SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1

                    Innovative Thinking (ตอนที่ 1)
                                                               ดร.วิลาวัลย มาคุม
                                                  http://drlek.blog.mthai.com/
          เมื่อเดือนเมษายนที่ผานมา ผูเขียนไดมีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนกับ MR. DANNY LEE
นักธุรกิจชาวเนเธอรแลนด เชื้อชาติฮองกง ซึ่งประสบความสําเร็จอยางสูงยิ่งในธุรกิจรานอาหาร
และภัตตาคาร รวมทั้งธุรกิจสินคาอาหารสําเร็จรูปเพื่อการสงออก เราคุยกันวา ในโลกนี้มี
นวัตกรรมใหมๆเกิดขึ้นมากมาย จึงทําใหปจจุบันโลกมนุษยมีความเจริญกาวหนามหาศาล
นวัตกรรมใหมๆเกิดขึ้นมากมายที่ทําใหเกิดความเจริญ ทั้งดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเหลานี้
แทที่จริงก็มาจากความสามารถในการคิดได คิดเปนของมนุษย นั่นเอง แลวก็นําเอาความคิดได
คิดเปนนั้นๆ มาทําใหเปนจริง เกิดผลในทางปฏิบัติ ใชไดผลดี มีประโยชน มีประสิทธิภาพและ
เกิดประสิทธิผลอยางเปนรูปธรรม โดยจะตองนําความคิดนั้นๆ สื่อสารไปยังคนอื่นไดดวย
          ภายใตความสําเร็จในธุรกิจของ MR. DANNY LEE เขาเลาวา เขาจะใหอิสระในการคิด
กับทีมงานทุกๆระดับ ฟงอยางตั้งใจ และคิดตามไปดวย ไมฟงเฉยๆ หรือฟงแลวก็ผานไป หลาย
                                                             
ครั้ง หลายความเห็นที่ถูกปฏิเสธในที่ประชุมทั้งทางบวก และทางลบ MR. DANNY LEE ไมเคย
ละเลยความคิดเหลานั้น เและชอบที่จะฟงทุกๆคนคิด รวมทั้งใหความสําคัญกับวิธีคิดของแตละคน
ดวย เขาย้ําวาความคิดของพนักงาน คือตนทุนที่บริษัทไมตองลงทุน “ใหเขาคิดไปเถิดไมเสียตังค
สักหนอย” เพราะความคิดมันไมมีตนทุนทางการเงินหรือทางการคา บริษัทไมตองลงทุนอะไร
ยิ่งชวยกันคิด ยิ่งไดกําไร สมองยิ่งทํางาน ลูกนองยิ่งฉลาด แตตองชวยกระตุนใหเกิดความคิด
ใหมๆจึงจะดี และตองมีสวนสนับสนุนในความคิด รวมทั้งตองสรางบรรยากาศในการทํางานที่เปด
โอกาสใหทีมงานไดคิดอยางเสรีดวย ไมโกรธกัน เพราะความคิด ไมมีถูก ไมมีผิด
          นี่เปนวิธีการที่ MR. DANNY LEE ใชไดผลดีและเนนมาตลอด เขาบอกวา “คนเปน
ทรัพยากรที่มีคาที่สุดในองคกร” ถาเราใหอิสระกับความคิดของคนทํางานมาก ยิ่งถาเปนความคิด
ใหมๆ ก็มกจะเปนโอกาสนํามาซึ่งความสําเร็จอยูเสมอ ทําใหองคกรนั้นเกิดมีนวัตกรรมมาก ใน
              ั
ขณะเดียวกัน องคกรใดที่ปดกั้นทางความคิด ก็จะเกิดนวัตกรรมที่เกิดจากการไดคิดขึ้นมานอย
ดังนั้น จึงควรปลอยใหมีการ ‘ชี้แนะ’ คนในบริษัทเพื่อใหเกิดความคิดเชิงนวัตกรรม มากกวาการ
“ชี้นํา” เพราะเราจะไมไดอะไรใหมๆจากเขาเลย” ผูเขียนจึงไมแปลกใจเลย ที่ปจจุบันรายไดของ
บริษัทของ MR. DANNY LEE เพิ่มมากขึ้นกวา 60 เทาจากป 2001 ที่มีจํานวนเพียงไมกี่ลานบาทที่
เริ่มกอตั้งบริษัทขึ้นมา เพียงเพราะเขามีความเชื่อวา เพราะความคิดใหมๆที่ทําใหเกิดนวัตกรรม
2

นี่แหละที่ทําใหเขาเปนนักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จได และเขาเรียกมันวา Innovative Thinking
         ผูเขียนเห็นวา นี่คือบทหนึ่งของความสําเร็จไมเพียงแตในธุรกิจของ MR. DANNY LEE
เทานั้น มันนาจะเปนเกือบทุกองคกรที่ประสบความสําเร็จดวย การใหโอกาสคิดเพื่อการกาวไป
หาสิ่งใหมๆ หรือ Innovation นั้น นอกจากไดความคิดใหมแลว ยังเปนทีมาของความสําเร็จใหมๆ
                                                                               ่
ดวยเชนกัน MR. DANNY LEE ย้ําวา Innovative Thinking ตองเริ่มสงเสริมกันตั้งแตใน
โรงเรียนเลยทีเดียว ทําใหผูเขียนนึกถึงการประชุมที่ The Wingspread Conference Center in
Racing,Wisconsin State เมื่อป 1984 ที่มีนักการศึกษาจากตางประเทศ เขารวมประชุมจํานวนมาก
ในการประชุมครั้งนั้น มีวัตถุประสงคเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียน พบวา
ครูสามารถพัฒนาทักษะการคิดและสอนใหผูเรียนรูจักวิธีคิดไดถึง 3 วิธี คือ
                     1. การสอนเพื่อใหคิด (Teaching for thinking) เปนการสอนเนื้อหาวิชาการ โดยมี
การปรับเปลียนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในดานการคิดของผูเรียน โดยครูตองสรางบรรยากาศ
                   ่
การเรียนรูทยั่วยุใหผูเรียนรูจักใชความคิด เชน
                ี่
                               การถกเถียงเรื่องการโตวาที ในหัวขอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน เรื่องเกี่ยวกับ
จริยธรรม ความดีความชั่ว เปนตน
                               การแกปญหา โดยสรางตัวอยางปญหาขึ้นมาใหชวยกันแกปญหา เชน
การหนีโรงเรียน การไมเชื่อฟงพอแม ยาเสพติด การพนัน เปนตน
                               การเขียนรายงาน อาจเขียนเปนใบปลิวโฆษณา ขาวสั้นประจําวัน
จดหมาย ขอเสนอแนะเพื่อการขอรับทุนชวยเหลือ เปนตน
                               การทดลอง เพื่อดูผลของวิธีการที่ใชแกปญหาพฤติกรรมตางๆ
                               การเผชิญสถานการณจําลอง เพื่อใหไดประสบการณใกลเคียงกับ
ประสบการณจริง เปนตน
                     2. การสอนการคิด (Teaching of thinking) เปนการสอนที่เนนเกี่ยวกับ
กระบวนการทางสมองที่นํามาใชในการคิด โดยเฉพาะเปนการ ปลูกฝงทักษะการคิดโดยตรง
ลักษณะของงานที่นํามาใชสอน จะไมเกี่ยวของกับเนื้อหาวิชาการที่เรียนในโรงเรียน แนวทาง
การสอนก็จะแตกตางกันไปตามทฤษฎีและความเชื่อพื้นฐานของแตละคนที่นํามาพัฒนา สิ่งเหลานี้
จะชวยพัฒนาความสามารถทางการคิดของผู เรียนไปในตัว นอกจากนี้ ครูยังสามารถนํารูปแบบ
การสอนตางๆ ที่เนนกระบวนการคิดมาใชเปนกระบวนการสอนไดเปนอยางดี วิธีนี้จะชวยใหครู
สามารถพัฒนาผูเรียนไดทั้งทางดานเนื้อหาสาระและการคิดไปพรอมๆกันทีเดียว
3

           3. การสอนเกี่ยวกับการคิด (Teaching about thinking) เปนการสอนที่เนนการใชทักษะการ
คิดเปนเนื้อหาสาระของการสอน โดยการชวยเหลือใหผูเรียนไดรูและเขาใจกระบวนการคิดของ
ตนเองเพื่อใหเกิดทักษะการคิดที่เรียกวา metacognition คือ รูวาตนเองรูอะไร ตองการรูอะไร และ
ยังไมรูอะไร ตลอดจนสามารถควบคุมและตรวจสอบการคิดของตนเองได ครูจึงตองพยายาม
สงเสริมใหผูเรียนพัฒนาลักษณะการคิดแบบตางๆ รวมทั้งทักษะการคิดทั้งทักษะยอย และทักษะ
ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนการสอนนั้นๆ
           การพัฒนาทักษะการคิดและสอนเพื่อใหผูเรียนรูจักวิธีคิดทั้ง 3 วิธีนี้ นาจะเปนแนวทางที่
ครูสามารถทําไดมากที่สุดและสะดวกที่สุด เนื่องจากครูมีการสอนเนื้อหาสาระที่จะสอนและมี
กิจกรรมที่จะใชสอนอยูแลว ดังนั้น ถาครูนําความเขาใจเหลานี้มา ใชในการปรับกิจกรรมการสอน
ที่มีอยูแลว โดยการใหโอกาสแกผูเรียนไดพัฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิด
ที่หลากหลาย ก็จะทําใหผูเรียนไดมีการฝกการใชความคิดอยางสรางสรรคได แตเราก็มักจะพบวา
เด็กไทยของเรามักจะประสบปญหาเรื่องการคิด เนื่องจากเราสอนใหเด็กไทยคิดนอย อันนี้สังเกต
ไดจากการที่เด็กไทยไปเรียนตางประเทศ จะคิดไมคอยออก หรือไมกลาแสดงออกวากําลังคิดอะไร
เพราะกลัวจะผิด ซึ่งตางจากเด็กฝรั่ง ที่มักกลาแสดงออก และยังชอบที่จะแสดงความเห็นดวย
โดยไมกังวลวา ความคิดนั้น จะถูกหรือไม นี่เปนเพราะกระบวนการจัดการเรียนการสอนของเขา
มุงใหผูเรียนไดคิด คิด และคิด โดยครูจะทําหนาที่เปนเพียงผูชี้แนะ เด็กฝรั่งจึงมีความสามารถใน
การคิดแกปญหาไดมากกวาเด็กไทย และบางครั้งสามารถคิดแตกตางไดอยางอัศจรรยทีเดียว
           จากแนวคิดของ MR. DANNY LEE ที่เห็นวา Innovative Thinking ตองเริ่มสงเสริมกัน
ตั้งแตในโรงเรียน มาจนถึง การพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียนจากการประชุมที่ The Wingspread
Conference Center in Racing, Wisconsin State ตอไปนี้ กจะเปนเรื่องของการคิดแบบ Innovative
Thinking วามีอะไรบาง มีกี่แบบ แตละแบบของความคิดมีลักษณะอยางไร
ความหมาย
       กอนที่จะเขาสูเนื้อหาของ Innovative Thinking เราตองมาดูความหมายของคําๆนี้เสียกอน
เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน Innovation หรือ นวัตกรรม มีรากศัพทมาจาก innovare ใน
ภาษาลาติน แปลวา ทําสิ่งใหมขึ้นมา มาจากภาษาอังกฤษวา Innovation มาจากคํากริยาวา
innovate แปลวา ทําใหม เปลี่ยนแปลงใหเกิดสิ่งใหม ปจจุบันเปนคําที่ใชกันอยางกวางขวางในวง
การศึกษาของไทย ซึ่งเดิมเราใชคําวา “นวกรรม” ตอมาพบวาคํานี้ มีความหมายคลาดเคลื่อน
4

(พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หนา 564 นวกรรม หมายถึง การกอสราง) จึงได
มีการเปลี่ยนมาใชคําวา นวัตกรรม (อานวา นะ วัด ตะ กํา) หมายถึง ความสามารถในการใช
ความรู ความคิดริเริ่มสรางสรรค ทักษะและการปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหมๆ ที่ยังไมเคยมีใชมา
กอน หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยูแลว ใหทันสมัยและใชไดผลดียิ่งขึ้น หรือ
พัฒนาจนเกิดผลิตภัณฑใหม กระบวนการการผลิตใหม หรือบริการใหมๆ ธุรกิจใหม การลงทุน
ใหม ผูประกอบการใหม ตลาดใหม รายไดแหลงใหม และการจางงานใหม เปนตน ดังนั้น ไม
วาวงการหรือกิจการใดๆก็ตาม เมื่อมีการนําเอาความเปลี่ยนแปลงใหมๆเขามาใช เพื่อปรับปรุงงาน
ใหดีขึ้นกวาเดิม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกวาเดิม ชวยประหยัดเวลาและแรงงานไดดวย
ก็เรียกไดวาเปนนวัตกรรม สวนในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หนา565 ให
ความหมายของคําวา นวัตกรรม วา หมายถึง น. สิงที่ทําขึ้นใหมหรือแปลกจากเดิม ซึ่งอาจจะเปน
                                                    ่
ความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ เปนตน ภาษาอังกฤษ ใชคําวา Innovation
         นอกจากนี้ ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร ยังหมายถึง คือ การนํา
แนวความคิดใหม หรือการใชประโยชนจากสิ่งที่มีอยูแลวมาใชในรูปแบบใหม เพื่อทําใหเกิด
ประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ”การทําในสิ่งที่แตกตางจากคนอื่น โดยอาศัย
การเปลี่ยนแปลงตาง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราใหกลายมาเปนโอกาส (Opportunity) และ
ถายทอดไปสูแนวความคิดใหมที่ทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม” โดยจะเนนไปที่การ
สรางสรรค การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันจะนําไปสูการไดมาซึ่ง
นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อประโยชนในเชิงพาณิชยเปนหลัก
นั่นเอง
         ที่จริงก็มีผูใหนิยามของคําวา นวัตกรรม ไวมากมาย สวนใหญจะคลายคลึงกัน ใกลเคียงกัน
ซึ่งจากความหมายของนวัตกรรมที่นามาเสนอขางตน ผูเขียนขอสรุปเอาวา นวัตกรรม หมายถึง
                                         ํ
ความสามารถที่จะใชความรู ความคิด ทักษะและการปฏิบัติ มาปรับปรุง หรือพัฒนาใหดีขึ้น
กวาเดิม สามารถนําไปใชอยางไดผลจริง เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่สูงขึ้นกวาเดิม
และมีความแตกตางจากเดิม ซึ่งครอบคลุมไปถึงสิ่งใหมๆ ดังตอไปนี้ดวย คือ สิ่งใหมที่ไมเคยมีผูใด
เคยทํามากอนเลย สิ่งใหมที่เคยทํามาแลวในอดีตแตไดมีการรื้อฟนขึ้นมาใหม และสิ่งใหมที่มีการ
พัฒนามาจากของเกาที่มีอยูเดิม
       สวนคําวา “การคิด หรือ ความคิด”     เปนคุณสมบัติพิเศษที่มนุษยไดพัฒนามาอยาง
ยาวนาน จนกลาวไดวา มนุษยสามารถครอบครองโลกปจจุบันได ก็เพราะสามารถคิดไดดีกวา
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ผูเขียนไดลองเปดพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 อีกครั้งหนึ่ง
5

ไมนาเชื่อวาทานไดบัญญัติคํานี้ไวใน หนา 231 ดวย โดยนิยามวา ความคิด หมายถึง น. สิ่งที่นึกรู
ขึ้นในใจ , ความรูที่เกิดขึ้นภายในใจกอใหเกิดการแสวงหาความรูตอไป เชน เครื่องบินเกิดขึ้นได
เพราะความคิดของมนุษย, สติปญญาที่จะทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางถูกตองและสมควร เชน คนทําลาย
ของสาธารณะเปนพวกไมมีความคิด
         การคิดจึงเปนความสามารถ ของสมองที่เปนไปตามธรรมชาติของมนุษยที่เกิดขึ้น อันเปนผล
มาจากประสบการณเดิม สิ่งเรา และสภาพแวดลอมที่เขามากระทบสงผลใหเกิดความคิดในการที่
แกไข ปรับตัวเพื่อใหสามารถแกไขปญหา หรือปรับตัวใหเขากับสถานการณตางๆที่เกิดขึ้น รวมทั้ง
สามารถสรางสิ่งใหมๆใหเกิดขึ้น การคิดเปนสิ่งที่เปนนามธรรม เปนกระบวนการที่มีความตอเนื่อง
และเปนขั้นตอน ประสิทธิภาพของความคิดจะชวยใหการดําเนินชีวิตที่เปนปกติสุขและประสบ
ความสําเร็จ ในขณะเดียวกันความลมเหลวและความผิดพลาดที่เกิดขึ้นก็เปนผลมาจากความคิด
ดวยเชนกัน อันเราทานทั้งหลาย ก็เห็นกันอยูในสังคมเปนอันมาก
         ทีนี้ เมื่อรวมเอาคําวา นวัตกรรม (Innovation) และการคิด (Thinking) เขาดวยกัน ก็จะ
เปนคําวา Innovative Thinking ซึ่งผูเขียนใหแปลความวา คือ การคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรม
แตเนื่องจากบรรณาธิการใหพื้นที่เขียนไวเพียงเทานี้ คราวหนาผูเขียนจะมาตอกันวา Innovative
Thinking หรือ การคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรม มีอะไรบาง
         และกอนจบ ผูเขียนขออัญเชิญพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
ภูมิพลอดุลยเดช ที่ไดทรงกลาวถึงความสําคัญของการคิดไวอยางแยบยล วา
         “การคิดนั้นอาจคิดไดหลายอยาง จะคิดใหวัฒนะ คือ คิดแลวทําใหเจริญงอกงามก็ได
           จะคิดใหหายนะ คือ คิดแลวทําใหพินาศฉิบหายก็ได การคิดใหเจริญจึงตองมีหลักอาศัย
                    หมายความวา เมื่อคิดเรื่องใด สิ่งใด ตองตั้งใจใหมั่นคงในความเปนกลาง
ไมปลอยใหอคติอยางหนึ่งอยางใดครอบงํา ใหมีแตความจริงใจตรงตามเหตุตามผลที่ถูกแทและเปนธรรม”

                         -------------------------------------
6

More Related Content

Similar to Innovative thinking

การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationChangnoi Etc
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupED-TA-ro
 

Similar to Innovative thinking (20)

การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovation
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Ch1 innovation
Ch1 innovationCh1 innovation
Ch1 innovation
 
กระบวนการค ด
กระบวนการค ดกระบวนการค ด
กระบวนการค ด
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 

More from Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 

Innovative thinking

  • 1. 1 Innovative Thinking (ตอนที่ 1) ดร.วิลาวัลย มาคุม http://drlek.blog.mthai.com/ เมื่อเดือนเมษายนที่ผานมา ผูเขียนไดมีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนกับ MR. DANNY LEE นักธุรกิจชาวเนเธอรแลนด เชื้อชาติฮองกง ซึ่งประสบความสําเร็จอยางสูงยิ่งในธุรกิจรานอาหาร และภัตตาคาร รวมทั้งธุรกิจสินคาอาหารสําเร็จรูปเพื่อการสงออก เราคุยกันวา ในโลกนี้มี นวัตกรรมใหมๆเกิดขึ้นมากมาย จึงทําใหปจจุบันโลกมนุษยมีความเจริญกาวหนามหาศาล นวัตกรรมใหมๆเกิดขึ้นมากมายที่ทําใหเกิดความเจริญ ทั้งดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเหลานี้ แทที่จริงก็มาจากความสามารถในการคิดได คิดเปนของมนุษย นั่นเอง แลวก็นําเอาความคิดได คิดเปนนั้นๆ มาทําใหเปนจริง เกิดผลในทางปฏิบัติ ใชไดผลดี มีประโยชน มีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลอยางเปนรูปธรรม โดยจะตองนําความคิดนั้นๆ สื่อสารไปยังคนอื่นไดดวย ภายใตความสําเร็จในธุรกิจของ MR. DANNY LEE เขาเลาวา เขาจะใหอิสระในการคิด กับทีมงานทุกๆระดับ ฟงอยางตั้งใจ และคิดตามไปดวย ไมฟงเฉยๆ หรือฟงแลวก็ผานไป หลาย  ครั้ง หลายความเห็นที่ถูกปฏิเสธในที่ประชุมทั้งทางบวก และทางลบ MR. DANNY LEE ไมเคย ละเลยความคิดเหลานั้น เและชอบที่จะฟงทุกๆคนคิด รวมทั้งใหความสําคัญกับวิธีคิดของแตละคน ดวย เขาย้ําวาความคิดของพนักงาน คือตนทุนที่บริษัทไมตองลงทุน “ใหเขาคิดไปเถิดไมเสียตังค สักหนอย” เพราะความคิดมันไมมีตนทุนทางการเงินหรือทางการคา บริษัทไมตองลงทุนอะไร ยิ่งชวยกันคิด ยิ่งไดกําไร สมองยิ่งทํางาน ลูกนองยิ่งฉลาด แตตองชวยกระตุนใหเกิดความคิด ใหมๆจึงจะดี และตองมีสวนสนับสนุนในความคิด รวมทั้งตองสรางบรรยากาศในการทํางานที่เปด โอกาสใหทีมงานไดคิดอยางเสรีดวย ไมโกรธกัน เพราะความคิด ไมมีถูก ไมมีผิด นี่เปนวิธีการที่ MR. DANNY LEE ใชไดผลดีและเนนมาตลอด เขาบอกวา “คนเปน ทรัพยากรที่มีคาที่สุดในองคกร” ถาเราใหอิสระกับความคิดของคนทํางานมาก ยิ่งถาเปนความคิด ใหมๆ ก็มกจะเปนโอกาสนํามาซึ่งความสําเร็จอยูเสมอ ทําใหองคกรนั้นเกิดมีนวัตกรรมมาก ใน ั ขณะเดียวกัน องคกรใดที่ปดกั้นทางความคิด ก็จะเกิดนวัตกรรมที่เกิดจากการไดคิดขึ้นมานอย ดังนั้น จึงควรปลอยใหมีการ ‘ชี้แนะ’ คนในบริษัทเพื่อใหเกิดความคิดเชิงนวัตกรรม มากกวาการ “ชี้นํา” เพราะเราจะไมไดอะไรใหมๆจากเขาเลย” ผูเขียนจึงไมแปลกใจเลย ที่ปจจุบันรายไดของ บริษัทของ MR. DANNY LEE เพิ่มมากขึ้นกวา 60 เทาจากป 2001 ที่มีจํานวนเพียงไมกี่ลานบาทที่ เริ่มกอตั้งบริษัทขึ้นมา เพียงเพราะเขามีความเชื่อวา เพราะความคิดใหมๆที่ทําใหเกิดนวัตกรรม
  • 2. 2 นี่แหละที่ทําใหเขาเปนนักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จได และเขาเรียกมันวา Innovative Thinking ผูเขียนเห็นวา นี่คือบทหนึ่งของความสําเร็จไมเพียงแตในธุรกิจของ MR. DANNY LEE เทานั้น มันนาจะเปนเกือบทุกองคกรที่ประสบความสําเร็จดวย การใหโอกาสคิดเพื่อการกาวไป หาสิ่งใหมๆ หรือ Innovation นั้น นอกจากไดความคิดใหมแลว ยังเปนทีมาของความสําเร็จใหมๆ ่ ดวยเชนกัน MR. DANNY LEE ย้ําวา Innovative Thinking ตองเริ่มสงเสริมกันตั้งแตใน โรงเรียนเลยทีเดียว ทําใหผูเขียนนึกถึงการประชุมที่ The Wingspread Conference Center in Racing,Wisconsin State เมื่อป 1984 ที่มีนักการศึกษาจากตางประเทศ เขารวมประชุมจํานวนมาก ในการประชุมครั้งนั้น มีวัตถุประสงคเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียน พบวา ครูสามารถพัฒนาทักษะการคิดและสอนใหผูเรียนรูจักวิธีคิดไดถึง 3 วิธี คือ 1. การสอนเพื่อใหคิด (Teaching for thinking) เปนการสอนเนื้อหาวิชาการ โดยมี การปรับเปลียนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในดานการคิดของผูเรียน โดยครูตองสรางบรรยากาศ ่ การเรียนรูทยั่วยุใหผูเรียนรูจักใชความคิด เชน ี่ การถกเถียงเรื่องการโตวาที ในหัวขอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน เรื่องเกี่ยวกับ จริยธรรม ความดีความชั่ว เปนตน การแกปญหา โดยสรางตัวอยางปญหาขึ้นมาใหชวยกันแกปญหา เชน การหนีโรงเรียน การไมเชื่อฟงพอแม ยาเสพติด การพนัน เปนตน การเขียนรายงาน อาจเขียนเปนใบปลิวโฆษณา ขาวสั้นประจําวัน จดหมาย ขอเสนอแนะเพื่อการขอรับทุนชวยเหลือ เปนตน การทดลอง เพื่อดูผลของวิธีการที่ใชแกปญหาพฤติกรรมตางๆ การเผชิญสถานการณจําลอง เพื่อใหไดประสบการณใกลเคียงกับ ประสบการณจริง เปนตน 2. การสอนการคิด (Teaching of thinking) เปนการสอนที่เนนเกี่ยวกับ กระบวนการทางสมองที่นํามาใชในการคิด โดยเฉพาะเปนการ ปลูกฝงทักษะการคิดโดยตรง ลักษณะของงานที่นํามาใชสอน จะไมเกี่ยวของกับเนื้อหาวิชาการที่เรียนในโรงเรียน แนวทาง การสอนก็จะแตกตางกันไปตามทฤษฎีและความเชื่อพื้นฐานของแตละคนที่นํามาพัฒนา สิ่งเหลานี้ จะชวยพัฒนาความสามารถทางการคิดของผู เรียนไปในตัว นอกจากนี้ ครูยังสามารถนํารูปแบบ การสอนตางๆ ที่เนนกระบวนการคิดมาใชเปนกระบวนการสอนไดเปนอยางดี วิธีนี้จะชวยใหครู สามารถพัฒนาผูเรียนไดทั้งทางดานเนื้อหาสาระและการคิดไปพรอมๆกันทีเดียว
  • 3. 3 3. การสอนเกี่ยวกับการคิด (Teaching about thinking) เปนการสอนที่เนนการใชทักษะการ คิดเปนเนื้อหาสาระของการสอน โดยการชวยเหลือใหผูเรียนไดรูและเขาใจกระบวนการคิดของ ตนเองเพื่อใหเกิดทักษะการคิดที่เรียกวา metacognition คือ รูวาตนเองรูอะไร ตองการรูอะไร และ ยังไมรูอะไร ตลอดจนสามารถควบคุมและตรวจสอบการคิดของตนเองได ครูจึงตองพยายาม สงเสริมใหผูเรียนพัฒนาลักษณะการคิดแบบตางๆ รวมทั้งทักษะการคิดทั้งทักษะยอย และทักษะ ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนการสอนนั้นๆ การพัฒนาทักษะการคิดและสอนเพื่อใหผูเรียนรูจักวิธีคิดทั้ง 3 วิธีนี้ นาจะเปนแนวทางที่ ครูสามารถทําไดมากที่สุดและสะดวกที่สุด เนื่องจากครูมีการสอนเนื้อหาสาระที่จะสอนและมี กิจกรรมที่จะใชสอนอยูแลว ดังนั้น ถาครูนําความเขาใจเหลานี้มา ใชในการปรับกิจกรรมการสอน ที่มีอยูแลว โดยการใหโอกาสแกผูเรียนไดพัฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิด ที่หลากหลาย ก็จะทําใหผูเรียนไดมีการฝกการใชความคิดอยางสรางสรรคได แตเราก็มักจะพบวา เด็กไทยของเรามักจะประสบปญหาเรื่องการคิด เนื่องจากเราสอนใหเด็กไทยคิดนอย อันนี้สังเกต ไดจากการที่เด็กไทยไปเรียนตางประเทศ จะคิดไมคอยออก หรือไมกลาแสดงออกวากําลังคิดอะไร เพราะกลัวจะผิด ซึ่งตางจากเด็กฝรั่ง ที่มักกลาแสดงออก และยังชอบที่จะแสดงความเห็นดวย โดยไมกังวลวา ความคิดนั้น จะถูกหรือไม นี่เปนเพราะกระบวนการจัดการเรียนการสอนของเขา มุงใหผูเรียนไดคิด คิด และคิด โดยครูจะทําหนาที่เปนเพียงผูชี้แนะ เด็กฝรั่งจึงมีความสามารถใน การคิดแกปญหาไดมากกวาเด็กไทย และบางครั้งสามารถคิดแตกตางไดอยางอัศจรรยทีเดียว จากแนวคิดของ MR. DANNY LEE ที่เห็นวา Innovative Thinking ตองเริ่มสงเสริมกัน ตั้งแตในโรงเรียน มาจนถึง การพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียนจากการประชุมที่ The Wingspread Conference Center in Racing, Wisconsin State ตอไปนี้ กจะเปนเรื่องของการคิดแบบ Innovative Thinking วามีอะไรบาง มีกี่แบบ แตละแบบของความคิดมีลักษณะอยางไร ความหมาย กอนที่จะเขาสูเนื้อหาของ Innovative Thinking เราตองมาดูความหมายของคําๆนี้เสียกอน เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน Innovation หรือ นวัตกรรม มีรากศัพทมาจาก innovare ใน ภาษาลาติน แปลวา ทําสิ่งใหมขึ้นมา มาจากภาษาอังกฤษวา Innovation มาจากคํากริยาวา innovate แปลวา ทําใหม เปลี่ยนแปลงใหเกิดสิ่งใหม ปจจุบันเปนคําที่ใชกันอยางกวางขวางในวง การศึกษาของไทย ซึ่งเดิมเราใชคําวา “นวกรรม” ตอมาพบวาคํานี้ มีความหมายคลาดเคลื่อน
  • 4. 4 (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หนา 564 นวกรรม หมายถึง การกอสราง) จึงได มีการเปลี่ยนมาใชคําวา นวัตกรรม (อานวา นะ วัด ตะ กํา) หมายถึง ความสามารถในการใช ความรู ความคิดริเริ่มสรางสรรค ทักษะและการปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหมๆ ที่ยังไมเคยมีใชมา กอน หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยูแลว ใหทันสมัยและใชไดผลดียิ่งขึ้น หรือ พัฒนาจนเกิดผลิตภัณฑใหม กระบวนการการผลิตใหม หรือบริการใหมๆ ธุรกิจใหม การลงทุน ใหม ผูประกอบการใหม ตลาดใหม รายไดแหลงใหม และการจางงานใหม เปนตน ดังนั้น ไม วาวงการหรือกิจการใดๆก็ตาม เมื่อมีการนําเอาความเปลี่ยนแปลงใหมๆเขามาใช เพื่อปรับปรุงงาน ใหดีขึ้นกวาเดิม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกวาเดิม ชวยประหยัดเวลาและแรงงานไดดวย ก็เรียกไดวาเปนนวัตกรรม สวนในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หนา565 ให ความหมายของคําวา นวัตกรรม วา หมายถึง น. สิงที่ทําขึ้นใหมหรือแปลกจากเดิม ซึ่งอาจจะเปน ่ ความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ เปนตน ภาษาอังกฤษ ใชคําวา Innovation นอกจากนี้ ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร ยังหมายถึง คือ การนํา แนวความคิดใหม หรือการใชประโยชนจากสิ่งที่มีอยูแลวมาใชในรูปแบบใหม เพื่อทําใหเกิด ประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ”การทําในสิ่งที่แตกตางจากคนอื่น โดยอาศัย การเปลี่ยนแปลงตาง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราใหกลายมาเปนโอกาส (Opportunity) และ ถายทอดไปสูแนวความคิดใหมที่ทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม” โดยจะเนนไปที่การ สรางสรรค การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันจะนําไปสูการไดมาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อประโยชนในเชิงพาณิชยเปนหลัก นั่นเอง ที่จริงก็มีผูใหนิยามของคําวา นวัตกรรม ไวมากมาย สวนใหญจะคลายคลึงกัน ใกลเคียงกัน ซึ่งจากความหมายของนวัตกรรมที่นามาเสนอขางตน ผูเขียนขอสรุปเอาวา นวัตกรรม หมายถึง ํ ความสามารถที่จะใชความรู ความคิด ทักษะและการปฏิบัติ มาปรับปรุง หรือพัฒนาใหดีขึ้น กวาเดิม สามารถนําไปใชอยางไดผลจริง เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่สูงขึ้นกวาเดิม และมีความแตกตางจากเดิม ซึ่งครอบคลุมไปถึงสิ่งใหมๆ ดังตอไปนี้ดวย คือ สิ่งใหมที่ไมเคยมีผูใด เคยทํามากอนเลย สิ่งใหมที่เคยทํามาแลวในอดีตแตไดมีการรื้อฟนขึ้นมาใหม และสิ่งใหมที่มีการ พัฒนามาจากของเกาที่มีอยูเดิม สวนคําวา “การคิด หรือ ความคิด” เปนคุณสมบัติพิเศษที่มนุษยไดพัฒนามาอยาง ยาวนาน จนกลาวไดวา มนุษยสามารถครอบครองโลกปจจุบันได ก็เพราะสามารถคิดไดดีกวา สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ผูเขียนไดลองเปดพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 อีกครั้งหนึ่ง
  • 5. 5 ไมนาเชื่อวาทานไดบัญญัติคํานี้ไวใน หนา 231 ดวย โดยนิยามวา ความคิด หมายถึง น. สิ่งที่นึกรู ขึ้นในใจ , ความรูที่เกิดขึ้นภายในใจกอใหเกิดการแสวงหาความรูตอไป เชน เครื่องบินเกิดขึ้นได เพราะความคิดของมนุษย, สติปญญาที่จะทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางถูกตองและสมควร เชน คนทําลาย ของสาธารณะเปนพวกไมมีความคิด การคิดจึงเปนความสามารถ ของสมองที่เปนไปตามธรรมชาติของมนุษยที่เกิดขึ้น อันเปนผล มาจากประสบการณเดิม สิ่งเรา และสภาพแวดลอมที่เขามากระทบสงผลใหเกิดความคิดในการที่ แกไข ปรับตัวเพื่อใหสามารถแกไขปญหา หรือปรับตัวใหเขากับสถานการณตางๆที่เกิดขึ้น รวมทั้ง สามารถสรางสิ่งใหมๆใหเกิดขึ้น การคิดเปนสิ่งที่เปนนามธรรม เปนกระบวนการที่มีความตอเนื่อง และเปนขั้นตอน ประสิทธิภาพของความคิดจะชวยใหการดําเนินชีวิตที่เปนปกติสุขและประสบ ความสําเร็จ ในขณะเดียวกันความลมเหลวและความผิดพลาดที่เกิดขึ้นก็เปนผลมาจากความคิด ดวยเชนกัน อันเราทานทั้งหลาย ก็เห็นกันอยูในสังคมเปนอันมาก ทีนี้ เมื่อรวมเอาคําวา นวัตกรรม (Innovation) และการคิด (Thinking) เขาดวยกัน ก็จะ เปนคําวา Innovative Thinking ซึ่งผูเขียนใหแปลความวา คือ การคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรม แตเนื่องจากบรรณาธิการใหพื้นที่เขียนไวเพียงเทานี้ คราวหนาผูเขียนจะมาตอกันวา Innovative Thinking หรือ การคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรม มีอะไรบาง และกอนจบ ผูเขียนขออัญเชิญพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช ที่ไดทรงกลาวถึงความสําคัญของการคิดไวอยางแยบยล วา “การคิดนั้นอาจคิดไดหลายอยาง จะคิดใหวัฒนะ คือ คิดแลวทําใหเจริญงอกงามก็ได จะคิดใหหายนะ คือ คิดแลวทําใหพินาศฉิบหายก็ได การคิดใหเจริญจึงตองมีหลักอาศัย หมายความวา เมื่อคิดเรื่องใด สิ่งใด ตองตั้งใจใหมั่นคงในความเปนกลาง ไมปลอยใหอคติอยางหนึ่งอยางใดครอบงํา ใหมีแตความจริงใจตรงตามเหตุตามผลที่ถูกแทและเปนธรรม” -------------------------------------
  • 6. 6