํวมโครงการเกิดความรู๎ ความเข๎าใจ ทักษะปฏิบัติ ตลอดจนเกิดทัศนคติอันดี
ทางด๎านการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น สํงผลให๎เกิดความเชี่ยวชาญในการจัดกิจกรรมการสืบเสาะ
ความรู๎และการรู๎สํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์อยํางหลากหลายและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้การพัฒนาที่เกิด
ขึ้นกับผู๎เข๎ารํวมโครงการสํงผลให๎เกิดกลุํมผู๎นําในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของประเทศไทยให๎มีความก๎าวหน๎าทั้งจากการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยตรง การถํายทอดขยายผล
ตํอผู๎รํวมงานในโอกาสตํางๆ เชํน การเป็นวิทยากรในการฝึกอบรม การประชุมสัมมนา ตลอดจนการนําเสนอ
ข๎อคิดเห็นหรือแนวทางในการพัฒนาตํอผู๎บริหารการศึกษาในระดับตํางๆ เป็นต๎น การเผยแพรํและแลกเปลี่ยน
ความรู๎และประสบการณ์ผํานการนําเสนอผลงาน การเขียนบทความทางวิชาการ ตลอดจนการสร๎างสรรค์งาน


สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

ในความรับผิดชอบให๎เกิดผลเป็นที่ประจักษ์ สามารถเป็นตัวอยํางให๎บุคคลอื่นๆ นําไปพัฒนาตํอได๎
ซึ่งกระบวนการดังกลําวจะมีผลทําให๎การขับเคลื่อนนโยบายทางวิทยาศาสตร์ศึกษาประสบความสําเร็จได๎ที่สุด
ด้านการเรียนรู้วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
           กิจกรรมการสัมมนาและการศึกษาดูงานยังตํางประเทศในครั้งนี้ เป็นกิจกรรมที่ทําให๎ผู๎เข๎ารํวม
โครงการได๎รับประสบการณ์และเกิดการเรียนรู๎เกี่ยวกับวัฒนธรรมและสิ่งแวดล๎อมที่แตกตํางกันระหวํางสังคม
ตะวันตกกับวัฒนธรรมไทยได๎โดยตรง นับตั้งแตํกํอนเข๎ารํวมโค รงการที่ผู๎เข๎ารํวมโครงการทุกคนจะต๎อง
ทําการศึกษาข๎อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี ระเบียบปฏิบัติตน ข๎อมูลในด๎านสภาพอากาศและสิ่งแวดล๎อม
สภาพทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการเตรียมตัวในด๎านภาษาและข๎อมูลอื่นๆ ให๎มีความพร๎อมที่จะนําไปใช๎ปฏิบัติใน
ระหวํางการเข๎ารํวมโครงการ นอกจา กนี้เมื่อเข๎ารํวมกิจกรรมตํางๆ ทําให๎ครูและศึกษานิเทศก์ทุกทํานได๎มี
โอกาสปะทะสังสรรค์และมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับชาวตํางชาติ ทั้งผู๎ที่เป็นวิทยากร นักเรียนนักศึกษาและบุคคล
ทั่วไปในระหวํางที่ใช๎ชีวิตอยูํในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา ทําให๎เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู๎
วัฒนธรรมซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ในระหวํางการศึกษาดูงานผู๎เข๎ารํวมโครงการยังได๎เรียนรู๎เกี่ยวกับ
สภาพแวดล๎อมและการจัดการอาคารสถานที่ตํางๆ ทั้งในสถานศึกษาและในชุมชนที่พักอาศัย ซึ่งข๎อมูลตํางๆ
เหลํานี้ล๎วนมีประโยชน์ในการนํามาประยุกต์ใช๎ในการทํางานและการใช๎ชี          วิต และยังสามารถถํายทอด
ประสบการณ์ให๎แกํนักเรียน เพื่อนรํวมงาน รวมทั้งบุคคลทั่วไปได๎เป็นอยํางดีอีกด๎วย ซึ่งผลที่เกิดขึ้นดังกลําวยังมี
ความสําคัญตํอการเตรียมบุคลากรทางการศึกษาให๎มีความพร๎อมในระดับสากล เป็นการพัฒนาบุคลากรให๎มี
คุณภาพเพื่อรองรับนโยบายการเข๎าสูํประชาคมอาเซียนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล๎นี้
         จากบทสรุปประสบการณ์และประโยชน์จากการดําเนินโครงการดังที่ได๎กลําวไปแล๎ว จะเห็นได๎วํา
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of
Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics
(STEM) เป็นโครงการที่ทําให๎เกิดผลอยํางชัดเจนตํอการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ศึกษา
ในประเทศไทย ภาพความสําเร็จของโครงการที่เกิดขึ้นนอกจากจะสํงผลโดยตรงตํอวิสัยทัศน์ในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน สํงผลตํอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนและเป็นการพัฒนา
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ศึกษาในปัจจุบันแล๎ว โครงการดังกลําวนี้ยังสามารถขยายผลให๎เกิดวิสัยทัศน์
การพัฒนาอยํางยั่งยืนตํอวงการวิทยาศาสตร์ศึกษาในอนาคต นับเป็นการกระตุ๎ นสํงเสริมให๎การจัดการศึกษา
วิทยาศาสตร์มีคุณภาพในระดับสากลตํอไป




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
           ผู๎บริหารสถานศึกษา
               1. สํงเสริมให๎ครูจัดการเรียนการสอนที่เน๎นกระบวนการคิด พัฒนาด๎านความรู๎
และความสามารถในการจัดการเรียนการสอน จัดสรรสื่อและงบประมาณในการพัฒนาอยํ างเพียงพอ
               2. ให๎ความสําคัญตํอการพัฒนางานวิชาการ นิเทศภายในอยํางเป็นระบบและสม่ําเสมอ
               3. ลดภาระงานอื่นของครูที่ไมํเกี่ยวข๎องกับการเรียนการสอน เพื่อให๎ครูมีเวลา ในการ
วางแผนการสอน
               4. วิเคราะห์และสรุปผลการจัดการศึกษาทุกภาคเรียน
               5. จัดสรรงบประมาณให๎ครูนําไปใช๎พัฒนาตนเองในการจัดการเรียนการสอนตามความสนใจ
               6. ให๎บริการด๎านสวัสดิการภายในโรงเรียนตามความต๎องการของครูอยํางเพียงพอ
               7. ยกยํอง ชมเชย และมอบรางวัลแกํครูที่ประสบความสําเร็จในจัดการเรียนการสอน

           ผู๎บริหารการศึกษาระดับสูง
               1. จัดสรรอัตรากําลังครูให๎พอเพียงกับจํานวนนักเรียน
               2. กําหนดกฎ ระเบียบ เกี่ยวกับอัตรานักเรียนตํอชั้นเรียนให๎น๎อยลง เพื่อสะดวกตํอการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน
               3. ปรับปรุงกระบวนการผลิตครูให๎สามารถจัดการเรียนการสอนได๎อยํางมีคุณภาพ
               4. ประเมินคุณภาพของครูทุก 3-5 ปี




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                         เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

                                                       สารบัญ

         เรื่อง
บทนํา
วันที่หนึ่ง 29 กันยายน 2555
           - กิจกรรมการออกเดินทางจากประเทศไทยไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา
วันที่สอง 30 กันยายน 2555
           - แลลํองทํองเมือง เรียนรู๎วิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเป็นอยูํและสภาพบ๎านเมือง
             ของเมือง Cortland
           - กิจกรรมการศึกษาแหลํงเรียนรู๎เสริมประสบการณ์ที่ Ithaca Farmer's Market
             ตลาดนัดผลิตผลทางการเกษตร
           - เยี่ยมชม Taughannock Falls น้ําตกที่สูงที่สุดในนิวยอร์ค
วันที่สาม 1 ตุลาคม 2555
           - กิจกรรม Campus Tour เยี่ยมชมและทําความรู๎กับ State University of
             NewYork at Cortland
วันที่สี่ 2 ตุลาคม 2555
           - สังเกตการสอนวิชาพื้นฐานทางการศึกษา
           - สังเกตการสอนวิชาAnatomy – Physology
           - สังเกตการสอนและรํวมกิจกรรมการเรียนวิชา ICT for Education
วันที่ห๎า 3 ตุลาคม 2555
           - สังเกตการสอนวิชา Teaching Science
           - สังเกตการสอนวิชา Teaching Elementary Science
           - สังเกตการสอนวิชา Geology
           - สังเกตการสอน เรียนรู๎เกี่ยวกับ Multi-stage, Binary Classify
           - เยี่ยมชมสวนสาธารณะ เมือง Cortland
วันที่หก 4 ตุลาคม 2555
           - สังเกตการสอนของคณะวิทยาศาสตร์ในวิชา Biology514 Mammalian
             Physiology Lab#6 Muscle Physiology
           - สังเกตการสอนวิชา Advance computer Mapping โดยDr.Miller เกี่ยวกับ
             การใช๎ ESRI software ในทางปฏิบัติการภูมิศาสตร์
           - สังเกตการสอนวิชา Earth science lab for elementary teachers (Hydrology)
วันที่เจ็ด 5 ตุลาคม 2555
           - เข๎ารํวมอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการศึกษาในศตวรรษที21    ่
             การใช๎แบบจําลองในการสอนวิทยาศาสตร์ กับ Dr. Orvil L. white
           - สังเกตการสอนวิชา Biology
           - ฟังบรรยายวิชา การศึกษาพิเศษ กับ Dr.Chirst
           - รํวมรับประทานอาหารค่ํา ทีบ๎านของ Dr.Orvil L. White
                                           ่

สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                         เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

         เรื่อง                                                                                               หน้า
วันทีแปด 6 ตุลาคม 2555
     ่
 -                         รํวมเทศกาลฟักทองเมืองคอร์ทแลนด์ The Great cortland pumpkinfest
วันทีเก้า 7 ตุลาคม 2555
       ่
                         - เยี่ยมชม Apple Cider
                         - เยี่ยมชม Indian Camp
วันทีสิบ 8 ตุลาคม 2555
         ่
                         - เยี่ยมชม Cornell University
                         - เยี่ยมชม เมือง Ithaca
                         - รํวมรับประทานอาหารค่ํา ทีบ๎านของทําน ผอ.อังสนา พันธุ์เจริญ
                                                       ่
วันทีสิบเอ็ด 9 ตุลาคม 2555
           ่
                         - ฟังบรรยายเกี่ยวกับ ระบบการบริหารจัดการในการสํงนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
                         - รํวมกิจกรรมแกะสลักฟักทอง
                         - รํวมกิจกรรมการทดลองเรื่องการเปลี่ยนสีของใบไม๎
                         - สังเกตการสอน วิชาปฏิบัติการชีววิทยา เรื่องพืช
วันทีสิบสอง 10 ตุลาคม 2555
             ่
                         - ศึกษาดูงานและสังเกตการสอน โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา Tully Central Schools
                         - เข๎ารํวมกิจกรรม Round table เกี่ยวกับประเทศไทย
                           ณ Tompkins Cortland Communities College
วันทีสิบสาม 11 ตุลาคม 2555
               ่
                         - รํวมกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Inquiry กับกิจกรรม Roller Closter
                         - สังเกตการสอน เรื่อง Accommodations for Students with Disabilities
                           In Your Science Classroom
                         - รํวมกิจกรรมสาธิตการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท
วันทีสิบสี่ 12 ตุลาคม 2555
                 ่
                         - รํวมพิธีปิดโครงการและงานเลี้ยงของมหาวิทยาลัย
                         - เดินทางไป Niagara Falls
วันทีสิบห้า 13 ตุลาคม 2555
                   ่
                         - เยี่ยมชม Niagara Falls
                         - เดินทางไปประเทศแคนาดา
                         - เยี่ยมชมแหลํงเรียนรู๎ตํางๆ ของประเทศแคนาดา
วันทีสิบหก 14 ตุลาคม 2555
                     ่
                         - เดินทางกลับจากประเทศแคนาดา
                         - ลงเรือ Maid of the Mist เยี่ยมชมความงามของ Niagara Falls อยํางใกล๎ชิด
                         - เดินทางกลับ เมือง Cortland
วันทีสิบเจ็ด 15 ตุลาคม 2555
                       ่
                         - ออกเดินทางจากประเทศสหรัฐอเมริกากลับสูํประเทศไทย
บทสรุป

สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics


                                                          บทนา
  โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of
     Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and
         Mathematics (STEM Education) ระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 15 ตุลาคม 2555
     ณ State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา
โครงการ         การฝึกอบรมเชิงปฏิบติการการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ
                                  ั
                (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science,
                Technology , Engineering ,and Mathematics (STEM learning) ณ State University
                of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกา
แผนงาน          ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา รหัสบัญชี04-045
                โครงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
กิจกรรม         พัฒนาคุณภาพ คนไทยยุคใหมํ (โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และ
                คณิตศาสตร์) งบรายจํายอื่น
กิจกรรมย่อย 141
หน่วยงานที่รับผิดชอบ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ระยะเวลาดาเนินงาน กันยายน 2555
                                            -------------------------------------------

หลักการและเหตุผล
         ปัจจุบันองค์ความรู๎ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (Science, Technology
,Engineering ,and Mathematics (STEM)) นับเป็นรากฐานสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
จากการศึกษาและงานวิจัยพบวําประเทศใดที่ประชากรมีระดับพื้นฐานความรู๎ STEM อยูํในระดับสูงก็อนุมาน
ได๎วําประเทศนั้นมีความได๎เปรียบทางด๎านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงสํงผลให๎ประเทศตําง ๆ ไ ด๎เรํงสํงเสริม
ให๎มีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน STEM และกําหนดให๎ STEM เป็นประเด็นสําคัญในการพัฒนา
วิทยาศาสตร์ศึกษาในศตวรรษที่ 21 ดังจะเห็นได๎จากงานประชุมเชิงวิชาการและการประชุมสําคัญตํางๆ
ได๎ให๎ความสําคัญกับการเรียนการสอน STEM เป็นอยํางมาก อาทิ เชํน ในการประชุม โต๏ะกลมไทย- สหรัฐฯ
( Thai-US roundtable) ครั้งที่ 5 ในระหวํางวันที่ 29-30 มีนาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ได๎กําหนดหัวข๎อ Science Education in Schools as Feeder of College Science
Engineering Program เป็นหัวข๎อหนึ่งในการประชุม และประเทศสหรัฐอเมริกาได๎ให๎ความสําคัญกับ STEM
เป็นอยํางมาก National Science Teachers Association ได๎จัดการประชุม STEM Forum & Expo ขึ้น
         จากความสําคัญของการจัดการเรียนการสอน STEM ดังกลําว สถาบันวิทยาศาสตร์ สํานั กวิชาการ
และมาตรฐานการศึกษา จึงได๎มีความรํวมมือทางวิชาการกับ State University of New York at Cortland
ผําน MOU ซึ่งได๎ลงนามระหวํางสองหนํวยงานในปี พ .ศ. 2554 ในการจัด การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อ
สํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology , Engineering ,and Mathematics (STEM learning)


สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

เพื่อเสริมสร๎างความเข๎าใจให๎กับครู และบุคลากรทางการศึกษา ทั้งนี้จะทําให๎ผู๎ที่เกี่ยวข๎องกับการพัฒนาครู
ทั้งกํอนและขณะประจําการสามารถกําหนด แนวทางในการพัฒนาให๎ครูมีความรู๎ความเข๎าใจการจัดการเรียน
การสอน STEM อยํางถูกต๎องและสามารถนําไป บูรณาการในการเรียนการสอนได๎

วัตถุประสงค์ของโครงการ
    1. เพื่อสร๎างแกนนําในการพัฒนาความรู๎ความเข๎าใจการจัดการเรียนการสอน STEM และการนําไปใช๎ใน
        การพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์อยํางยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ
    2. เพื่อนําความรูเ๎ กี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน STEM ไปใช๎ในการวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอน
        วิทยาศาสตร์อยํางมีประสิทธิภาพ
    3. เพื่อพัฒนาเครือขํายการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์

เป้าหมาย
       ครู ศึกษานิเทศก์ และนักวิชาการศึกษา

วิธีดาเนินกิจกรรม
         1. รับฟังการบรรยาย
         2. แบํงกลุํมฝึกปฏิบัติกิจกรรม
         3. แลกเปลี่ยนประสบการณ์
         4. ระดมพลังสมอง

งบประมาณ
      แผนงาน            ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา รหัสบัญชี04-045
                        โครงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
         กิจกรรม        พัฒนาคุณภาพ คนไทยยุคใหมํ(โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
                        และคณิตศาสตร์ งบรายจํายอื่น
                                    )
         กิจกรรมย่อย 141 จํานวน 1,449,500 บาท (หนึ่งล๎านสี่แสนสี่หมื่นเก๎าพันบาทถ๎วน
                                                                                   )

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
   1. ผู๎เข๎ารํวมฝึกอบรม มีความรู๎ ความเข๎าใจและตระหนัก ถึงความสําคัญของ ดการเรียนการสอนSTEM
                                                                         การจั
   2. ผู๎เข๎ารํวมอบรมสามารถนําความรู๎ด๎าการจัดการเรียนการสอน
                                         น                      STEM ไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
   3. ผู๎เข๎ารํวมอบรมเชิงปฏิบัติการนํความรู๎ด๎านการจัดการเรียนการสอน
                                     า                                STEM มาพัฒนาประสิทธิภาพ
   4. ผู๎เข๎ารํวมอบรมสามารถเป็นวิทยากรแกนนําในการเผยแพรํองค์ความรู๎ด๎าน ดการเรียนการสอนSTEM
                                                                          การจั
   5. มีเครือขํายการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ ทั้งในและตํางประเทศ




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

       สถาบันวิทยาศาสตร์ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) ได๎ดําเนินการโดยคัดเลือกครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ให๎เข๎ารับการฝึกอบรมและศึกษาดูงาน โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการ
สอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน
Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM Education) ระหวํางวันที่
29 กันยายน – 15 ตุลาคม 2555 ณ State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกา
และประเทศแคนาดา โดยมีผู๎ครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่เข๎ารํวมโครงการ จํานวน 12 คน ดังนี้
         1. นางสาวกานจุลี           ปัญญาอินทร์       นักวิชาการศึกษาชํานาญการ สวก.
         2. นางเพ็ญพิศ              ตั้งวิชรฉัตร      ครู คศ. 3 โรงเรียนตากพิทยาคม สพม. เขต 38
         3. นายเสนํห์               ชุมแสน            ครู คศ. 3 โรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ สพม. เขต 35
         4. นางสาวจงกล              ผลประสาท          ศึกษานิเทศก์ ชํานาญการพิเศษ สพป.นครราชสีมา เขต 7
         5. นางสาวอรชพร             มีพัฒน์           ศึกษานิเทศก์ ชํานาญการ สพม. เขต 11
         6. นางสุมิตรา              อุปพงษ์           ครู คศ. 3 โรงเรียนบ๎านโนนกุง สพป.สกลนคร เขต 1
         7. นายเสกสรร               สรรสรพิสุทธิ์     ครู คศ. 2 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย สพม. เขต 34
         8. นางสาวณัฐยา             ศรีบุรินทร์       ครู คศ. 2 โรงเรียนนาด๎วงวิทยา สพม. เขต 19
         9. นางสาวกรประภา           สระแก๎ว           ครู คศ.1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
                                                      ศรีสะเกษ สพม. เขต 28
         10. นายสิทธิศักดิ์   จินดาวงศ์               ครู คศ.1 โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย สพม. เขต 28
         11. นางสาวอนงค์รัตน์ แก๎วบํารุง              ครู คศ.1 โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน สพม. เขต 14
         12. นายกอบวิทย์      พิริยะวัฒน์             ครู คศ.1 โรงเรียนนนทรีวิทยา สพม. เขต 2




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics




    นางสาวกานจุลี ปัญญาอินทร์                    นางเพ็ญพิศ ตั้งวิชรฉัตร                       นายเสนํห์ ชุมแสน
    นักวิชาการศึกษาชํานาญการ สวก.                ครู โรงเรียนตากพิทยาคม                  ครู โรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ




       นางสาวจงกล ผลประสาท                     นางสาวอรชพร มีพัฒน์                          นางสุมิตรา อุปพงษ์
   ศึกษานิเทศก์ สพป.นครราชสีมาเขต              ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต 11                    ครู โรงเรียนบ๎านโนนกุง
                  7




       นายเสกสรร สรรสรพิสุทธิ์                   นางสาวณัฐยา ศรีบุรินทร์                  นางสาวกรประภา สระแก๎ว
                                                                                          ครู โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
       ครู โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย                ครู โรงเรียนนาด๎วงวิทยา                       พระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ




      นายสิทธิศักดิ์     จินดาวงศ์             นางสาวอนงค์รัตน์ แก๎วบํารุง               นายกอบวิทย์      พิริยะวัฒน์
      ครู โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย             ครู โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน               ครู โรงเรียนนนทรีวิทยา


สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

       ซึ่งทาง State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกา ได๎สํงหนังสือเชิญครูและ
บุคลากรทางการศึกษา จํานวน12 คน เข๎ารํวมโครงการดังกลําว ระหวํางวันที29 กันยายน – 15 ตุลาคม 2555
                                                                   ่




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics


                                                 กาหนดการ
  โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of
     Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and
         Mathematics (STEM Education) ระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 15 ตุลาคม 2555
     ณ State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา

วันที่  วันเดือนปี                      กิจกรรม                                                  สถานที่
  1 29 กันยายน 2555 ออกเดินทางจากประเทศไทยไปยังประเทศ
                    สหรัฐอเมริกา
  2 30 กันยายน 2555 - แลลํองทํองเมือง เรียนรู๎วิถีชีวิต วัฒนธรรม                         - เมือง Cortland
                    ความเป็นอยูํและสภาพบ๎านเมือง ของเมือง                                - เมือง Ithaca
                    Cortland
                    - เยี่ยมชมIthaca Farmer's Market ตลาดนัด
                    ผลิตผลทางการเกษตร
                    - เยี่ยมชม Taughannock Falls น้ําตกที่สูงที่สุด
                    ในนิวยอร์ค
  3 1 ตุลาคม 2555   - กิจกรรม Campus Tour เยี่ยมชมและทําความรู๎                          State University of
                    กับ State University of NewYork at Cortland                          NewYork at Cortland
  4 2 ตุลาคม 2555   - สังเกตการสอนวิชาพื้นฐานทางการศึกษา                                 State University of
                    - สังเกตการสอนวิชา Anatomy – Physology                               NewYork at Cortland
                    - สังเกตการสอนและรํวมกิจกรรมการเรียนวิชา
                    ICT for Education
  5 3 ตุลาคม 2555   - สังเกตการสอนวิชา Teaching Science                                  State University of
                    - สังเกตการสอนวิชา Teaching Elementary                               NewYork at Cortland
                    Science
                    - สังเกตการสอนวิชา Geology
                    - สังเกตการสอน เรียนรู๎เกี่ยวกับ Multi-stage,
                    Binary Classify
                    - เยี่ยมชมสวนสาธารณะ เมือง Cortland
  6 4 ตุลาคม 2555   - สังเกตการสอนของคณะวิทยาศาสตร์ในวิชา                                State University of
                    Biology514 Mammalian Physiology Lab#6                                NewYork at Cortland
                    Muscle Physiology
                    - สังเกตการสอนวิชา Advance computer
                    Mapping โดยDr.Miller เกี่ยวกับ การใช๎ ESRI
                    software ในทางปฏิบัติการภูมิศาสตร์
                    - สังเกตการสอนวิชา Earth science lab for
                    elementary teachers (Hydrology)

สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

วันที่  วันเดือนปี                                   กิจกรรม                             สถานที่
  7 5 ตุลาคม 2555               - เข๎ารํวมอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการศึกษาใน State University of
                                ศตวรรษที21 การใช๎แบบจําลองในการสอน
                                           ่                                    NewYork at Cortland
                                วิทยาศาสตร์ กับ Dr.Orvil White
                                - สังเกตการสอนวิชา Biology
                                - ฟังบรรยาย ิชา การศึกษาพิเศษ กับ
                                             ว                   Dr.Chirs White
                                - งานเลี้ยงต๎อนรับจากครอบครัว Dr.Orvil White
  8     6 ตุลาคม 2555           รํวมเทศกาลฟักทองเมืองคอร์ทแลนด์ The Great เมือง Cortland
                                cortland pumpkinfest
  9     7 ตุลาคม 2555           - เยี่ยมชม Apple Cider                          เมือง Cortland
                                - เยี่ยมชม Indian Camp
 10 8 ตุลาคม 2555               - เยี่ยมชม Cornell University                   เมือง Ithaca
                                - เยี่ยมชม เมือง Ithaca
                                - เยี่ยมบ๎านและรํวมรับประทานอาหารค่ํา ทีบ๎าน
                                                                          ่
                                ของ ทําน ผอ.อังสนา พันธุ์เจริญ
 11 9 ตุลาคม 2555               - ฟังบรรยายเกี่ยวกับ ระบบการบริหารจัดการใน State University of
                                การสํงนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู         NewYork at Cortland
                                - รํวมกิจกรรมแกะสลักฟักทอง
                                - รํวมกิจกรรมการทดลองเรื่องการเปลี่ยนสีของใบไม๎
                                - สังเกตการสอน วิชาปฏิบัติการชีววิทยา เรื่องพืช
 12 10 ตุลาคม 2555              - ศึกษาดูงานและสังเกตการสอน โรงเรียนระดับ - Tully Central
                                มัธยมศึกษา Tully Central Schools                Schools
                                - เข๎ารํวมกิจกรรม Round table เกี่ยวกับประเทศ - Tompkins Cortland
                                ไทย ณ Tompkins Cortland Communities             Communities College
                                College
 13 11 ตุลาคม 2555              - รํวมกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Inquiry กับ State University of
                                กิจกรรม Roller Closter                          NewYork at Cortland
                                - สังเกตการสอน เรื่อง Accommodations for
                                Students with Disabilities in Your Science
                                Classroom
                                - รํวมกิจกรรมสาธิตการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของ
                                นักศึกษาระดับปริญญาโท

 14 12 ตุลาคม 2555              - รํวมพิธีปิดโครงการและงานเลี้ยงของมหาวิทยาลัย - State University of
                                - เดินทางไป Niagara Falls                      NewYork at Cortland
                                                                               - Niagara Falls



สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

วันที่ วันเดือนปี                                   กิจกรรม                                      สถานที่
 15 13 ตุลาคม 2555              - เยียมชม Niagara Falls
                                      ่                                                  - Niagara Falls
                                - เดินทางไปประเทศแคนาดา                                  - ประเทศแคนาดา
                                - เยี่ยมชมแหลํงเรียนรู๎ตํางๆ ของประเทศแคนาดา
 16 14 ตุลาคม 2555              - เดินทางกลับจากประเทศแคนาดา                             - Niagara Falls
                                - ลงเรือ Maid of the Mist เยี่ยมชมความงามของ             - เมือง Cortland
                                Niagara Falls อยํางใกล๎ชิด
                                - เดินทางกลับ เมือง Cortland
 17 15 ตุลาคม 2555              ออกเดินทางจากประเทศสหรัฐอเมริกากลับสูํ
                                ประเทศไทย

       ซึ่งในการรายงานผลการเข๎ารํวมโครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจ
ตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํง เสริมการเรียนการสอน Science, Technology,
Engineering and Mathematics (STEM Education) ณ State University of New York at Cortland
ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา เลํมนี้ จะขอนําเสนอความรู๎และประสบการณ์ที่ได๎รับ พร๎อมทั้ง
แนวทางการนําไปปรับใช๎โดยเรียงตามวันและเวลาตามกําหนดการ ดังตํอไปนี้




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics




                      วันที่หนึ่ง 29 กันยายน 2555
                               ออกเดินทางจากประเทศไทย
                                 ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา




สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics

วันที่หนึ่ง 29 กันยายน 2555
       คณะของเราจํานวน 12 ชีวิต นัดรวมพลกันที่ ทําอากาศยานนานาชาติวรรณภูมิ เวลาประมาณ03.00 น.
                                                                      สุ
หลังจากเช็คอินกันเรียบร๎อยแล๎ว ทุกคนก็พร๎อมกันทีGATE 5 พร๎อมที่จะเดินทางด๎วยสายการบินDelta Airline
                                                ่




                             ระหวํางการเดินทางไปยังGATE 5 ของทําอากาศยานสุวรรณภูมิ




         ทุกคนพร๎อมแล๎วที่ GATE 5 เพื่อมุํงหน๎าสูํประเทศสหรัฐอเมริกา ด๎วยสายการบินDelta Airline
        เราออกเดินทางจากสุวรรณภูมิเวลาประมาณ05.40 น. ถึงทําอากาศยานนานาชาติNarita เวลา 14.20 น.
จากนั้นเราตํอเครื่องบินออกจาก าอากาศยานนานาชาติNarita เวลา 15.05 น. ไปยังจุดหมายปลายทางตํอไป คือ
                            ทํ
ทําอากาศยานนานาชาติ Detroit ประเทศสหรัฐอเมริกา




  ได๎แวะมาเยือนแผํนดินญี่ปุนเพียงไมํนาน กํอนออกเดินทางตํ ่อมุํงหน๎าสูํ ทําอากาศยานนานาชาติ
                                                     อไปเพื                             Detroit

สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry)
                     เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics




ภาพจากมอนิเตอร์บนเครื่องบิน แสดงตําแหนํงของเครื่องบินและเส๎นทางการบิน อากาศยานนานาชาติDetroit
                                                                 สูํทํา

         เที่ยวบินของเราใช๎เวลาเดินทางประมาณ 15 ชั่วโมง คณะของเราก็เดินทางถึง ทําอากาศยานนานาชาติ
Detroit เวลาประมาณ 13.50 น. ตามเวลาท๎องถิ่น ชํวงนี้เรามีเวลาพักประมาณ 4 ชั่วโมง ทําให๎เราได๎
ผํอนคลายความเมื่อยล๎าจากการนั่งเครื่องบินเป็นเวลานาน ที่ ทําอากาศยานนานาชาติ Detroit ระหวําง
ทางเดินเพื่อไปตํอเครื่องบินเราเดินผํานอุโมงค์ดนตรี มีสีสนสวยงามและเปลี่ยนสีไปเรื่อยๆ มีทั้งชมพู แดง เขียว
                                                        ั
ฟูา มํวง ทุกคนตื่นเต๎นกันมากและถํายภาพเป็นที่ระลึก




         เมื่อใกล๎ถึงเวลาเดินทางทุกคนพร๎อมกันที่เกท C 41 เจ๎าหน๎าที่สนามบินประกาศให๎เราเปลี่ยน GATE
เป็น GATE B 6 คณะของเราต๎องรีบเคลื่อนย๎ายกันอยํางรวดเร็วเพื่อให๎ทันเวลา แตํเมื่อไปถึงยังไมํหายเหนื่อย
เจ๎าหน๎าที่ก็ประกาศให๎เราเปลี่ยนอีกครั้งเป็น GATE B 18 ตอนนี้ทุกคนเริ่มหงุดหงิดกับการเปลี่ยนแปลง
แตํก็ต๎องปฏิบัติตาม เพื่อมุํงหน๎าสูํเปูาหมายปลายทางตํอไปคือ ทํานอากาศยาน Syracuse




           เครื่องบินโดยสารของเรา                               บรรยากาศระหวํางรอขึ้นเครื่องไป Syracuse

สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา
รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
Kobwit Piriyawat
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
4268617836
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
รายงานการจัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก 2553
รายงานการจัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก 2553รายงานการจัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก 2553
รายงานการจัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก 2553
Kobwit Piriyawat
 
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวงภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
Kobwit Piriyawat
 
กิจกรรมปลูกป่าชายเลน คลองโคน
กิจกรรมปลูกป่าชายเลน คลองโคนกิจกรรมปลูกป่าชายเลน คลองโคน
กิจกรรมปลูกป่าชายเลน คลองโคน
Kobwit Piriyawat
 
กิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก
กิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลกกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก
กิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก
Kobwit Piriyawat
 
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่าชายเลน พิทัก...
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่าชายเลน พิทัก...สรุปผลการดำเนินงาน โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่าชายเลน พิทัก...
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่าชายเลน พิทัก...
Kobwit Piriyawat
 
การเขียนรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ครู คศ.3
การเขียนรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ครู คศ.3การเขียนรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ครู คศ.3
การเขียนรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ครู คศ.3
Suphamas Kumsim
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (19)

Stem education by IPST
Stem education by IPSTStem education by IPST
Stem education by IPST
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
รายงานการจัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก 2553
รายงานการจัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก 2553รายงานการจัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก 2553
รายงานการจัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก 2553
 
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวงภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
 
กิจกรรมปลูกป่าชายเลน คลองโคน
กิจกรรมปลูกป่าชายเลน คลองโคนกิจกรรมปลูกป่าชายเลน คลองโคน
กิจกรรมปลูกป่าชายเลน คลองโคน
 
กิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก
กิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลกกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก
กิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก
 
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่าชายเลน พิทัก...
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่าชายเลน พิทัก...สรุปผลการดำเนินงาน โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่าชายเลน พิทัก...
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่าชายเลน พิทัก...
 
การเขียนรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ครู คศ.3
การเขียนรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ครู คศ.3การเขียนรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ครู คศ.3
การเขียนรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ครู คศ.3
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
เอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเองเอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเอง
 

More from Kobwit Piriyawat

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
Kobwit Piriyawat
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (14)

รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 

รายงานผลการเข้าร่วมโครงการStem2012 ณ สหรัฐอเมริกา

  • 1. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics คานา การดําเนินโครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM) โดยสถาบันวิทยาศาสตร์ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นกิจกรรมที่มีจุดมุํงหมายในการ สร๎างแกนนําในการพัฒนา ความรู๎ความเข๎าใจการจัดการเรียนการสอน STEM และการนําไปใช๎ในการพัฒนาการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์อยํางยั่งยืน ตลอดจนเป็นการสํงเสริมให๎เกิดเครือขํายการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน STEM ให๎มีประสิทธิภาพ รายงานฉบับนี้เป็นการสรุปผลของการเข๎ารํวมโครงการ สัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน แบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM) โดยคณะครูและศึกษานิเทศ ก์ผู๎เข๎ารํวมโครงการ เพื่อ รายงานสรุป ผลการดําเนิน งานตํอหนํวยงานต๎นสังกัด ตลอดจนเพื่อเผยแพรํผลของการดําเนินงาน ตํอหนํวยงานและบุคคลทั่วไปอันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการสร๎างเครือขํายความรํวมมือและการแลกเปลี่ยนความรู๎ ประสบการณ์แกํบุคคลที่ สนใจ ข๎อมูลในรายงานเป็นการสรุปผลการเข๎ารํวมโครงการตามขั้นตอนตํางๆ นับตั้งแตํเริ่มเดินทางจนกระทั่งถึงวันสุดท๎ายของการทํากิจกรรม เป็นการนําเสนอข๎อมูล การทํากิจกรรม ทุกรายการในกําหน ดการ รวมทั้งเป็นรายงานการวิเคราะห์ผลความสําเร็จและการใช๎ประโยชน์ของแตํละ กิจกรรมในการพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ รูปแบบของรายงานเป็นการเขียนเชิงพรรณนาและ มีรูปภาพประกอบแตํละหัวข๎อ โดยมีองค์ประกอบสําคัญของหัวข๎อที่นําเสนอได๎แกํ รายละเอียดหรื อขั้นตอน การทํากิจกรรม ข๎อค๎นพบจากกิจกรรม และแนวทางหรือข๎อเสนอแนะตํอการนําไปประยุกต์ใช๎ ซึ่งคณะผู๎จัดทํา หวังวําข๎อมูลรายงานสรุปฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ตํอการพัฒนาวิทยาศาสตร์ศึกษาในประเทศไทยตํอไป ขอขอบพระคุณผู๎มีสํวนเกี่ยวข๎องทุกทําน และขออุทิศผลอันเกิดจากคุณปร ะโยชน์ใดๆ ที่เกิดจาก โครงการครั้งนี้ให๎แกํผู๎มีพระคุณทุกทําน คณะผู๎จัดทํา พฤศจิกายน 2555 สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics บทสรุปสาหรับผู้บริหาร บทนา ปัจจุบันองค์ความรู๎ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM)) นับเป็นรากฐานสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ จากการศึกษาและงานวิจัย พบ วํา ประเทศใดที่ประชากรมีระดับพื้ นฐานความรู๎ STEM อยูํในระดับสูงก็อนุมานได๎วํา ประเทศนั้นมีความได๎เปรียบทางด๎านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงสํงผลให๎ ประเทศตํ างๆ ได๎เริ่มสํงเสริมให๎มีการพัฒนาการเรียนการสอน STEM เป็นประเด็นสําคัญในการพัฒนา วิทยาศาสตร์ศึกษาในศตวรรษที่ 21 จากความสําคัญของการจัดการเรียนการสอน STEM ดังกลําว สถาบันวิทยาศาสตร์ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จึงได๎มีความรํวมมือทางวิชาการกับ State University of New York at Cortland ผําน MOU ซึ่งได๎ลงนามระหวํางสองหนํวยงานในปี พ .ศ.๒๕๔๔ ในการสัมมนาพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการ เรียนการสอน Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM Learning)เพื่อเสริมสร๎าง ความเข๎าใจให๎กับครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้งนี้จะทําให๎ผู๎ที่เกี่ยวข๎องกับการพัฒนาครูทั้งกํอนและ ขณะประจําการสามารถกําหนดแนวทางในการพัฒนาให๎ครูมีความรู๎ความเข๎าใจการจัดการเรียนการสอน STEM อยํางถูกต๎องและสามารถนําไปบูรณาการในการเรียนการสอนได๎ ผลการสัมมนา การสัมมนา ศึกษา ดูงาน การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ณ เมือง Cortland , New York สหรัฐอเมริกา ระหวํางวันที่ 29 กันยายน -15 ตุลาคม 2555 สรุปผลการสัมมนา ดังนี้ ด้านการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ 1. การพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากประสบการณ์ที่ได๎รับจากการเข๎ารํวมโครงการครั้งนี้พบวําการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ของประเทศสหรัฐอเมริกาโดยสํวนใหญํมุํงเน๎นการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎โดยใช๎แนวทางการสืบเสาะหาความรู๎ (inquiry) ที่มุํงพัฒนาให๎ผู๎เรียนสามารถเรียนรู๎จากการทํา กิจกรรมให๎ผู๎เรียนสืบเสาะหาความรู๎จากการลงมือ ปฏิบัติแล๎วเชื่อมโยงไปสูํ การสร๎าง องค์ความรู๎ โดยที่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไมํได๎เน๎นการถํายทอด เนื้อหาความรู๎แกํผู๎เรียนเพียงอยํางเดียว แตํเป็นการสํงเสริมให๎ผู๎ เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ อยํางเป็นกระบวนการ มีเหตุมีผลด๎วยการสืบเสาะหาความรู๎จากสื่อและแหลํงเรียนรู๎ที่หลากหลาย มีความ ทันสมัย จากแนวคิดในการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ในรูปแบบ ดังกลําว สามารถนํามาพัฒนาแนวคิดหรือ ปรัชญาในการจัดการศึก ษาวิทยาศาสตร์ของไทยให๎มีการมุํงเน๎นในด๎านทักษะกระบวนการและธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์ให๎มากขึ้น ควรให๎ความสําคัญตํอการสอนเนื้อหาลง โดยมุํงเน๎นการนํากระบวนการสืบเสาะ ความรู๎ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry) มาใช๎เป็นเครื่องมือในการจัดกิจก รรมให๎มากขึ้น เนื่องจากการ สืบเสาะความรู๎ทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการเรียนรู๎ที่มุํงให๎ผู๎เรียนสร๎างองค์ความรู๎ใหมํด๎วยตนเอง โดยผําน กระบวนการคิดและปฏิบัติ และใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือ ในการจัดกิจกรรม ควรกระตุ๎น สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 4. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics ให๎ผู๎เรียนเกิดความสงสัยใครํรู๎ แล๎วให๎ผู๎เรียนตั้งใจรวบรวมข๎อมูลและหลักฐานโดยใช๎กระบวนการกลุํม มีครูเป็น ผู๎คอยชํวยเหลือให๎คําแนะนําและเป็นที่ปรึกษาคอยชํวยเหลือ ให๎นักเรียนเชื่อมโยง ความรู๎ที่มี กับความรู๎ใหมํ จนกระทั่งเกิดองค์ความรู๎ในเรื่องที่สนใจศึกษาแล๎วสามารถเชื่อมโยงนําความรู๎ไปประยุกต์ใช๎ ได๎ ทั้งนี้การสืบ เสาะหาความรู๎แบํงออกเป็น 4 ระดับ คือการสืบเสาะหาความรู๎แบบยืนยัน (Confirmed Inquiry) แบบนําทาง (Directed Inquiry) แบบชี้แนะแนวทาง (Guided Inquiry) และแบบเปิด (Open Inquiry) โดยผู๎สอนอาจเริ่ม จัดกิจกรรมจากการสืบเสาะหาความรู๎ในระดับยืนยันกํอนเพื่อให๎ผู๎เรียนคุ๎นเคยกับกระบวนการสร๎างองค์ความรู๎ ไปทีละขั้น จนสามารถพัฒนาไปถึงการสืบเสาะหาความรู๎แบบเปิดได๎ ซึ่งการนําแนวคิดการจัดกิจกรรม ดังกลําวไปใช๎ เชื่อวําจะทําให๎เกิดประสิทธิผลในการเรียนรู๎ทางวิทยาศาสตร์ของผู๎เรียนมากยิ่งขึ้น 2. การใช้และการพัฒนาเอกสาร สื่อ และแหล่งเรียนรู้ในกระบวนการจัดกิจกรรม จากการเข๎ารํวมการสังเกตการณ์ในห๎องเรียนวิทยาศาสตร์ทั้งใน State University of New York at Cortland และในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนมัธยมศึกษา Tully High School พบวําการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนจะมีการใช๎เอ กสาร หนังสือ สื่อการสอนและแหลํงเรียนรู๎ที่มีความสอดคล๎อง เชื่อมโยงกัน เป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีความทันสมัยและมุํงเน๎นให๎ผู๎เรียนใช๎สื่อในการเรียนรู๎จากการ สืบค๎นหาความรู๎ การลงมือปฏิบัติโดยใช๎ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยํางแท๎จริง เชํน การเลือกใช๎ หนังสือเรียนที่มีสื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประกอบการจัดกิจกรรมหรือการสืบเสาะหาความรู๎ในแตํละ สาระสําคัญ มีการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีในรูปแบบของห๎องปฏิบัติการเสมือนหรือสื่อแอนนิเมชั่นมาใช๎ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ นอกจากนี้ยังมีการใช๎โมเดลประกอบในการ เรียนรู๎เพื่อสร๎างความเข๎าใจ ในองค์ความรู๎แตํละเรื่องให๎ชัดเจน มีการเลือกใช๎สื่อที่เกี่ยวข๎องกับสถานการณ์ในชีวิตประจําวันอยํางเหมาะสม จากประสบการณ์ดังกลําวจึงเป็นปัจจัยสํงเสริมให๎ผู๎เข๎ารํวมโครงการมีวิสัยทัศน์ในการผลิต การพัฒนาและการ เลือกใช๎เอกสาร สื่อ และแหลํงเรียนรู๎ประกอบการจัดการเรียนการสอนให๎มีประสิทธิภาพตํอการเรียนรู๎ของ ผู๎เรียนมากขึ้น 3. การพัฒนาทักษะ และเทคนิคการใช้กลวิธีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังที่ได๎กลําวไปแล๎ววําการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นการเรียนการสอนที่มุํงให๎ผู๎เรียนสืบเสาะหาความรู๎โดยใช๎ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการลงมือ ปฏิบัติ ดังนั้นครูผู๎สอนจึงไมํได๎มีบทบาทเป็นเพียงผู๎ถํายทอดเนื้อหาความรู๎เทํานั้น แตํครูผู๎สอนจะทําหน๎าที่เป็นผู๎ อํานวยความสะดวก จัดบรรยากาศและสภาพแว ดล๎อม ตลอดจนจัดหาสื่อและแหลํงเรียนรู๎ให๎ผู๎เรียนใช๎สร๎าง ประสบการณ์ที่จะนําไปสูํการสร๎างองค์ความรู๎ตํอไป ด๎วยเหตุดังกลําวจึงพบวําครูผู๎สอนมักจะใช๎กลวิธี ที่หลากหลายในการกระตุ๎นให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎ตามกระบวนการของการเรียนรู๎ทางวิท ยาศาสตร์ ครูต๎อง รู๎จักการใช๎คําถามกระตุ๎นผู๎เรียน รู๎จักใช๎เทคนิควิธีสํงเสริมให๎ผู๎เรียนเรียนรู๎จากสื่อและแหลํงเรียนรู๎ตํางๆ มีกลวิธี ในการจัดกิจกรรมให๎ผู๎เรียนลงมือปฏิบัติอยํางเหมาะสมตํอธรรมชาติและพื้นฐานความสามารถในการเรียนรู๎ ของผู๎เรียนแตํละคน โดยกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะดังกลําวจะสํงผลให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎อยําง ชัดเจนและเป็นความรู๎ที่คงทน ในขั้นตอนของการทํากิจกรรมจะสังเกตเห็นบรรยากาศของการเรียน สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 5. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics แบบรํวมมือ การชํวยเหลือซึ่งกันและกัน ทําให๎เกิดผลของการเรียนรู๎อยํางแท๎จริง จากข๎อสังเก ตดังกลําว ผู๎เข๎ารํวมโครงการจึงสามารถนํามาประยุกต์ใช๎ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของตน โดยควรให๎ ความสําคัญตํอการใช๎เทคนิควิธีในการกระตุ๎นและอํานวยความสะดวกให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎อยํางอิสระด๎วย การใช๎กลวิธีตํางๆ อาทิ กลวิธีทํากิจกรรมกํอนเข๎าสูํเนื้อหา (ABC, Activity Before Content) กลวิธีคิดเดี่ยว คิดคูํ (Think pair share) กลวิธีจิ๊กซอว์ (Jigsaw) กลวิธีทํานาย สังเกต อธิบาย (POE, predict observe explain) ฯลฯ อยํางไรก็ตามการจัดกิจกรรมตํางๆ ควรฝึกให๎ผู๎เรียนมีโอกาสได๎เรียนรู๎และทํางานเป็นกลุํมไป พร๎อมกันด๎วย 4. การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์ ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ของไทยอาจมีสาเหตุมาจากปัจจัยสําคัญอยํางหนึ่งนั่นคือ หลักสูตรวิทยาศาสตร์ที่ให๎ความสําคัญกับเนื้อหามากกวํากระบวนการเรียนรู๎ และบริบทในการเรียนรู๎ ของผู๎เรียน โดยเฉพาะหลักสูตรวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทําให๎ผู๎เรียนต๎องใช๎เวลากับการ เรียนเนื้อหามากเกินไปทําให๎ไมํเกิดทักษะวิทยาศาสตร์ขึ้นอยํางแท๎จริง ดังนั้นเพื่อพัฒนาผู๎เรียนให๎เกิดทักษะ และมีคุณลักษณะความเป็นนักวิทยาศาสตร์อยํางมีคุณภาพ จึงควรมีการพัฒนาหลักสูตรที่มีความสอดคล๎องกับ บริบททางการเรียนรู๎ของผู๎เรียนในแตํละสถานศึกษา เป็นหลักสูตรที่สํงเสริมให๎ผู๎เรียนได๎ฝึกทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์อยํางจริงจัง มีความสอดคล๎องกับท๎องถิ่นและบูรณาการให๎ผู๎เรียนได๎เรียนรู๎จากสถานการณ์ ในชีวิตประจําวันหรือบริบทใกล๎ตัวให๎มากยิ่งขึ้น 5. การใช้ภาษาอังกฤษในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การเข๎ารํวมโครงการในครั้งนี้ เป็นการจัดกิจกรรมที่ทําให๎ผู๎เข๎ารํวมโครงการมีโอกาสได๎พัฒนาทักษะ การใช๎ภาษาอังกฤษโดยตรงจากการสื่อสาร การฟังบรรยายและการอํานเอกสารหรือข๎อความตํางๆ ตลอดระยะเวลาของการเข๎ารํวมโครงการในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งโอกาสดังกลําวนับเป็นการกระตุ๎นให๎ ผู๎เข๎ารํวมโครงการมีการพัฒนาตนเองในด๎านทักษะภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะทักษะในการอําน การฟังและ การพูดสื่อสาร นอกจากนี้ยังนับเป็นการสร๎างแรงบันดา ลใจให๎ผู๎เข๎ารํวมโครงการเกิดการพัฒนาตนเองอยําง ตํอเนื่อง มีความตั้งใจที่จะใช๎ภาษาอังกฤษในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ซึ่งสํงผลดีตํอ นโยบายการสํงเสริมให๎เกิดการพัฒนาบุคลากรในด๎านการใช๎ภาษาอังกฤษและรองรับการเตรียมตัวเข๎าสูํ การเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียนอีกด๎วย 6. การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาให๎ความสําคัญตํอการดูแลชํวยเหลือนักเรียนเป็นอยํางมาก มีระเบียบและข๎อปฏิบัติในการดูแลรักษาสิทธิ์ของนักเรียนอยํางเครํงครัด เชํน การไมํอนุญาตให๎ถํายภาพ เจาะจงสําหรับนักเรียนแตํละคนโดยไมํได๎รับอนุญาตจากผู๎ปกครองหรือครูผู๎ดูแลนักเรียน การให๎ความสําคัญ ตํอสิทธิเสรีภาพในการเรียนรู๎อยํางเทําเทียม การดูแลความปลอดภัยของนักเรียนอยํางเข๎มงวด เชํน ในเวลาที่ มีรถนักเรียนจอดรับนักเรียนที่จุดใดในเมือง Cortland รถที่จะแลํนผํานบริเวณนั้นต๎องหยุดทั้งสองฝั่งของถนน เพื่อปูองกันไมํให๎เกิดอุบัติเหตุขึ้นกับนักเรียน นอกจากนี้ยังให๎ความสําคัญตํอระดับพื้นฐานความสามารถเฉพาะ สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 6. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics แตํละบุคคลเป็นอยํางมาก สถานศึกษาจะมีการคัดกรองนักเรียนอยํางละเอียด เพื่อจะได๎จัดการศึกษาให๎แกํ นักเรียนได๎อยํางเหมาะสม ในกรณี พบนักเรียนที่มีความบกพรํองก็จะต๎องจัดให๎มีระบบดูแลชํวยเหลือเฉพาะ รวมทั้งมีการจัดการศึกษารองรับความผิดปกติของนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการจัดเตรียมบุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญเฉพาะทางไว๎ดูแลนักเรียนโดยตรง จากประสบการณ์ดังกลําวผู๎เข๎ารํวมโครงการสามารถที่จะนํา ความรู๎เหลํานี้มาประยุกต์ใช๎ให๎เหมาะสมในการดูแลชํวยเหลือนักเรียนของตนตํอไป ด้านการขับเคลื่อนนโยบายทางวิทยาศาสตร์ศึกษา ปัจจุบันรัฐมีนโยบายในการสํงเสริมทางด๎านวิทยาศาสตร์ศึกษา โดยมุํงเน๎นการพัฒนากระบวนการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุํงเน๎นให๎เด็กได๎พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยํางแท๎จริง สํงเสริม การพัฒนาผู๎ที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีให๎มีปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสม ตํอความต๎องการในการพัฒนาประเทศ มีการสํงเสริมให๎เกิดการใช๎สื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข๎ามาใช๎ในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาครูผู๎สอนให๎มีความรู๎ความสามารถและทักษะในการจัดการเรียนการ สอนอยํางมีคุณภาพ สํงเสริมให๎มีรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย ซึ่ง โครงการสัมมนาการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริม การเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM) นับเป็นโครงการหนึ่ง ที่มีประโยชน์ตํอการขับเคลื่อนนโยบายทางด๎านการสํงเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เนื่องจากเป็นการจัด กิจกรรมที่สํงเสริมให๎ครูและศึกษานิเทศที่เข๎ารํวมโครงการมีประสบกา รณ์ในการเรียนรู๎เทคนิควิธีการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (STEM) โดยตรงจากการ ฟังบรรยาย การเข๎ารํวมกิจกรรมการเรียนรู๎ในรายวิชาทางด๎านการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ใน State University of New York at Cortland และการสังเกตชั้นเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา นอกจากนี้ ผู๎เข๎ารํวมโครงการยังได๎ศึกษาเรียนรู๎เทคนิควิธีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ที่ฝึกให๎ผู๎เรียนเกิดทักษะการ สืบเสาะหาความรู๎และการใช๎ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสร๎างองค์ ความรู๎ อาทิ เทคนิคการจัด กิจกรรมการเรียนรู๎เกี่ยวกับปรากฏการณ์ข๎างขึ้นข๎างแรม (Moon Phases) เทคนิคการใช๎โมเดลในการจัด กิจกรรมการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ เทคนิคการใช๎นิทานเป็นสื่อ เทคนิคการจัดกิจกรรมรถไฟเหาะตีลังกา (Rollercoaster) ในการฝึกให๎ผู๎เรียนแกํไขปัญหาโดย ใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นต๎น กิจกรรม การเรียนรู๎เหลํานี้ทําให๎ผู๎เข๎ารํวมโครงการเกิดความรู๎ ความเข๎าใจ ทักษะปฏิบัติ ตลอดจนเกิดทัศนคติอันดี ทางด๎านการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น สํงผลให๎เกิดความเชี่ยวชาญในการจัดกิจกรรมการสืบเสาะ ความรู๎และการรู๎สํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์อยํางหลากหลายและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้การพัฒนาที่เกิด ขึ้นกับผู๎เข๎ารํวมโครงการสํงผลให๎เกิดกลุํมผู๎นําในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศไทยให๎มีความก๎าวหน๎าทั้งจากการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยตรง การถํายทอดขยายผล ตํอผู๎รํวมงานในโอกาสตํางๆ เชํน การเป็นวิทยากรในการฝึกอบรม การประชุมสัมมนา ตลอดจนการนําเสนอ ข๎อคิดเห็นหรือแนวทางในการพัฒนาตํอผู๎บริหารการศึกษาในระดับตํางๆ เป็นต๎น การเผยแพรํและแลกเปลี่ยน ความรู๎และประสบการณ์ผํานการนําเสนอผลงาน การเขียนบทความทางวิชาการ ตลอดจนการสร๎างสรรค์งาน สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 7. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics ในความรับผิดชอบให๎เกิดผลเป็นที่ประจักษ์ สามารถเป็นตัวอยํางให๎บุคคลอื่นๆ นําไปพัฒนาตํอได๎ ซึ่งกระบวนการดังกลําวจะมีผลทําให๎การขับเคลื่อนนโยบายทางวิทยาศาสตร์ศึกษาประสบความสําเร็จได๎ที่สุด ด้านการเรียนรู้วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมการสัมมนาและการศึกษาดูงานยังตํางประเทศในครั้งนี้ เป็นกิจกรรมที่ทําให๎ผู๎เข๎ารํวม โครงการได๎รับประสบการณ์และเกิดการเรียนรู๎เกี่ยวกับวัฒนธรรมและสิ่งแวดล๎อมที่แตกตํางกันระหวํางสังคม ตะวันตกกับวัฒนธรรมไทยได๎โดยตรง นับตั้งแตํกํอนเข๎ารํวมโค รงการที่ผู๎เข๎ารํวมโครงการทุกคนจะต๎อง ทําการศึกษาข๎อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี ระเบียบปฏิบัติตน ข๎อมูลในด๎านสภาพอากาศและสิ่งแวดล๎อม สภาพทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการเตรียมตัวในด๎านภาษาและข๎อมูลอื่นๆ ให๎มีความพร๎อมที่จะนําไปใช๎ปฏิบัติใน ระหวํางการเข๎ารํวมโครงการ นอกจา กนี้เมื่อเข๎ารํวมกิจกรรมตํางๆ ทําให๎ครูและศึกษานิเทศก์ทุกทํานได๎มี โอกาสปะทะสังสรรค์และมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับชาวตํางชาติ ทั้งผู๎ที่เป็นวิทยากร นักเรียนนักศึกษาและบุคคล ทั่วไปในระหวํางที่ใช๎ชีวิตอยูํในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา ทําให๎เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู๎ วัฒนธรรมซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ในระหวํางการศึกษาดูงานผู๎เข๎ารํวมโครงการยังได๎เรียนรู๎เกี่ยวกับ สภาพแวดล๎อมและการจัดการอาคารสถานที่ตํางๆ ทั้งในสถานศึกษาและในชุมชนที่พักอาศัย ซึ่งข๎อมูลตํางๆ เหลํานี้ล๎วนมีประโยชน์ในการนํามาประยุกต์ใช๎ในการทํางานและการใช๎ชี วิต และยังสามารถถํายทอด ประสบการณ์ให๎แกํนักเรียน เพื่อนรํวมงาน รวมทั้งบุคคลทั่วไปได๎เป็นอยํางดีอีกด๎วย ซึ่งผลที่เกิดขึ้นดังกลําวยังมี ความสําคัญตํอการเตรียมบุคลากรทางการศึกษาให๎มีความพร๎อมในระดับสากล เป็นการพัฒนาบุคลากรให๎มี คุณภาพเพื่อรองรับนโยบายการเข๎าสูํประชาคมอาเซียนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล๎นี้ จากบทสรุปประสบการณ์และประโยชน์จากการดําเนินโครงการดังที่ได๎กลําวไปแล๎ว จะเห็นได๎วํา โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM) เป็นโครงการที่ทําให๎เกิดผลอยํางชัดเจนตํอการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ศึกษา ในประเทศไทย ภาพความสําเร็จของโครงการที่เกิดขึ้นนอกจากจะสํงผลโดยตรงตํอวิสัยทัศน์ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน สํงผลตํอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนและเป็นการพัฒนา กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ศึกษาในปัจจุบันแล๎ว โครงการดังกลําวนี้ยังสามารถขยายผลให๎เกิดวิสัยทัศน์ การพัฒนาอยํางยั่งยืนตํอวงการวิทยาศาสตร์ศึกษาในอนาคต นับเป็นการกระตุ๎ นสํงเสริมให๎การจัดการศึกษา วิทยาศาสตร์มีคุณภาพในระดับสากลตํอไป สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 8. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ผู๎บริหารสถานศึกษา 1. สํงเสริมให๎ครูจัดการเรียนการสอนที่เน๎นกระบวนการคิด พัฒนาด๎านความรู๎ และความสามารถในการจัดการเรียนการสอน จัดสรรสื่อและงบประมาณในการพัฒนาอยํ างเพียงพอ 2. ให๎ความสําคัญตํอการพัฒนางานวิชาการ นิเทศภายในอยํางเป็นระบบและสม่ําเสมอ 3. ลดภาระงานอื่นของครูที่ไมํเกี่ยวข๎องกับการเรียนการสอน เพื่อให๎ครูมีเวลา ในการ วางแผนการสอน 4. วิเคราะห์และสรุปผลการจัดการศึกษาทุกภาคเรียน 5. จัดสรรงบประมาณให๎ครูนําไปใช๎พัฒนาตนเองในการจัดการเรียนการสอนตามความสนใจ 6. ให๎บริการด๎านสวัสดิการภายในโรงเรียนตามความต๎องการของครูอยํางเพียงพอ 7. ยกยํอง ชมเชย และมอบรางวัลแกํครูที่ประสบความสําเร็จในจัดการเรียนการสอน ผู๎บริหารการศึกษาระดับสูง 1. จัดสรรอัตรากําลังครูให๎พอเพียงกับจํานวนนักเรียน 2. กําหนดกฎ ระเบียบ เกี่ยวกับอัตรานักเรียนตํอชั้นเรียนให๎น๎อยลง เพื่อสะดวกตํอการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 3. ปรับปรุงกระบวนการผลิตครูให๎สามารถจัดการเรียนการสอนได๎อยํางมีคุณภาพ 4. ประเมินคุณภาพของครูทุก 3-5 ปี สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 9. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics สารบัญ เรื่อง บทนํา วันที่หนึ่ง 29 กันยายน 2555 - กิจกรรมการออกเดินทางจากประเทศไทยไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา วันที่สอง 30 กันยายน 2555 - แลลํองทํองเมือง เรียนรู๎วิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเป็นอยูํและสภาพบ๎านเมือง ของเมือง Cortland - กิจกรรมการศึกษาแหลํงเรียนรู๎เสริมประสบการณ์ที่ Ithaca Farmer's Market ตลาดนัดผลิตผลทางการเกษตร - เยี่ยมชม Taughannock Falls น้ําตกที่สูงที่สุดในนิวยอร์ค วันที่สาม 1 ตุลาคม 2555 - กิจกรรม Campus Tour เยี่ยมชมและทําความรู๎กับ State University of NewYork at Cortland วันที่สี่ 2 ตุลาคม 2555 - สังเกตการสอนวิชาพื้นฐานทางการศึกษา - สังเกตการสอนวิชาAnatomy – Physology - สังเกตการสอนและรํวมกิจกรรมการเรียนวิชา ICT for Education วันที่ห๎า 3 ตุลาคม 2555 - สังเกตการสอนวิชา Teaching Science - สังเกตการสอนวิชา Teaching Elementary Science - สังเกตการสอนวิชา Geology - สังเกตการสอน เรียนรู๎เกี่ยวกับ Multi-stage, Binary Classify - เยี่ยมชมสวนสาธารณะ เมือง Cortland วันที่หก 4 ตุลาคม 2555 - สังเกตการสอนของคณะวิทยาศาสตร์ในวิชา Biology514 Mammalian Physiology Lab#6 Muscle Physiology - สังเกตการสอนวิชา Advance computer Mapping โดยDr.Miller เกี่ยวกับ การใช๎ ESRI software ในทางปฏิบัติการภูมิศาสตร์ - สังเกตการสอนวิชา Earth science lab for elementary teachers (Hydrology) วันที่เจ็ด 5 ตุลาคม 2555 - เข๎ารํวมอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการศึกษาในศตวรรษที21 ่ การใช๎แบบจําลองในการสอนวิทยาศาสตร์ กับ Dr. Orvil L. white - สังเกตการสอนวิชา Biology - ฟังบรรยายวิชา การศึกษาพิเศษ กับ Dr.Chirst - รํวมรับประทานอาหารค่ํา ทีบ๎านของ Dr.Orvil L. White ่ สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 10. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics เรื่อง หน้า วันทีแปด 6 ตุลาคม 2555 ่ - รํวมเทศกาลฟักทองเมืองคอร์ทแลนด์ The Great cortland pumpkinfest วันทีเก้า 7 ตุลาคม 2555 ่ - เยี่ยมชม Apple Cider - เยี่ยมชม Indian Camp วันทีสิบ 8 ตุลาคม 2555 ่ - เยี่ยมชม Cornell University - เยี่ยมชม เมือง Ithaca - รํวมรับประทานอาหารค่ํา ทีบ๎านของทําน ผอ.อังสนา พันธุ์เจริญ ่ วันทีสิบเอ็ด 9 ตุลาคม 2555 ่ - ฟังบรรยายเกี่ยวกับ ระบบการบริหารจัดการในการสํงนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู - รํวมกิจกรรมแกะสลักฟักทอง - รํวมกิจกรรมการทดลองเรื่องการเปลี่ยนสีของใบไม๎ - สังเกตการสอน วิชาปฏิบัติการชีววิทยา เรื่องพืช วันทีสิบสอง 10 ตุลาคม 2555 ่ - ศึกษาดูงานและสังเกตการสอน โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา Tully Central Schools - เข๎ารํวมกิจกรรม Round table เกี่ยวกับประเทศไทย ณ Tompkins Cortland Communities College วันทีสิบสาม 11 ตุลาคม 2555 ่ - รํวมกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Inquiry กับกิจกรรม Roller Closter - สังเกตการสอน เรื่อง Accommodations for Students with Disabilities In Your Science Classroom - รํวมกิจกรรมสาธิตการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท วันทีสิบสี่ 12 ตุลาคม 2555 ่ - รํวมพิธีปิดโครงการและงานเลี้ยงของมหาวิทยาลัย - เดินทางไป Niagara Falls วันทีสิบห้า 13 ตุลาคม 2555 ่ - เยี่ยมชม Niagara Falls - เดินทางไปประเทศแคนาดา - เยี่ยมชมแหลํงเรียนรู๎ตํางๆ ของประเทศแคนาดา วันทีสิบหก 14 ตุลาคม 2555 ่ - เดินทางกลับจากประเทศแคนาดา - ลงเรือ Maid of the Mist เยี่ยมชมความงามของ Niagara Falls อยํางใกล๎ชิด - เดินทางกลับ เมือง Cortland วันทีสิบเจ็ด 15 ตุลาคม 2555 ่ - ออกเดินทางจากประเทศสหรัฐอเมริกากลับสูํประเทศไทย บทสรุป สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 11. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics บทนา โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM Education) ระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 15 ตุลาคม 2555 ณ State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา โครงการ การฝึกอบรมเชิงปฏิบติการการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ ั (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology , Engineering ,and Mathematics (STEM learning) ณ State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกา แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา รหัสบัญชี04-045 โครงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง กิจกรรม พัฒนาคุณภาพ คนไทยยุคใหมํ (โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์) งบรายจํายอื่น กิจกรรมย่อย 141 หน่วยงานที่รับผิดชอบ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ระยะเวลาดาเนินงาน กันยายน 2555 ------------------------------------------- หลักการและเหตุผล ปัจจุบันองค์ความรู๎ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (Science, Technology ,Engineering ,and Mathematics (STEM)) นับเป็นรากฐานสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จากการศึกษาและงานวิจัยพบวําประเทศใดที่ประชากรมีระดับพื้นฐานความรู๎ STEM อยูํในระดับสูงก็อนุมาน ได๎วําประเทศนั้นมีความได๎เปรียบทางด๎านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงสํงผลให๎ประเทศตําง ๆ ไ ด๎เรํงสํงเสริม ให๎มีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน STEM และกําหนดให๎ STEM เป็นประเด็นสําคัญในการพัฒนา วิทยาศาสตร์ศึกษาในศตวรรษที่ 21 ดังจะเห็นได๎จากงานประชุมเชิงวิชาการและการประชุมสําคัญตํางๆ ได๎ให๎ความสําคัญกับการเรียนการสอน STEM เป็นอยํางมาก อาทิ เชํน ในการประชุม โต๏ะกลมไทย- สหรัฐฯ ( Thai-US roundtable) ครั้งที่ 5 ในระหวํางวันที่ 29-30 มีนาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ได๎กําหนดหัวข๎อ Science Education in Schools as Feeder of College Science Engineering Program เป็นหัวข๎อหนึ่งในการประชุม และประเทศสหรัฐอเมริกาได๎ให๎ความสําคัญกับ STEM เป็นอยํางมาก National Science Teachers Association ได๎จัดการประชุม STEM Forum & Expo ขึ้น จากความสําคัญของการจัดการเรียนการสอน STEM ดังกลําว สถาบันวิทยาศาสตร์ สํานั กวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา จึงได๎มีความรํวมมือทางวิชาการกับ State University of New York at Cortland ผําน MOU ซึ่งได๎ลงนามระหวํางสองหนํวยงานในปี พ .ศ. 2554 ในการจัด การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อ สํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology , Engineering ,and Mathematics (STEM learning) สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 12. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics เพื่อเสริมสร๎างความเข๎าใจให๎กับครู และบุคลากรทางการศึกษา ทั้งนี้จะทําให๎ผู๎ที่เกี่ยวข๎องกับการพัฒนาครู ทั้งกํอนและขณะประจําการสามารถกําหนด แนวทางในการพัฒนาให๎ครูมีความรู๎ความเข๎าใจการจัดการเรียน การสอน STEM อยํางถูกต๎องและสามารถนําไป บูรณาการในการเรียนการสอนได๎ วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อสร๎างแกนนําในการพัฒนาความรู๎ความเข๎าใจการจัดการเรียนการสอน STEM และการนําไปใช๎ใน การพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์อยํางยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อนําความรูเ๎ กี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน STEM ไปใช๎ในการวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์อยํางมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อพัฒนาเครือขํายการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ เป้าหมาย ครู ศึกษานิเทศก์ และนักวิชาการศึกษา วิธีดาเนินกิจกรรม 1. รับฟังการบรรยาย 2. แบํงกลุํมฝึกปฏิบัติกิจกรรม 3. แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 4. ระดมพลังสมอง งบประมาณ แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา รหัสบัญชี04-045 โครงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง กิจกรรม พัฒนาคุณภาพ คนไทยยุคใหมํ(โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ งบรายจํายอื่น ) กิจกรรมย่อย 141 จํานวน 1,449,500 บาท (หนึ่งล๎านสี่แสนสี่หมื่นเก๎าพันบาทถ๎วน ) ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู๎เข๎ารํวมฝึกอบรม มีความรู๎ ความเข๎าใจและตระหนัก ถึงความสําคัญของ ดการเรียนการสอนSTEM การจั 2. ผู๎เข๎ารํวมอบรมสามารถนําความรู๎ด๎าการจัดการเรียนการสอน น STEM ไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 3. ผู๎เข๎ารํวมอบรมเชิงปฏิบัติการนํความรู๎ด๎านการจัดการเรียนการสอน า STEM มาพัฒนาประสิทธิภาพ 4. ผู๎เข๎ารํวมอบรมสามารถเป็นวิทยากรแกนนําในการเผยแพรํองค์ความรู๎ด๎าน ดการเรียนการสอนSTEM การจั 5. มีเครือขํายการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ ทั้งในและตํางประเทศ สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 13. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics สถาบันวิทยาศาสตร์ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) ได๎ดําเนินการโดยคัดเลือกครูและ บุคลากรทางการศึกษา ให๎เข๎ารับการฝึกอบรมและศึกษาดูงาน โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการ สอนแบบการรู๎สํารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํงเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM Education) ระหวํางวันที่ 29 กันยายน – 15 ตุลาคม 2555 ณ State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศแคนาดา โดยมีผู๎ครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่เข๎ารํวมโครงการ จํานวน 12 คน ดังนี้ 1. นางสาวกานจุลี ปัญญาอินทร์ นักวิชาการศึกษาชํานาญการ สวก. 2. นางเพ็ญพิศ ตั้งวิชรฉัตร ครู คศ. 3 โรงเรียนตากพิทยาคม สพม. เขต 38 3. นายเสนํห์ ชุมแสน ครู คศ. 3 โรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ สพม. เขต 35 4. นางสาวจงกล ผลประสาท ศึกษานิเทศก์ ชํานาญการพิเศษ สพป.นครราชสีมา เขต 7 5. นางสาวอรชพร มีพัฒน์ ศึกษานิเทศก์ ชํานาญการ สพม. เขต 11 6. นางสุมิตรา อุปพงษ์ ครู คศ. 3 โรงเรียนบ๎านโนนกุง สพป.สกลนคร เขต 1 7. นายเสกสรร สรรสรพิสุทธิ์ ครู คศ. 2 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย สพม. เขต 34 8. นางสาวณัฐยา ศรีบุรินทร์ ครู คศ. 2 โรงเรียนนาด๎วงวิทยา สพม. เขต 19 9. นางสาวกรประภา สระแก๎ว ครู คศ.1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ สพม. เขต 28 10. นายสิทธิศักดิ์ จินดาวงศ์ ครู คศ.1 โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย สพม. เขต 28 11. นางสาวอนงค์รัตน์ แก๎วบํารุง ครู คศ.1 โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน สพม. เขต 14 12. นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ครู คศ.1 โรงเรียนนนทรีวิทยา สพม. เขต 2 สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 14. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics นางสาวกานจุลี ปัญญาอินทร์ นางเพ็ญพิศ ตั้งวิชรฉัตร นายเสนํห์ ชุมแสน นักวิชาการศึกษาชํานาญการ สวก. ครู โรงเรียนตากพิทยาคม ครู โรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ นางสาวจงกล ผลประสาท นางสาวอรชพร มีพัฒน์ นางสุมิตรา อุปพงษ์ ศึกษานิเทศก์ สพป.นครราชสีมาเขต ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต 11 ครู โรงเรียนบ๎านโนนกุง 7 นายเสกสรร สรรสรพิสุทธิ์ นางสาวณัฐยา ศรีบุรินทร์ นางสาวกรประภา สระแก๎ว ครู โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ ครู โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ครู โรงเรียนนาด๎วงวิทยา พระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ นายสิทธิศักดิ์ จินดาวงศ์ นางสาวอนงค์รัตน์ แก๎วบํารุง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ครู โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย ครู โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน ครู โรงเรียนนนทรีวิทยา สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 15. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics ซึ่งทาง State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกา ได๎สํงหนังสือเชิญครูและ บุคลากรทางการศึกษา จํานวน12 คน เข๎ารํวมโครงการดังกลําว ระหวํางวันที29 กันยายน – 15 ตุลาคม 2555 ่ สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 16. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics กาหนดการ โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM Education) ระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 15 ตุลาคม 2555 ณ State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา วันที่ วันเดือนปี กิจกรรม สถานที่ 1 29 กันยายน 2555 ออกเดินทางจากประเทศไทยไปยังประเทศ สหรัฐอเมริกา 2 30 กันยายน 2555 - แลลํองทํองเมือง เรียนรู๎วิถีชีวิต วัฒนธรรม - เมือง Cortland ความเป็นอยูํและสภาพบ๎านเมือง ของเมือง - เมือง Ithaca Cortland - เยี่ยมชมIthaca Farmer's Market ตลาดนัด ผลิตผลทางการเกษตร - เยี่ยมชม Taughannock Falls น้ําตกที่สูงที่สุด ในนิวยอร์ค 3 1 ตุลาคม 2555 - กิจกรรม Campus Tour เยี่ยมชมและทําความรู๎ State University of กับ State University of NewYork at Cortland NewYork at Cortland 4 2 ตุลาคม 2555 - สังเกตการสอนวิชาพื้นฐานทางการศึกษา State University of - สังเกตการสอนวิชา Anatomy – Physology NewYork at Cortland - สังเกตการสอนและรํวมกิจกรรมการเรียนวิชา ICT for Education 5 3 ตุลาคม 2555 - สังเกตการสอนวิชา Teaching Science State University of - สังเกตการสอนวิชา Teaching Elementary NewYork at Cortland Science - สังเกตการสอนวิชา Geology - สังเกตการสอน เรียนรู๎เกี่ยวกับ Multi-stage, Binary Classify - เยี่ยมชมสวนสาธารณะ เมือง Cortland 6 4 ตุลาคม 2555 - สังเกตการสอนของคณะวิทยาศาสตร์ในวิชา State University of Biology514 Mammalian Physiology Lab#6 NewYork at Cortland Muscle Physiology - สังเกตการสอนวิชา Advance computer Mapping โดยDr.Miller เกี่ยวกับ การใช๎ ESRI software ในทางปฏิบัติการภูมิศาสตร์ - สังเกตการสอนวิชา Earth science lab for elementary teachers (Hydrology) สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 17. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics วันที่ วันเดือนปี กิจกรรม สถานที่ 7 5 ตุลาคม 2555 - เข๎ารํวมอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการศึกษาใน State University of ศตวรรษที21 การใช๎แบบจําลองในการสอน ่ NewYork at Cortland วิทยาศาสตร์ กับ Dr.Orvil White - สังเกตการสอนวิชา Biology - ฟังบรรยาย ิชา การศึกษาพิเศษ กับ ว Dr.Chirs White - งานเลี้ยงต๎อนรับจากครอบครัว Dr.Orvil White 8 6 ตุลาคม 2555 รํวมเทศกาลฟักทองเมืองคอร์ทแลนด์ The Great เมือง Cortland cortland pumpkinfest 9 7 ตุลาคม 2555 - เยี่ยมชม Apple Cider เมือง Cortland - เยี่ยมชม Indian Camp 10 8 ตุลาคม 2555 - เยี่ยมชม Cornell University เมือง Ithaca - เยี่ยมชม เมือง Ithaca - เยี่ยมบ๎านและรํวมรับประทานอาหารค่ํา ทีบ๎าน ่ ของ ทําน ผอ.อังสนา พันธุ์เจริญ 11 9 ตุลาคม 2555 - ฟังบรรยายเกี่ยวกับ ระบบการบริหารจัดการใน State University of การสํงนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู NewYork at Cortland - รํวมกิจกรรมแกะสลักฟักทอง - รํวมกิจกรรมการทดลองเรื่องการเปลี่ยนสีของใบไม๎ - สังเกตการสอน วิชาปฏิบัติการชีววิทยา เรื่องพืช 12 10 ตุลาคม 2555 - ศึกษาดูงานและสังเกตการสอน โรงเรียนระดับ - Tully Central มัธยมศึกษา Tully Central Schools Schools - เข๎ารํวมกิจกรรม Round table เกี่ยวกับประเทศ - Tompkins Cortland ไทย ณ Tompkins Cortland Communities Communities College College 13 11 ตุลาคม 2555 - รํวมกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Inquiry กับ State University of กิจกรรม Roller Closter NewYork at Cortland - สังเกตการสอน เรื่อง Accommodations for Students with Disabilities in Your Science Classroom - รํวมกิจกรรมสาธิตการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของ นักศึกษาระดับปริญญาโท 14 12 ตุลาคม 2555 - รํวมพิธีปิดโครงการและงานเลี้ยงของมหาวิทยาลัย - State University of - เดินทางไป Niagara Falls NewYork at Cortland - Niagara Falls สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 18. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics วันที่ วันเดือนปี กิจกรรม สถานที่ 15 13 ตุลาคม 2555 - เยียมชม Niagara Falls ่ - Niagara Falls - เดินทางไปประเทศแคนาดา - ประเทศแคนาดา - เยี่ยมชมแหลํงเรียนรู๎ตํางๆ ของประเทศแคนาดา 16 14 ตุลาคม 2555 - เดินทางกลับจากประเทศแคนาดา - Niagara Falls - ลงเรือ Maid of the Mist เยี่ยมชมความงามของ - เมือง Cortland Niagara Falls อยํางใกล๎ชิด - เดินทางกลับ เมือง Cortland 17 15 ตุลาคม 2555 ออกเดินทางจากประเทศสหรัฐอเมริกากลับสูํ ประเทศไทย ซึ่งในการรายงานผลการเข๎ารํวมโครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู๎สํารวจ ตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อสํง เสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM Education) ณ State University of New York at Cortland ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา เลํมนี้ จะขอนําเสนอความรู๎และประสบการณ์ที่ได๎รับ พร๎อมทั้ง แนวทางการนําไปปรับใช๎โดยเรียงตามวันและเวลาตามกําหนดการ ดังตํอไปนี้ สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 19. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics วันที่หนึ่ง 29 กันยายน 2555 ออกเดินทางจากประเทศไทย ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 20. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics วันที่หนึ่ง 29 กันยายน 2555 คณะของเราจํานวน 12 ชีวิต นัดรวมพลกันที่ ทําอากาศยานนานาชาติวรรณภูมิ เวลาประมาณ03.00 น. สุ หลังจากเช็คอินกันเรียบร๎อยแล๎ว ทุกคนก็พร๎อมกันทีGATE 5 พร๎อมที่จะเดินทางด๎วยสายการบินDelta Airline ่ ระหวํางการเดินทางไปยังGATE 5 ของทําอากาศยานสุวรรณภูมิ ทุกคนพร๎อมแล๎วที่ GATE 5 เพื่อมุํงหน๎าสูํประเทศสหรัฐอเมริกา ด๎วยสายการบินDelta Airline เราออกเดินทางจากสุวรรณภูมิเวลาประมาณ05.40 น. ถึงทําอากาศยานนานาชาติNarita เวลา 14.20 น. จากนั้นเราตํอเครื่องบินออกจาก าอากาศยานนานาชาติNarita เวลา 15.05 น. ไปยังจุดหมายปลายทางตํอไป คือ ทํ ทําอากาศยานนานาชาติ Detroit ประเทศสหรัฐอเมริกา ได๎แวะมาเยือนแผํนดินญี่ปุนเพียงไมํนาน กํอนออกเดินทางตํ ่อมุํงหน๎าสูํ ทําอากาศยานนานาชาติ อไปเพื Detroit สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 21. โครงการสัมมนาการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบการรู้สารวจตรวจสอบ (The 5 Features of Science Inquiry) เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน Science, Technology, Engineering and Mathematics ภาพจากมอนิเตอร์บนเครื่องบิน แสดงตําแหนํงของเครื่องบินและเส๎นทางการบิน อากาศยานนานาชาติDetroit สูํทํา เที่ยวบินของเราใช๎เวลาเดินทางประมาณ 15 ชั่วโมง คณะของเราก็เดินทางถึง ทําอากาศยานนานาชาติ Detroit เวลาประมาณ 13.50 น. ตามเวลาท๎องถิ่น ชํวงนี้เรามีเวลาพักประมาณ 4 ชั่วโมง ทําให๎เราได๎ ผํอนคลายความเมื่อยล๎าจากการนั่งเครื่องบินเป็นเวลานาน ที่ ทําอากาศยานนานาชาติ Detroit ระหวําง ทางเดินเพื่อไปตํอเครื่องบินเราเดินผํานอุโมงค์ดนตรี มีสีสนสวยงามและเปลี่ยนสีไปเรื่อยๆ มีทั้งชมพู แดง เขียว ั ฟูา มํวง ทุกคนตื่นเต๎นกันมากและถํายภาพเป็นที่ระลึก เมื่อใกล๎ถึงเวลาเดินทางทุกคนพร๎อมกันที่เกท C 41 เจ๎าหน๎าที่สนามบินประกาศให๎เราเปลี่ยน GATE เป็น GATE B 6 คณะของเราต๎องรีบเคลื่อนย๎ายกันอยํางรวดเร็วเพื่อให๎ทันเวลา แตํเมื่อไปถึงยังไมํหายเหนื่อย เจ๎าหน๎าที่ก็ประกาศให๎เราเปลี่ยนอีกครั้งเป็น GATE B 18 ตอนนี้ทุกคนเริ่มหงุดหงิดกับการเปลี่ยนแปลง แตํก็ต๎องปฏิบัติตาม เพื่อมุํงหน๎าสูํเปูาหมายปลายทางตํอไปคือ ทํานอากาศยาน Syracuse เครื่องบินโดยสารของเรา บรรยากาศระหวํางรอขึ้นเครื่องไป Syracuse สถาบันวิทยาศาสตร์ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน