SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
การสร้างรายชื่อกลุ่มผู้ใช้งาน
การกาหนดรายชื่อกลุ่มผู้ใช้จะช่วยให้การกาหนดสิทธิ์ต่างๆให้กับ
ผู้ใช้สามารถทาได้สะดวกขึ้น โดยสามารถกาหนดสิทธิ์ผ่านทางกลุ่ม
โดยไม่ต้องไปกาหนดให้กับผู้ใช้ที่ละคน วิธีการสร้างรายชื่อกลุ่มจะมี
ขั้นตอนดังนี้
1.1 คลิกปุ่ม Start>Programs>Administrative Tools >Active
Directory Users and Computers
1.2 คลิกเมาส์ขวาที่ออพเจ็กต์ OU ที่ต้องการสร้างรายชื่อกลุ่มไว้
แล้วคลิกคาสั่ง New > Group
1.3 จะมีหน้าต่าง New Object - Group ปรากฏขึ้นมา ให้คุณ
กรอกชื่อกลุ่มในช่อง Group name: และ Group name (pre-
Windows 2000)
1.4 เลือกขอบเขตของกลุ่มในส่วนของ Group scope โดยะจะมี
ตัวเลือกให้เลือก 3 ตัวเลือก คือ
- Domain local เป็นกลุ่มที่สามารถใช้งานได้เฉพาะในโดเมนที่
สร้างกลุ่มนี้ขึ้นเท่านั้น โดเมนอื่นๆจะมองไม่เห็นกลุ่มประเภทนี้
- Global เป็นกลุ่มที่สามารถใช้งานได้ในทุกๆ โดเมนในทรีหรือฟอ
เรสต์เดียวกัน
- Universal เป็นกลุ่มที่สามารุใช้งานได้ในทุกๆโดเมนในทรีหรือฟอ
เรสต์เดียวกัน แต่ขอบเขตประเภทนี้จะใช้งานใน Mixed Mode ไม่ได้
1.5 เลือกประเภทของกลุ่มในส่วนของ Group type โดยจะมี
ตัวเลือกให้เลือก 2 ตัวเลือก คือ
- Security เป็นการสร้างกลุ่มสาหรับกาหนดสิทธิ์ต่างๆให้กับผู้ใช้
อยู่ในกลุ่ม
- Distributionเป็นการสร้างกลุ่มสาหรับอานวยความสะดวกในการ
ส่ง E- Mail ไปถึงผู้ใช้ทุกคนที่อยู่ในกลุ่ม
1.6 คลิกปุ่ม OK คุณก็จะได้รายชื่อกลุ่มใหม่ในฐานข้อมูล Active
Directory ของเครื่องคุณ
1.7 หลังจากที่สร้างกลุ่มของผู้ใช้ขึ้นมาแล้ว จะมีวิธีการเพิ่มผู้ใช้เข้า
เป็นสมาชิกของกลุ่ม โดยให้คุณคลิกเมาส์ขวาที่ชื่อกลุ่มผู้ใช้ที่ต้องการ
เพิ่มสมาชิก แล้วเลือกคาสั่ง Properties
1.8 จะมีหน้าต่าง Properties ของกลุ่มที่เลือกปรากฏขึ้นมา ให้
คลิกที่แท็ป Member
1.9 คลิกปุ่ม Add...
1.10 จะมีหน้าต่าง Select Users, Contacts, or Computers
ปรากฏขึ้นมา ให้คุณเลือกโดเมนที่เก็บราชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการเพิ่มใน
ช่อง Look in :
1.11 ให้เลือกรายชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการเพิ่มเข้ามาเป็นสมาชิกของ
กลุ่ม แล้วคลิกปุ่ม Add ให้คุณทาเช่นนี้จนกว่าจะเพิ่มผู้ใช้มาจนครบ
1.12 เมื่อครบแล้วให้คลิกปุ่ม OK เพื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสร้างกลุ่ม
ของผู้ใช้
การสร้างรายชื่อผู้ใช้
ผู้ใช้ทุกคนในระบบจะต้องมี Account หรือชื่อผู้ใช้ของตนเอง เพื่อ
ใช้ในการ Logon เข้าสู่ระบบ ในการสร้าง User Account ปกติจะสร้าง
ไว้ในส่วนของออพเจ็กต์ OU เพื่อความสะดวกในการจัดการ ซึ่งมีวิธี
สร้างดังนี้
2.1 ขณะที่คุณอยู่ในเครื่องมือ Active Directory Users and
computers ให้คุณคลิกเมาส์ขวาที่ออพเจ็กต์ OU ที่ต้องการสร้าง User
Account ไว้ภายใน แล้วคลิกคาสั่ง New>User
2.2 จะมีหน้าต่าง New Object - User ปรากฏขึ้นมา ให้คุณกรอก
ชื่อและนามสกุลในช่อง First name และ Last name จากนั้นกรอกชื่อ
และสกุลในช่อง Full name และกรอกชื่อ User สาหรับใช้ Logon ช่อง
User logon name : เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Next
2.3 หน้าจอต่อมา ให้คุณกาหนดรหัสผ่านสาหรับการ Logon ใน
ช่อง Password และช่อง Confirm password โดยต้องกรอกให้
เหมือนกัน ด้านล่าง จะมีตัวเลือกให้เลือก 4 ตัวเลือก คือ
- User must change password next logon คลิกถูกที่ตัวเลือกนี้
เพื่อกาหนดให้ผู้ใช้เป็นผู้กาหนดรหัสผ่านเองเมื่อทาการ Logon ในครั้ง
ต่อไป
- User cannot change password คลิกถูกที่ตัวเลือกนี้หากคุณ
ไม่ต้องการให้ผู้ใช้เปลี่ยนรหัสผ่านเอง
- Password never expires คลิกถูกที่ตัวเลือกนี้หากคุณไม่
ต้องการให้รหัสผ่านมีการหมดอายุ ทาให้ระบบมีความปลอดภัยมากขึ้น
- Account is disabled คลิกถูกที่ตัวเลือกนี้เพื่อระงับการใช้งาน
User นี้ชั่วคราว
2.4 เมื่อกาหนดค่าต่างๆเสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Next
2.5 จากนั้นจะมีหน้าจอให้คุณตรวจสอบข้อมูลที่กาหนดอีกครั้ง ให้
คลิกปุ่ม Finish คุณก็จะได้ User ใหม่ในระบบ หลังจากที่คุณสร้าง
User Account ขึ้นมาแล้ว คุณสามารถแก้ไขข้อมูลต่างๆของผู้ใช้ได้ โดย
ให้คุณคลิกเมาส์ขวาที่ชื่อของผู้ใช้ต้องการ แล้วคลิกคาสั่ง Properties
จะมีหน้าต่าง Properties ของผู้ใช้เลือกปรากฏขึ้นมา ให้คุณแก้ไข
ข้อมูลต่างๆของผู้ใช้ได้
สาหรับการเปลี่ยนรหัสผ่านของผู้ใช้ให้คุณคลิกเมาส์ขวาที่ชื่อของ
ผู้ใช้ที่ต้องการ แล้วเลือกคาสั่ง Reset Password จะมีหน้าต่าง Reset
Password ปรากฏขึ้นมาให้คุณกาหนดรหัสผ่านของผู้ใช้ใหม่ได้
การสร้าง Organization Unit (OU)
Organization Unit (OU) เป็นออพเจ็กต์พิเศษที่สามารถบรรจุออพ
เจ็กต์อื่นๆไว้ภายในได้ เช่น ชื่อผู้ใช้,ชื่อคอมพิวเตอร์,ชื่อกลุ่ม เป็นต้น ซึ่ง
การเก็บออพเจ็กต์เหล่านั้นไว้ใน OU ช่วยให้คุณสามารถจัดการออพ
เจ็กต์เหล่านั้นได้ง่ายขึ้น สาหรับวิธีสร้าง จะมีขั้นตอนดังนี้
3.1 คลิกปุ่ม Start>Programs>Administrative Tools>Active
Directory Users and Computers
3.2 คลิกเมาส์ขวาที่ไอคอนของชื่อโดเมน แล้วคลิกคาสั่ง
New>Organization Unit
3.3 จะมีหน้าต่าง New Object - Organization Unit ปรากฏ
ขึ้นมา ให้คุณกรอกชื่อ OU ในช่อง Name: เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม OK
การกาหนดสิทธิผู้ใช้ในระบบ
ผู้ที่มีอานาจในการกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้ก็คือผู้บริหารระบบ โดยที่
ผู้บริหารระบบจะสามารถกาหนดสิทธิ์ของใครก็ได้ในโดเมนที่ตน
รับผิดชอบอยู่ โดยวิธีกาหนดสิทธิ์จะมีขั้นตอนดังนี้
4.1คลิกปุ่ม Start > Programs > Administrative Tools > Active
Directory Users and Computers
4.2 จากนั้นให้คลิกเมนู View>Advanced Features เพื่อ
กาหนดให้ระบบแสดง Features บางอย่างเพิ่มขึ้นจากปกติแต่ถ้าเมนู
Advanced Features เพื่อกาหนดให้ระบบแสดง Features บางอย่าง
เพิ่มขึ้นจากปกติแต่ถ้าเมนู Advanced Features มีเครื่องหมายถูกอยู่
แล้วก็ไม่ต้องทาขั้นตอนนี้
4.3 คลิกเมาส์ขวาที่ออพเจ็กต์ OU ของผู้ใช้ที่ต้องการกาหนดสิทธิ์
แล้วคลิกคาสั่ง Properties
4.4 จะมีหน้าต่าง Properties ของออพเจ็กต์ที่คุณเลือกปรากฏ
ขึ้นมา ให้คุณคลิกที่แท็ป Security
4.5 หากในช่อง Name ยังไม่มีชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการกาหนดสิทธิ์ให้
คลิกที่ปุ่ม Add จะมีหน้าต่าง Select Users, Contacts, or Computers
ปรากฏขึ้นมาเพื่อให้คุณเลือกรายชื่อผู้ใช้ที่ต้องการได้
4.6 หลังจากเลือกชื่อผู้ใช้ที่ต้องการได้แล้ว รายชื่อผู้ใช้ก็จะปรากฏ
ในช่อง Name ให้คุณคลิกที่ชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการ
4.7 ทาการกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้ โดยกาหนดในช่อง Permission
ด้านล่าง โดยจะมีสิทธิ์พื้นฐานทั่วไปให้คุณกาหนดได้ดังนี้
- Full Control คือมีสิทธิ์ทุกอย่างในออพเจ็กต์ที่ผู้ใช้เป็นเจ้าของอยู่
และมีสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ต่างๆในออพเจ็กต์ของผู้ใช้ได้
- Read เป็นสิทธิ์ที่สามารถวิวดูชื่อและค่าคุณสมบัติของออพเจ็กต์
ต่างๆสามารถตรวจสอบสิทธิ์ของผู้ใช้ได้
- Write เป็นสิทธิ์ที่สามารถทาการแก้ไขค่าคุณสมบัติของออพเจ็กต์
ต่างๆได้
- Create All Child Objects เป็นสิทธิ์ที่สามารถเพิ่มออพเจ็กต์
ประเภทใดก็ได้ออกจาก OU เดิม
- Delete All Child Objects เป็นสิทธิ์ที่สามารถลบออพเจ็กต์
ประเภทใดก็ได้ออกจาก OU เดิม
4.8 หากคุณต้องการให้สิทธิ์ในข้อใดคลิกถูกที่ช่อง Allow แต่ถ้าไม่
ต้องการให้สิทธิ์หรือต้องการยกเลิกสิทธิ์ใดให้คุณคลิกถูกช่อง Deny ของ
รายการสิทธิ์นั้น
4.9 เมื่อกาหนดสิทธิ์เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม OK ก็เป็นอันว่าคุณได้ทา
การกาหนดสิทธิ์ของออพเจ็กต์เสร็จแล้ว
ข้อแนะนาในการกาหนดสิทธิ์
ควรกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้ที่ระดับ OU และปล่อยให้เป็นไปตาม
กลไกการสืบทอดสิทธิ์ไม่ควรไปกาหนดสิทธิ์ที่ออพเจ็กต์ระดับ User
เพราะจะทาให้ยากต่อการติดตามและเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ของผู้ใช้แต่ละ
คนในภายหลัง

More Related Content

Similar to 2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน

ข้อมูลเกี่ยวกับ AD Server.pdf
ข้อมูลเกี่ยวกับ AD Server.pdfข้อมูลเกี่ยวกับ AD Server.pdf
ข้อมูลเกี่ยวกับ AD Server.pdfWuttitulPATLOM
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
Sunshine(tm) : CEA Operation Manual
Sunshine(tm) : CEA Operation Manual Sunshine(tm) : CEA Operation Manual
Sunshine(tm) : CEA Operation Manual Angelenar Devilar
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)วิโรจน์ พรรณหาญ
 

Similar to 2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน (7)

ข้อมูลเกี่ยวกับ AD Server.pdf
ข้อมูลเกี่ยวกับ AD Server.pdfข้อมูลเกี่ยวกับ AD Server.pdf
ข้อมูลเกี่ยวกับ AD Server.pdf
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
Sunshine(tm) : CEA Operation Manual
Sunshine(tm) : CEA Operation Manual Sunshine(tm) : CEA Operation Manual
Sunshine(tm) : CEA Operation Manual
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
การสร้างผู้มีสิทธิ์ใช้งาน (User account)
 

More from Ta Khanittha

หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตTa Khanittha
 
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่ายหน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่ายหน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XPหน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XPTa Khanittha
 
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายหน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายTa Khanittha
 
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Ta Khanittha
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายTa Khanittha
 
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตTa Khanittha
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางTa Khanittha
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางTa Khanittha
 
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
1. แบบจำลอง OSI Model
1. แบบจำลอง OSI Model1. แบบจำลอง OSI Model
1. แบบจำลอง OSI ModelTa Khanittha
 
2. ชนิดของเครือข่าย
2. ชนิดของเครือข่าย2. ชนิดของเครือข่าย
2. ชนิดของเครือข่ายTa Khanittha
 
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลTa Khanittha
 

More from Ta Khanittha (16)

หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่ายหน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่ายหน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
 
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XPหน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
 
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายหน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
 
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
 
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
 
1. แบบจำลอง OSI Model
1. แบบจำลอง OSI Model1. แบบจำลอง OSI Model
1. แบบจำลอง OSI Model
 
2. ชนิดของเครือข่าย
2. ชนิดของเครือข่าย2. ชนิดของเครือข่าย
2. ชนิดของเครือข่าย
 
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
 

2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน

  • 2. การสร้างรายชื่อกลุ่มผู้ใช้งาน การกาหนดรายชื่อกลุ่มผู้ใช้จะช่วยให้การกาหนดสิทธิ์ต่างๆให้กับ ผู้ใช้สามารถทาได้สะดวกขึ้น โดยสามารถกาหนดสิทธิ์ผ่านทางกลุ่ม โดยไม่ต้องไปกาหนดให้กับผู้ใช้ที่ละคน วิธีการสร้างรายชื่อกลุ่มจะมี ขั้นตอนดังนี้ 1.1 คลิกปุ่ม Start>Programs>Administrative Tools >Active Directory Users and Computers 1.2 คลิกเมาส์ขวาที่ออพเจ็กต์ OU ที่ต้องการสร้างรายชื่อกลุ่มไว้ แล้วคลิกคาสั่ง New > Group 1.3 จะมีหน้าต่าง New Object - Group ปรากฏขึ้นมา ให้คุณ กรอกชื่อกลุ่มในช่อง Group name: และ Group name (pre- Windows 2000)
  • 3. 1.4 เลือกขอบเขตของกลุ่มในส่วนของ Group scope โดยะจะมี ตัวเลือกให้เลือก 3 ตัวเลือก คือ - Domain local เป็นกลุ่มที่สามารถใช้งานได้เฉพาะในโดเมนที่ สร้างกลุ่มนี้ขึ้นเท่านั้น โดเมนอื่นๆจะมองไม่เห็นกลุ่มประเภทนี้ - Global เป็นกลุ่มที่สามารถใช้งานได้ในทุกๆ โดเมนในทรีหรือฟอ เรสต์เดียวกัน - Universal เป็นกลุ่มที่สามารุใช้งานได้ในทุกๆโดเมนในทรีหรือฟอ เรสต์เดียวกัน แต่ขอบเขตประเภทนี้จะใช้งานใน Mixed Mode ไม่ได้
  • 4. 1.5 เลือกประเภทของกลุ่มในส่วนของ Group type โดยจะมี ตัวเลือกให้เลือก 2 ตัวเลือก คือ - Security เป็นการสร้างกลุ่มสาหรับกาหนดสิทธิ์ต่างๆให้กับผู้ใช้ อยู่ในกลุ่ม - Distributionเป็นการสร้างกลุ่มสาหรับอานวยความสะดวกในการ ส่ง E- Mail ไปถึงผู้ใช้ทุกคนที่อยู่ในกลุ่ม 1.6 คลิกปุ่ม OK คุณก็จะได้รายชื่อกลุ่มใหม่ในฐานข้อมูล Active Directory ของเครื่องคุณ 1.7 หลังจากที่สร้างกลุ่มของผู้ใช้ขึ้นมาแล้ว จะมีวิธีการเพิ่มผู้ใช้เข้า เป็นสมาชิกของกลุ่ม โดยให้คุณคลิกเมาส์ขวาที่ชื่อกลุ่มผู้ใช้ที่ต้องการ เพิ่มสมาชิก แล้วเลือกคาสั่ง Properties
  • 5. 1.8 จะมีหน้าต่าง Properties ของกลุ่มที่เลือกปรากฏขึ้นมา ให้ คลิกที่แท็ป Member 1.9 คลิกปุ่ม Add... 1.10 จะมีหน้าต่าง Select Users, Contacts, or Computers ปรากฏขึ้นมา ให้คุณเลือกโดเมนที่เก็บราชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการเพิ่มใน ช่อง Look in : 1.11 ให้เลือกรายชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการเพิ่มเข้ามาเป็นสมาชิกของ กลุ่ม แล้วคลิกปุ่ม Add ให้คุณทาเช่นนี้จนกว่าจะเพิ่มผู้ใช้มาจนครบ 1.12 เมื่อครบแล้วให้คลิกปุ่ม OK เพื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสร้างกลุ่ม ของผู้ใช้
  • 6. การสร้างรายชื่อผู้ใช้ ผู้ใช้ทุกคนในระบบจะต้องมี Account หรือชื่อผู้ใช้ของตนเอง เพื่อ ใช้ในการ Logon เข้าสู่ระบบ ในการสร้าง User Account ปกติจะสร้าง ไว้ในส่วนของออพเจ็กต์ OU เพื่อความสะดวกในการจัดการ ซึ่งมีวิธี สร้างดังนี้ 2.1 ขณะที่คุณอยู่ในเครื่องมือ Active Directory Users and computers ให้คุณคลิกเมาส์ขวาที่ออพเจ็กต์ OU ที่ต้องการสร้าง User Account ไว้ภายใน แล้วคลิกคาสั่ง New>User 2.2 จะมีหน้าต่าง New Object - User ปรากฏขึ้นมา ให้คุณกรอก ชื่อและนามสกุลในช่อง First name และ Last name จากนั้นกรอกชื่อ และสกุลในช่อง Full name และกรอกชื่อ User สาหรับใช้ Logon ช่อง User logon name : เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Next
  • 7. 2.3 หน้าจอต่อมา ให้คุณกาหนดรหัสผ่านสาหรับการ Logon ใน ช่อง Password และช่อง Confirm password โดยต้องกรอกให้ เหมือนกัน ด้านล่าง จะมีตัวเลือกให้เลือก 4 ตัวเลือก คือ - User must change password next logon คลิกถูกที่ตัวเลือกนี้ เพื่อกาหนดให้ผู้ใช้เป็นผู้กาหนดรหัสผ่านเองเมื่อทาการ Logon ในครั้ง ต่อไป - User cannot change password คลิกถูกที่ตัวเลือกนี้หากคุณ ไม่ต้องการให้ผู้ใช้เปลี่ยนรหัสผ่านเอง - Password never expires คลิกถูกที่ตัวเลือกนี้หากคุณไม่ ต้องการให้รหัสผ่านมีการหมดอายุ ทาให้ระบบมีความปลอดภัยมากขึ้น - Account is disabled คลิกถูกที่ตัวเลือกนี้เพื่อระงับการใช้งาน User นี้ชั่วคราว
  • 8. 2.4 เมื่อกาหนดค่าต่างๆเสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Next 2.5 จากนั้นจะมีหน้าจอให้คุณตรวจสอบข้อมูลที่กาหนดอีกครั้ง ให้ คลิกปุ่ม Finish คุณก็จะได้ User ใหม่ในระบบ หลังจากที่คุณสร้าง User Account ขึ้นมาแล้ว คุณสามารถแก้ไขข้อมูลต่างๆของผู้ใช้ได้ โดย ให้คุณคลิกเมาส์ขวาที่ชื่อของผู้ใช้ต้องการ แล้วคลิกคาสั่ง Properties จะมีหน้าต่าง Properties ของผู้ใช้เลือกปรากฏขึ้นมา ให้คุณแก้ไข ข้อมูลต่างๆของผู้ใช้ได้ สาหรับการเปลี่ยนรหัสผ่านของผู้ใช้ให้คุณคลิกเมาส์ขวาที่ชื่อของ ผู้ใช้ที่ต้องการ แล้วเลือกคาสั่ง Reset Password จะมีหน้าต่าง Reset Password ปรากฏขึ้นมาให้คุณกาหนดรหัสผ่านของผู้ใช้ใหม่ได้
  • 9. การสร้าง Organization Unit (OU) Organization Unit (OU) เป็นออพเจ็กต์พิเศษที่สามารถบรรจุออพ เจ็กต์อื่นๆไว้ภายในได้ เช่น ชื่อผู้ใช้,ชื่อคอมพิวเตอร์,ชื่อกลุ่ม เป็นต้น ซึ่ง การเก็บออพเจ็กต์เหล่านั้นไว้ใน OU ช่วยให้คุณสามารถจัดการออพ เจ็กต์เหล่านั้นได้ง่ายขึ้น สาหรับวิธีสร้าง จะมีขั้นตอนดังนี้ 3.1 คลิกปุ่ม Start>Programs>Administrative Tools>Active Directory Users and Computers 3.2 คลิกเมาส์ขวาที่ไอคอนของชื่อโดเมน แล้วคลิกคาสั่ง New>Organization Unit 3.3 จะมีหน้าต่าง New Object - Organization Unit ปรากฏ ขึ้นมา ให้คุณกรอกชื่อ OU ในช่อง Name: เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม OK
  • 10. การกาหนดสิทธิผู้ใช้ในระบบ ผู้ที่มีอานาจในการกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้ก็คือผู้บริหารระบบ โดยที่ ผู้บริหารระบบจะสามารถกาหนดสิทธิ์ของใครก็ได้ในโดเมนที่ตน รับผิดชอบอยู่ โดยวิธีกาหนดสิทธิ์จะมีขั้นตอนดังนี้ 4.1คลิกปุ่ม Start > Programs > Administrative Tools > Active Directory Users and Computers 4.2 จากนั้นให้คลิกเมนู View>Advanced Features เพื่อ กาหนดให้ระบบแสดง Features บางอย่างเพิ่มขึ้นจากปกติแต่ถ้าเมนู Advanced Features เพื่อกาหนดให้ระบบแสดง Features บางอย่าง เพิ่มขึ้นจากปกติแต่ถ้าเมนู Advanced Features มีเครื่องหมายถูกอยู่ แล้วก็ไม่ต้องทาขั้นตอนนี้
  • 11. 4.3 คลิกเมาส์ขวาที่ออพเจ็กต์ OU ของผู้ใช้ที่ต้องการกาหนดสิทธิ์ แล้วคลิกคาสั่ง Properties 4.4 จะมีหน้าต่าง Properties ของออพเจ็กต์ที่คุณเลือกปรากฏ ขึ้นมา ให้คุณคลิกที่แท็ป Security 4.5 หากในช่อง Name ยังไม่มีชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการกาหนดสิทธิ์ให้ คลิกที่ปุ่ม Add จะมีหน้าต่าง Select Users, Contacts, or Computers ปรากฏขึ้นมาเพื่อให้คุณเลือกรายชื่อผู้ใช้ที่ต้องการได้ 4.6 หลังจากเลือกชื่อผู้ใช้ที่ต้องการได้แล้ว รายชื่อผู้ใช้ก็จะปรากฏ ในช่อง Name ให้คุณคลิกที่ชื่อของผู้ใช้ที่ต้องการ
  • 12. 4.7 ทาการกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้ โดยกาหนดในช่อง Permission ด้านล่าง โดยจะมีสิทธิ์พื้นฐานทั่วไปให้คุณกาหนดได้ดังนี้ - Full Control คือมีสิทธิ์ทุกอย่างในออพเจ็กต์ที่ผู้ใช้เป็นเจ้าของอยู่ และมีสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ต่างๆในออพเจ็กต์ของผู้ใช้ได้ - Read เป็นสิทธิ์ที่สามารถวิวดูชื่อและค่าคุณสมบัติของออพเจ็กต์ ต่างๆสามารถตรวจสอบสิทธิ์ของผู้ใช้ได้ - Write เป็นสิทธิ์ที่สามารถทาการแก้ไขค่าคุณสมบัติของออพเจ็กต์ ต่างๆได้ - Create All Child Objects เป็นสิทธิ์ที่สามารถเพิ่มออพเจ็กต์ ประเภทใดก็ได้ออกจาก OU เดิม - Delete All Child Objects เป็นสิทธิ์ที่สามารถลบออพเจ็กต์ ประเภทใดก็ได้ออกจาก OU เดิม
  • 13. 4.8 หากคุณต้องการให้สิทธิ์ในข้อใดคลิกถูกที่ช่อง Allow แต่ถ้าไม่ ต้องการให้สิทธิ์หรือต้องการยกเลิกสิทธิ์ใดให้คุณคลิกถูกช่อง Deny ของ รายการสิทธิ์นั้น 4.9 เมื่อกาหนดสิทธิ์เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม OK ก็เป็นอันว่าคุณได้ทา การกาหนดสิทธิ์ของออพเจ็กต์เสร็จแล้ว ข้อแนะนาในการกาหนดสิทธิ์ ควรกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้ที่ระดับ OU และปล่อยให้เป็นไปตาม กลไกการสืบทอดสิทธิ์ไม่ควรไปกาหนดสิทธิ์ที่ออพเจ็กต์ระดับ User เพราะจะทาให้ยากต่อการติดตามและเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ของผู้ใช้แต่ละ คนในภายหลัง