SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
2. ชนิดของเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้2 ชนิด
- เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
- เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN
2.1 เครือข่ายแลน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยง
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้า
ด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก
เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครือข่าย
แลนนี้องค์การสามารถดาเนินการทาเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่อสาร
ภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง เครือข่ายแลน มีตั้งแต่เครือข่าย
ขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเดียวกัน
จนเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย มีการวาง
เครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครือข่ายแลนจึง
เป็นเครือข่ายที่รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็นเจ้าของ
ลักษณะสาคัญของเครือข่ายแลน คืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่าย
สามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก โดยทั่วไปมีความเร็ว
ตั้งแต่ หลายสิบล้านบิตต่อวินาที จนถึงร้อยล้านบิตต่อวินาที การสื่อสาร
ในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่อสารสูง ทาให้การรับส่งข้อมูลมีความ
ผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจานวนมากในเวลาจากัดได้
2.2 เครือข่ายแวน
เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล
เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครือข่ายระยะไกล
จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ เช่น สายวงจรเช่าจาก
องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจร
สื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ
เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่าย ที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการ
เชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคารมีสาขาทั่วประเทศ มีบริการ รับ
ฝากเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม
เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารจึงไม่สูง
เนื่องจาก มีสัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจาเป็นต้อง
ใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของ การรับส่งข้อมูล
เครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายที่ทาให้เครือข่ายแลนหลายๆ เครือข่ายเชื่อมถึง
กันได้เช่นที่ทาการสาขาทุกแห่ง ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้
ทางานภายในสาขานั้นๆ
และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลน ของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวด้วย
เครือข่ายแวนในอนาคตอันใกล้นี้บทบาทของเครือข่ายแวนจะทาให้ทุก
บริษัท ทุกองค์การทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ของตนเอง
เข้าสู่เครือข่ายกลาง เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน และการทางาน
ร่วมกัน ในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกันเทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่าย
แวนมีความหลากหลาย
มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง
คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้น้า
เทคโนโลยีของการเชื่อมโยง ได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยังไม่พอเพียงกับ
ความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
2.3 เทคโนโลยีเครือข่ายแลน
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น มีจุดมุ่งหมาย
ที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหาก
นาเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกันได้ครั้นจะนาเอาคอมพิวเตอร์เครื่อง
ที่สามต่อรวมด้วย เริ่มจะมีข้อยุ่งยากเพิ่มขึ้น และยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์
เป็นจานวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด
สื่อสารกันได้
ด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีการและเทคนิคใน
การเชื่อมโยงเครือข่ายแบบต่างๆ เพื่อลดข้อยุ่งยาก ในการเชื่อมโยง
สายสัญญาณโดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนาไปใช้งาน
ได้ ทั้งนี้เพราะข้อจากัดของการใช้ สายสัญญาณเป็นเรื่องสาคัญมาก
บริษัทผู้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้พยายามคิดหาวิธีและใช้
เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลน ออกมาหลายระบบ
ระบบใดได้รับการยอมรับก็มีการตั้งมาตรฐานกลาง เพื่อว่าจะได้มีผู้ผลิตที่
สนใจการผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่าย เทคโนโลยีเครือข่ายแลน
จึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น อีเทอร์เน็ต (Ethernet) โท
เก็นริง (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching)
2.4 อีเทอร์เน็ต (Ethernet) อีเทอร์เน็ต
เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบ
แบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส (Bus)
โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial
Cable) เป็นตัวเชื่อม สาหรับระบบบัส เป็นระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุก
ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่งข้อมูล
ข้อมูล ก็ส่งข้อมูลได้เลย แต่เนื่องจากไม่มีวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรือเปล่า
เปล่า จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรือคอมพิวเตอร์ เครื่องใดที่ส่งข้อมูลมาใน
ช่วงเวลาเดียวกันจะทาให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญหายของข้อมูล ผู้ส่ง
ส่งต้องส่งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่งทาให้เสียเวลามาก
จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ (Hub)
และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที (10 base t) โดยใช้สายสัญญาณที่มี
ขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน
(Unshielded twisted pair : UTP) ทาให้การเชื่อมต่อนี้มีลักษณะแบบ
ดาววิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับใช้สายสัญญาณไปยัง
อุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์อื่น ๆ จุดเด่นของดาวตัวนี้จะอยู่ที่เมื่อมีการส่ง
ข้อมูลจะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่าอุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้าง
และจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่ แต่เมื่อมีฮับเป็นตัวแบกภาระ
ทั้งหมด ก็มีจุดอ่อนได้คือ ถ้าฮับเกิดเป็นอะไรขึ้นมา อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ
หรือคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก
ภายในฮับมีลักษณะเป็นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน ดังนั้นการใช้ฮับ
และบัสจะมีระบบการส่งข้อมูลแบบ เดียวกัน และมีการพัฒนาเป็น
มาตรฐาน กาหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า 802.3 ความเร็วในการส่งกาหนดไว้ที่
10 ล้านบิตต่อ วินาที และกาลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถรับส่งสัญญาณ
ได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที
2.5 โทเก็นริง
โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น รูปแบบการ
เชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่ง
เป็นตัวส่งสัญญาณ
การเชื่อมต่อแบบนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้
โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้ การติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลาดับให้
ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สับสน และมีรูปแบบ ที่ชัดเจน โทเก็นริงที่ใช้กันอยู่
ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อวินาที ข้อมูล
แต่ละชุดจะมี การกาหนดตาแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไป
ที่สถานีใด
2.6 สวิตชิง
สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูล
ระหว่างสถานีทาได้เร็วยิ่งขึ้น การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไป
ยังสถานีปลายทาง จะกระทาที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า สวิตชิง รูปแบบ
ของเครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ เป็นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกัน
กับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็นศูนย์กลาง
แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุก
สาย แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตาแหน่งที่ต้องการเท่านั้น
สวิตชิงจึงมีข้อดี กว่าฮับเนื่องจากแต่ละสายสัญญาณจะมีความเป็นอิสระ
ต่อกันมาก ทาให้รับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่องการชนกัน ของข้อมูล
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิงมีหลายแบบ เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์ และเอทีเอ็ม
สวิตซ์
เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มี
การรับส่งกันเป็นชุด ๆ ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า เซล มีขนาดจากัด การสวิ
ตชิงแบบเอทีเอ็มทาให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดาเนินไป
อย่างรวดเร็วซึ่งกาลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความนิยม
มากขึ้น ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งานสมัยใหม่หลายอย่าง ต้องการ
ความเร็วสูง โดยเฉพาะการสื่อสารที่มีการผสมหลายสื่อรวมทั้งข้อความ
รูปภาพ เสียงและวีดิโอ

More Related Content

What's hot

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krittalak Chawat
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558PTtp WgWt
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์Sujit Chuajine
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นSukanjana
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายTa Khanittha
 
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์IS UP
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555BeeHand Behide
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Nipat Deenan
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ekkachai kaikaew
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายssrithai
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 

What's hot (20)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 

Viewers also liked

ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศNattapon
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Poii Zeist
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
Motorsport marketing tsms 4
Motorsport marketing tsms 4Motorsport marketing tsms 4
Motorsport marketing tsms 4Trevor04
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศNattapon
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Nattawut Pornonsung
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
чехов
чеховчехов
чеховegorxp
 

Viewers also liked (17)

ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1 ระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ระบบสารสนเทศหน่วยที่ 1 ระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
Motorsport marketing tsms 4
Motorsport marketing tsms 4Motorsport marketing tsms 4
Motorsport marketing tsms 4
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คค
 
чехов
чеховчехов
чехов
 

Similar to 2. ชนิดของเครือข่าย

ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารjansaowapa
 
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์Denpipat Chaitrong
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Networkchukiat008
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์chukiat008
 
ประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายsutthisakphukhao
 
ประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายsutthisakphukhao
 
ประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายsutthisakphukhao
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์kru P
 
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์SornsawanSuriyan19
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์Por Oraya
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 

Similar to 2. ชนิดของเครือข่าย (20)

ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
 
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่าย
 
ประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่าย
 
ประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายประเภทของระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 

More from Ta Khanittha

หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตTa Khanittha
 
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่ายหน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่ายหน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XPหน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XPTa Khanittha
 
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายหน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายTa Khanittha
 
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตTa Khanittha
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางTa Khanittha
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางTa Khanittha
 
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่านTa Khanittha
 
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
1. แบบจำลอง OSI Model
1. แบบจำลอง OSI Model1. แบบจำลอง OSI Model
1. แบบจำลอง OSI ModelTa Khanittha
 
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลTa Khanittha
 

More from Ta Khanittha (14)

หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่ายหน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่ายหน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
 
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XPหน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
 
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายหน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
 
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
 
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
 
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
 
1. แบบจำลอง OSI Model
1. แบบจำลอง OSI Model1. แบบจำลอง OSI Model
1. แบบจำลอง OSI Model
 
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
 

2. ชนิดของเครือข่าย