SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือที่ชาวบ้านทั่วไปในครั้งนั้น
เรียกว่า พระองค์ดา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรม
ราชาและพระวิสุทธิกษัตริย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรี
สุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพ
เมื่อ พ.ศ. 2098 ที่พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลกทรงมี
พระเชษฐภคิณีคือ พระสุพรรณกัลยา ทรงมีพระอนุชาคือ
สมเด็จพระเอกาทศรถ (องค์ขาว) และทรงเป็นพระราชนัดดา
ของสมเด็จพระศรีสุริโยทัย
ตลอดระยะเวลาในทรงพระเยาว์ของพระนเรศวรทรงใช้ชีวิตอยู่
ในพระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก จนกระทั่งเมื่อพระเจ้าบุเรง
นองยกทัพมาตีเมืองพิษณุโลก สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
เจ้าเมืองพิษณุโลกยอมอ่อนน้อมต่อแห่งหงสาวดี และทาให้
พิษณุโลกต้องแปรสภาพเป็นเมืองประเทศราชหงสาวดีไม่ขึ้นต่อ
กรุงศรีอยุธยา พระเจ้าบุเรงนองได้ทรงขอพระนเรศวรไปเป็น
องค์ประกันที่หงสาวดี ทาให้พระองค์ต้องจากบ้านเกิดเมือง
นอนตั้งแต่มีพระชนม์มายุเพียง 9 พรรษา
พระองค์ทรงเป็นผู้ที่มีน้าพระทัยเป็นนักรบมาตั้งแต่ทรงพระ
เยาว์ มีความกล้าหาญเด็ดเดี่ยวมีน้าพระทัยกว้างขวางสมกับที่
เป็นเชื้อสายของสมเด็จ พระศรีสุริโยทัย แม้พระนเรศวรจะถูก
นาไปเป็นตัวประกันถึงหงสาวดี แต่ตลอดระยะเวลาพระองค์
มิได้ทรงหวั่นไหว ครั้งที่อยู่ในเมืองหงสาวดีก็ได้แสดงความ
ปรีชาสามารถให้ปรากฏหลายต่อหลาย ครั้ง ทาให้พระเจ้าบุเรง
นองกษัตริย์ของหงสาวดีรู้สึกหวาดหวั่น เกรงว่าต่อไปภายหน้า
อาจรวบรวมแผ่นดินอยุธยาได้
เมื่อปี พ.ศ. 2126 พระเจ้าอังวะ
เป็นกบฎ เนื่องจากไม่พอใจทาง
กรุงหงสาวดีอยู่หลายประการ จึง
แข็งเมืองพร้อมกับเกลี้ยกล่อม
เจ้าไทยใหญ่อีกหลายเมืองให้
แข็งเมืองด้วย พระเจ้าหงสาว
ดีนันทบุเรงจึงยกทัพหลวงไป
ปราบ
ในการณ์นี้ได้สั่งให้เจ้าเมืองแปร
เจ้าเมืองตองอูและเจ้าเมือง
เชียงใหม่ รวมทั้งทางกรุงศรี
อยุธยาด้วย ให้ยกทัพไปช่วยทาง
ไทย สมเด็จพระมหาธรรมราชา
โปรดให้สมเด็จพระนเรศวรยกทัพ
ไปแทน
สมเด็จพระนเรศวรยกทัพออกจากเมืองพิษณุโลก เมื่อวันแรม 6 ค่า เดือน 3 ปีมะแม พ.ศ.
2126 พระองค์ยกทัพไทยไปช้า ๆ เพื่อให้การปราบปรามเจ้าอังวะเสร็จสิ้นไปก่อน ทาให้พระ
เจ้าหงสาวดีนันทบุเรงแคลงใจว่า ทางไทยคงจะถูกพระเจ้าอังวะชักชวนให้เข้าด้วย จึงสั่งให้พระ
มหาอุปราชาคุมทัพรักษากรุงหงสาวดีไว้ถ้าทัพไทยยกมาถึงก็ให้ ต้อนรับและหาทางกาจัดเสีย
และพระองค์ได้สั่งให้พระยามอญสองคน คือ พระยาเกียรติและพระยาราม ซึ่งมีสมัครพรรคพวก
อยู่ที่เมืองแครงมาก และทานองจะเป็นผู้คุ้นเคยกับสมเด็จพระนเรศวรมาแต่ก่อน ลงมาคอย
ต้อนรับทัพไทยที่เมืองแครง อันเป็นชายแดนติดต่อกับไทย พระมหาอุปราชาได้ตรัสสั่งเป็น
ความลับว่า เมื่อสมเด็จพระนเรศวรยกกองทัพขึ้นไป ถ้าพระมหาอุปราชายกเข้าตีด้านหน้า
เมื่อใด ให้พระยาเกียรติและพระยารามคุมกาลังเข้าตีกระหนาบทางด้านหลัง ช่วยกันกาจัด
สมเด็จพระนเรศวรเสียให้จงได้ พระยาเกียรติกับพระยารามเมื่อไปถึงเมืองแครงแล้วได้ขยาย
ความลับนี้แก่พระมหา เถรคันฉ่องผู้เป็นอาจารย์ของตน ทุกคนไม่มีใครเห็นดีด้วยกับแผนการ
ของพระเจ้ากรุงหงสาวดี เพราะมหาเถรคันฉ่องกับสมเด็จพระนเรศวรเคยรู้จักชอบพอกันมาก่อน
ฝ่ายพระมหาอุปราชาที่อยู่รักษาเมืองหงสาวดี เมื่อทราบว่าพระยาเกียรติพระยา
รามกลับไปเข้ากับสมเด็จพระนเรศวร จึงได้แต่รักษาพระนครมั่นอยู่ สมเด็จพระ
นเรศวรเสด็จยกทัพข้ามแม่น้าสะโตงไปใกล้ถึงเมืองหงสาวดี ได้ทราบความว่า พระ
เจ้ากรุงหงสาวดีมีชัยชนะได้เมืองอังวะแล้ว กาลังจะยกทัพกลับคืนพระนคร
พระองค์เห็นว่าสถานการณ์ครั้งนี้ไม่สมคะเน เห็นว่าจะตีเอาเมืองหงสาวดีในครั้งนี้
ยังไม่ได้ จึงให้กองทัพแยกย้ายกันเที่ยวบอกพวกครัวไทยที่พม่ากวาดต้อนไปแต่
ก่อนให้อพยพ กลับบ้านเมือง ได้ผู้คนมาประมาณหมื่นเศษให้ยกล่วงหน้าไปก่อน
พระองค์ทรงคุมกองทัพยกตามมาข้างหลัง
ตลอดรัชสมัยของ พระองค์ทรงกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากหงสาวดี และได้ทา
สงครามกับอริราชศัตรูทั้งพม่าและเขมร จนราชอาณาจักรไทยเป็นปึกแผ่น
มั่นคง ขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาลกว่าครั้งใดใน
อดีตที่ผ่านมา งานสงครามในรัชสมัยของพระองค์ ทั้งในดินแดนไทยและ
ดินแดนข้าศึก ได้ชัยชนะทุกครั้ง ทรงมีพระปรีชาสามารถในการนาทัพ ทรง
ริเริ่มนายุทธวิธีแบบใหม่มาใช้ในการทาสงคราม และเปลี่ยนแนวความคิด
จากการตั้งรับมาเป็นการรุก และริเริ่มการใช้วิธีรบนอกแบบารสงครามกับ
พม่าครั้งสาคัญที่ทาให้พม่าไม่กล้า ยกทัพมารุกรานไทยอีกเลย เป็นเวลา
เกือบสองร้อยปีคือ
สงครามยุทธหัตถี เมื่อปี พ.ศ. ๒๑๓๕ นั่นคือเมื่อหงสาวดีนาโดยพระมหา
อุปราชามังสามเกียดยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา อีกครั้ง สมเด็จพระนเรศวร
ก็นาทัพออกไปจนปะทะกันที่หนองสาหร่าย จังหวัดสุพรรณบุรี บ้างก็ว่า
จังหวัดกาญจนบุรี สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงกระทายุทธหัตถีกับพระมหา
อุปราชาจนกระทั่งสามารถเอาพระ แสงง้าวฟันพระมหาอุปราชาขาด
สะพายแล่ง สิ้นพระชนม์อยู่กับคอช้างนั่นเอง
ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. สรุปประวัติของพระนเรศวร แบบ
พอสังเขบ. สือค้นเมื่อวันที่ 5/9/2559. [ออนไลน์] ที่มา
จาก:
https://sujinjonjarenpang.wordpress.com/%E0%B8%
AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8
%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B
8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B
8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%
B8%B0%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%

More Related Content

Similar to ใบงานที่5 บทความและสารคดี

ใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีPatteera Muthuta
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรีSumintra Boonsri
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย009kkk
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับnuttawon
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to ใบงานที่5 บทความและสารคดี (20)

ใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดีใบงานที่5 บทความและสารคดี
ใบงานที่5 บทความและสารคดี
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 

ใบงานที่5 บทความและสารคดี

  • 1.
  • 2.
  • 3. สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือที่ชาวบ้านทั่วไปในครั้งนั้น เรียกว่า พระองค์ดา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรม ราชาและพระวิสุทธิกษัตริย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรี สุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพ เมื่อ พ.ศ. 2098 ที่พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลกทรงมี พระเชษฐภคิณีคือ พระสุพรรณกัลยา ทรงมีพระอนุชาคือ สมเด็จพระเอกาทศรถ (องค์ขาว) และทรงเป็นพระราชนัดดา ของสมเด็จพระศรีสุริโยทัย
  • 4. ตลอดระยะเวลาในทรงพระเยาว์ของพระนเรศวรทรงใช้ชีวิตอยู่ ในพระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก จนกระทั่งเมื่อพระเจ้าบุเรง นองยกทัพมาตีเมืองพิษณุโลก สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เจ้าเมืองพิษณุโลกยอมอ่อนน้อมต่อแห่งหงสาวดี และทาให้ พิษณุโลกต้องแปรสภาพเป็นเมืองประเทศราชหงสาวดีไม่ขึ้นต่อ กรุงศรีอยุธยา พระเจ้าบุเรงนองได้ทรงขอพระนเรศวรไปเป็น องค์ประกันที่หงสาวดี ทาให้พระองค์ต้องจากบ้านเกิดเมือง นอนตั้งแต่มีพระชนม์มายุเพียง 9 พรรษา
  • 5. พระองค์ทรงเป็นผู้ที่มีน้าพระทัยเป็นนักรบมาตั้งแต่ทรงพระ เยาว์ มีความกล้าหาญเด็ดเดี่ยวมีน้าพระทัยกว้างขวางสมกับที่ เป็นเชื้อสายของสมเด็จ พระศรีสุริโยทัย แม้พระนเรศวรจะถูก นาไปเป็นตัวประกันถึงหงสาวดี แต่ตลอดระยะเวลาพระองค์ มิได้ทรงหวั่นไหว ครั้งที่อยู่ในเมืองหงสาวดีก็ได้แสดงความ ปรีชาสามารถให้ปรากฏหลายต่อหลาย ครั้ง ทาให้พระเจ้าบุเรง นองกษัตริย์ของหงสาวดีรู้สึกหวาดหวั่น เกรงว่าต่อไปภายหน้า อาจรวบรวมแผ่นดินอยุธยาได้
  • 6. เมื่อปี พ.ศ. 2126 พระเจ้าอังวะ เป็นกบฎ เนื่องจากไม่พอใจทาง กรุงหงสาวดีอยู่หลายประการ จึง แข็งเมืองพร้อมกับเกลี้ยกล่อม เจ้าไทยใหญ่อีกหลายเมืองให้ แข็งเมืองด้วย พระเจ้าหงสาว ดีนันทบุเรงจึงยกทัพหลวงไป ปราบ ในการณ์นี้ได้สั่งให้เจ้าเมืองแปร เจ้าเมืองตองอูและเจ้าเมือง เชียงใหม่ รวมทั้งทางกรุงศรี อยุธยาด้วย ให้ยกทัพไปช่วยทาง ไทย สมเด็จพระมหาธรรมราชา โปรดให้สมเด็จพระนเรศวรยกทัพ ไปแทน
  • 7. สมเด็จพระนเรศวรยกทัพออกจากเมืองพิษณุโลก เมื่อวันแรม 6 ค่า เดือน 3 ปีมะแม พ.ศ. 2126 พระองค์ยกทัพไทยไปช้า ๆ เพื่อให้การปราบปรามเจ้าอังวะเสร็จสิ้นไปก่อน ทาให้พระ เจ้าหงสาวดีนันทบุเรงแคลงใจว่า ทางไทยคงจะถูกพระเจ้าอังวะชักชวนให้เข้าด้วย จึงสั่งให้พระ มหาอุปราชาคุมทัพรักษากรุงหงสาวดีไว้ถ้าทัพไทยยกมาถึงก็ให้ ต้อนรับและหาทางกาจัดเสีย และพระองค์ได้สั่งให้พระยามอญสองคน คือ พระยาเกียรติและพระยาราม ซึ่งมีสมัครพรรคพวก อยู่ที่เมืองแครงมาก และทานองจะเป็นผู้คุ้นเคยกับสมเด็จพระนเรศวรมาแต่ก่อน ลงมาคอย ต้อนรับทัพไทยที่เมืองแครง อันเป็นชายแดนติดต่อกับไทย พระมหาอุปราชาได้ตรัสสั่งเป็น ความลับว่า เมื่อสมเด็จพระนเรศวรยกกองทัพขึ้นไป ถ้าพระมหาอุปราชายกเข้าตีด้านหน้า เมื่อใด ให้พระยาเกียรติและพระยารามคุมกาลังเข้าตีกระหนาบทางด้านหลัง ช่วยกันกาจัด สมเด็จพระนเรศวรเสียให้จงได้ พระยาเกียรติกับพระยารามเมื่อไปถึงเมืองแครงแล้วได้ขยาย ความลับนี้แก่พระมหา เถรคันฉ่องผู้เป็นอาจารย์ของตน ทุกคนไม่มีใครเห็นดีด้วยกับแผนการ ของพระเจ้ากรุงหงสาวดี เพราะมหาเถรคันฉ่องกับสมเด็จพระนเรศวรเคยรู้จักชอบพอกันมาก่อน
  • 8. ฝ่ายพระมหาอุปราชาที่อยู่รักษาเมืองหงสาวดี เมื่อทราบว่าพระยาเกียรติพระยา รามกลับไปเข้ากับสมเด็จพระนเรศวร จึงได้แต่รักษาพระนครมั่นอยู่ สมเด็จพระ นเรศวรเสด็จยกทัพข้ามแม่น้าสะโตงไปใกล้ถึงเมืองหงสาวดี ได้ทราบความว่า พระ เจ้ากรุงหงสาวดีมีชัยชนะได้เมืองอังวะแล้ว กาลังจะยกทัพกลับคืนพระนคร พระองค์เห็นว่าสถานการณ์ครั้งนี้ไม่สมคะเน เห็นว่าจะตีเอาเมืองหงสาวดีในครั้งนี้ ยังไม่ได้ จึงให้กองทัพแยกย้ายกันเที่ยวบอกพวกครัวไทยที่พม่ากวาดต้อนไปแต่ ก่อนให้อพยพ กลับบ้านเมือง ได้ผู้คนมาประมาณหมื่นเศษให้ยกล่วงหน้าไปก่อน พระองค์ทรงคุมกองทัพยกตามมาข้างหลัง
  • 9. ตลอดรัชสมัยของ พระองค์ทรงกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากหงสาวดี และได้ทา สงครามกับอริราชศัตรูทั้งพม่าและเขมร จนราชอาณาจักรไทยเป็นปึกแผ่น มั่นคง ขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาลกว่าครั้งใดใน อดีตที่ผ่านมา งานสงครามในรัชสมัยของพระองค์ ทั้งในดินแดนไทยและ ดินแดนข้าศึก ได้ชัยชนะทุกครั้ง ทรงมีพระปรีชาสามารถในการนาทัพ ทรง ริเริ่มนายุทธวิธีแบบใหม่มาใช้ในการทาสงคราม และเปลี่ยนแนวความคิด จากการตั้งรับมาเป็นการรุก และริเริ่มการใช้วิธีรบนอกแบบารสงครามกับ พม่าครั้งสาคัญที่ทาให้พม่าไม่กล้า ยกทัพมารุกรานไทยอีกเลย เป็นเวลา เกือบสองร้อยปีคือ
  • 10. สงครามยุทธหัตถี เมื่อปี พ.ศ. ๒๑๓๕ นั่นคือเมื่อหงสาวดีนาโดยพระมหา อุปราชามังสามเกียดยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา อีกครั้ง สมเด็จพระนเรศวร ก็นาทัพออกไปจนปะทะกันที่หนองสาหร่าย จังหวัดสุพรรณบุรี บ้างก็ว่า จังหวัดกาญจนบุรี สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงกระทายุทธหัตถีกับพระมหา อุปราชาจนกระทั่งสามารถเอาพระ แสงง้าวฟันพระมหาอุปราชาขาด สะพายแล่ง สิ้นพระชนม์อยู่กับคอช้างนั่นเอง
  • 11. ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง. สรุปประวัติของพระนเรศวร แบบ พอสังเขบ. สือค้นเมื่อวันที่ 5/9/2559. [ออนไลน์] ที่มา จาก: https://sujinjonjarenpang.wordpress.com/%E0%B8% AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8 %9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B 8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B 8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0% B8%B0%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%