SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
รายงาน
วิชา...การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่อง... เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เสนอ
อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ
จัดทาโดย
นางสาวศรสวรรค์ สุริยัน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 เลขที่ 19
โรงเรียนรัษฎานุประดิษณ์อนุสรณ์
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คานา
รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อ
ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเพื่อการ
ติดต่อสื่อสาร ซึ่งข้อมูลต่างๆ อาจเป็นทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็วแก่
ผู้ใช้ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้คงมีประโยชน์ต่อผู้ที่นาไปใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามความคาดหวัง
หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย

จัดทาโดย
นางสาวศรสวรรค์ สุริยัน
สารบัญ
เรื่อง

หน้า

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1

ความสาคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2

ชนิดของเครือข่าย

4

เทคโนโลยีเครือข่ายแลน

6

การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์

9

ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์

10

อ้างอิง

13
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึง
เกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้
งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางาน
ร่วมกันได้ สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการ
เชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนาข้อมูลไปใช้
ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และ
แบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึง
เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม
การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้การทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น
มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการ
ระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบ
สาหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ
1 ความสาคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ธรรมชาติมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ร่วมกันทางานสร้างสรรสังคม
เพื่อให้ ความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น จากการดาเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว การทางานตลอดจนสังคมและ
การเมือง ทาให้ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มีความจาเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่าง
กัน พัฒนาการ ทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ แรกเริ่มมีการพัฒนา
คอมพิวเตอร์แบบ รวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรือ เมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละ
คนเปรียบเสมือน เป็นสถานีปลายทาง ที่เรียกใช้ทรัพยากร การคานวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์
ตอบสนองต่อ การทางานนั้น ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทาให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล จนมี
การเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า พีซี (Personal Competer:PC) การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่หลายอย่าง
รวดเร็ว เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อ มีการใช้งานกัน
มาก บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ปรับปรุง และพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทางาน
ร่วมกันเป็นกลุ่มในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จึงเป็นวิธีการหนึ่ง และกาลังได้รับความนิยมสูงมาก เพราะทา
ให้ตอบสนองตรงความต้องการที่จะติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนา
เรื่อยมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาด
เล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับ การพัฒนาให้มีขีดความสามารถและทางานได้มาก
ขึ้น จนกระทั่งคอมพิวเตอร์สามารถทางานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทางานใน
รูปแบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือนาเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ หรือที่
เรียกว่า เครื่องให้บริการ (Server ) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็นเครื่องใช้บริการ (Client)
โดยมีเครือข่าย(Network) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ
ในที่สุดระบบเครือข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่เป็นแบบรวมศูนย์ได้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทวี
ความสาคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้ พอเหมาะกับงาน ในธุรกิจ
ขนาดเล็กที่ไม่มีกาลังในการลงทุนซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้
ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เป็นสถานี
บริการที่ทาให้ใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ เมื่อกิจการเจริญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครือข่ายการใช้ คอมพิวเตอร์
โดยเพิ่มจานวนเครื่องหรือขยายความจุข้อมูลให้พอเหมาะกับองค์กร ในปัจจุบันองค์การขนาดใหญ่ก็สามารถลดการ
ลงทุนลงได้ โดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็นเครือข่ายของ
องค์การ โดยสภาพการใช้ข้อมูลสามารถทาได้ดีเหมือน เช่นในอดีตที่ต้องลงทุนจานวนมาก เครือข่ายคอมพิวเตอร์
มีบทบาทที่สาคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้
1. ทาให้เกิดการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทางานพร้อมกัน
2. ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทาให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น
3. ทาให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ และ
อุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน
4. ทาให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
2 ชนิดของเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด
- เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
- เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN
2.1 เครือข่ายแลน

หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ใน
ท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก เครือข่าย
แลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดาเนินการทาเองได้ โดย
วางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง เครือข่ายแลน มีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่
เช่นมหาวิทยาลัย มีการวางเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่
รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็นเจ้าของ ลักษณะสาคัญของเครือข่ายแลน คืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่าย
สามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก โดยทั่วไปมีความเร็วตั้งแต่ หลายสิบล้านบิตต่อวินาที จนถึงร้อย
ล้านบิตต่อวินาที การสื่อสารในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่อสารสูง ทาให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อย
และสามารถรับส่งข้อมูลจานวนมากในเวลาจากัดได้
2.2 เครือข่ายแวน

เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่าง
ประเทศ การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ เช่น สายวงจรเช่าจาก
องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจร
สื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่าย ที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและ
ต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคารมีสาขาทั่วประเทศ มีบริการ รับฝากเงินผ่านตู้
เอทีเอ็ม เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารจึงไม่สูง เนื่องจาก มีสัญญาณรบกวนใน
สาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจาเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของ การรับส่ง
ข้อมูล
เครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายที่ทาให้เครือข่ายแลนหลายๆ เครือข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทาการสาขา
ทุกแห่ง ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้ทางานภายในสาขานั้นๆ และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลน
ของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวด้วยเครือข่ายแวน ในอนาคตอันใกล้นี้ บทบาทของเครือข่ายแวนจะทาให้ทุก
บริษัท ทุกองค์การทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง เพื่อการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน และการทางานร่วมกัน ในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เทคโนโลยีที่ใช้กับ
เครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณ
ดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้น้า เทคโนโลยี
ของการเชื่อมโยง ได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยังไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
3 เทคโนโลยีเครือข่ายแลน
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
สื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหากนาเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกันได้ครั้นจะนาเอาคอมพิวเตอร์เครื่องที่สามต่อรวมด้วย เริ่มจะมีข้อยุ่งยาก
เพิ่มขึ้น และยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด
สื่อสารกันได้ ด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบ
ต่างๆ เพื่อลดข้อยุ่งยาก ในการเชื่อมโยงสายสัญญาณโดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนาไปใช้งาน
ได้ ทั้งนี้เพราะข้อจากัดของการใช้ สายสัญญาณเป็นเรื่องสาคัญมาก
บริษัทผู้พัฒนาระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ได้พยายามคิดหาวิธี และใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลน ออกมาหลาย
ระบบ ระบบใดได้รับการยอมรับก็มีการตั้งมาตรฐานกลาง เพื่อว่าจะได้มีผู้ผลิตที่สนใจการผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยง
เข้าสู่เครือข่าย เทคโนโลยีเครือข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น อีเทอร์เน็ต
(Ethernet) โทเก็นริง (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching)
3.1 อีเทอร์เน็ต (Ethernet)
อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า
บัส (Bus)

โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็นตัวเชื่อม สาหรับระบบบัส เป็น
ระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่ง
ข้อมูล ก็ส่งข้อมูลได้เลย แต่เนื่องจากไม่มีวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรือเปล่า จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรือ
คอมพิวเตอร์ เครื่องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน จะทาให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญหายของ
ข้อมูล ผู้ส่งต้องส่งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง ทาให้เสียเวลามาก จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่งข้อมูล
ผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ (Hub) และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที (10 base t) โดยใช้สายสัญญาณที่
มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded twisted pair : UTP)
ทาให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะแบบดาว

วิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ ใช้สายสัญญาณไปยังอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์อื่น ๆ จุดเด่นของ
ดาวตัวนี้ จะอยู่ที่ เมื่อมีการส่งข้อมูล จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้างและจะมี
การสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่ แต่เมื่อมีฮับเป็นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มีจุดอ่อนได้คือ ถ้าฮับเกิดเป็นอะไร
ขึ้นมา อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ หรือคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก
ภายในฮับมีลักษณะเป็นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน ดังนั้นการใช้ฮับและบัสจะมีระบบการส่งข้อมูลแบบ
เดียวกัน และมีการพัฒนาเป็นมาตรฐาน กาหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า 802.3 ความเร็วในการส่งกาหนดไว้ที่ 10 ล้าน
บิตต่อ วินาที และกาลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถรับส่งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที

3.2 โทเก็นริง
โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน โดยด้าน
หนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ การเชื่อมต่อแบบนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถ
ส่งข้อมูลถึงกันได้ โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้ การติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลาดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะ
ได้ไม่สับสน และมีรูปแบบ ที่ชัดเจน โทเก็นริงที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อ
วินาที ข้อมูลแต่ละชุดจะมี การกาหนดตาแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไปที่สถานีใด
3.3 สวิตชิง
สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทาได้เร็วยิ่งขึ้น การคัดเลือก
ชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง จะกระทาที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า สวิตชิง รูปแบบของ
เครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ เป็นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกันกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็น
ศูนย์กลาง แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย แต่สวิตชิงจะเลือกการ
สลับสัญญาณไปยังตาแหน่งที่ต้องการเท่านั้น สวิตชิงจึงมีข้อดี กว่าฮับเนื่องจากแต่ละสายสัญญาณจะมีความเป็น
อิสระต่อกันมาก ทาให้รับส่งสัญญาณไม่มีปญหาเรื่องการชนกัน ของข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิงมีหลายแบบ
ั
เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์ และเอทีเอ็มสวิตซ์
เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ ข้อมูลแต่
ละชุดเรียกว่า เซล มีขนาดจากัด การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทาให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดาเนิน
ไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งกาลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความนิยมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งาน
สมัยใหม่หลายอย่าง ต้องการความเร็วสูง โดยเฉพาะการสื่อสารที่มีการผสมหลายสื่อรวมทั้งข้อความ รูปภาพ
เสียงและวีดิโอ
4 การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทางานกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อ
เชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่าย
แวน ก็จะได้เครือข่าย ขนาดใหญ่ ตัวอย่างการใช้งานเครือข่าย
4.1 การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน
งานขององค์กรบางอย่างมีความจาเป็นต้องใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน ถ้าแต่ละฝ่ายทาการหาหรือรวบรวมข้อมูล
เอง ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้ นอกจากความผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้วยังทาให้สิ้นเปลือง
ทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์ สิ้นเปลืองเวลาอีกด้วย แต่ถ้าองค์กรนั้นมีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี มีสถานี
ให้บริการเก็บข้อมูล แล้วให้ผู้ใช้บริการในองค์กร นั้นดึงข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายไปใช้ ก็จะประหยัดค่าใช้จ่าย
ด้านต่าง ๆ ได้ นอกจากนั้นยังสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกน กล้อง
ดิจิตอล ฯลฯ การดาเนินงานก็เป็นไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน
4.2 การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย
เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน ผู้ใช้ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่าง
กัน สามารถส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกัน ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้
4.3 สานักงานอัตโนมัติ
แนวคิดของสานักงานสมัยใหม่ ก็คือ ลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่
สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด ระบบสานักงานอัตโนมัติจึงเป็นระบบการทางานที่ทุกสถานี
งานเปรียบเสมือน โต๊ะทางาน ทาให้เกิดความคล่องตัว และรวดเร็ว

5 ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง ทา
ให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน เรียกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันใน
องค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่า
อินทราเน็ต ดังนั้น อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง ส่วนมาตรฐาน
และวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน
5.1 อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับ
มหาวิทยาลัย ชั้นนาในสหรัฐฯ เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย และใช้
ทรัพยากรเพื่อทางานวิจัย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปา
เน็ต และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็น
มาตรฐาน โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่องค์กร
เอกชน และแพร่ขยายไปทั่วโลก
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายของเครือข่าย หมายความว่าใน
องค์กรได้สร้างเครือข่ายภายในตนเองขึ้นมา และนามาเชื่อมต่อสู่เครือข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการกาหนด
ตาแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส ซึ่งอินเทอร์เน็ต กาหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพี
แอดเดรส และถือเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ากันเลย ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็นรหัสของ
เครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 ส่วน
รหัสของเครื่องจะมีอีกสองพิกัดตามมา เช่น 2.71 เมื่อเขียนรวมกันจะได้ 158.108.2.71
เพื่อให้จดจาได้ง่าย
จึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้
ชื่อ ku.ac.th โดย th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา และ ku หมายถึง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในเครือข่ายหลายเครื่อง ก็ให้มีการตั้งชื่อเครื่อง
ด้วย เช่น nontri เมื่อมีการเรียกรวมกันก็ จะเป็น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทาให้ใช้งานง่ายกว่า
ตัวเลข
เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก ทาให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ
สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ว ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างที่แพร่หลาย
และใช้กันมากเท่านั้น แต่ยังมีการใช้งานอื่น ๆ อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา
1.การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็น
เอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส ระบบจะนาส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว ลักษณะของ
แอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบกัน เช่น sombat@nontri.ku.ac.th การติดต่อบน
อินเทอร์เน็ตนี้ จะหาตาแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนาส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่งไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ (email) กาลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
2. การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน
เป็นระบบที่ทาให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่
ต่าง ๆ และให้บริการ ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนาแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้
3. การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ทาให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานี
บริการใน ที่ห่างไกลได้ ผู้ใช้สามารถนาข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย โดยไม่ต้อง
เดินทางไปเอง
4. การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร
ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน หรือนามาพิมพ์ ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุด
ขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมง
มุมครอบคลุมทั่วโลก(World Wide Web : WWW) เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก
5. การอ่านจากกลุ่มข่าว
ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุ่มข่าวนี้จึง
แพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว
6. การสนทนาบนเครือข่าย
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง ในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็น
ตัวหนังสือ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้
ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้า
กันและกันบนจอภาพได้
7. การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย
ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและ
ได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือข่ายด้วย
5.2 อินทราเน็ต

เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งาน
เฉพาะในองค์กร โดยนาวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะใน
องค์การนี้จึงเรียกว่า เครือข่ายอินทราเน็ต

การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานี

ให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทาให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย
อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะทาให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะ
เชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต
อ้างอิง
http://www.rayongwit.ac.th/comcen09/network/lesson7.htm
http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Networks%20Technology/net
work5.html
http://saithammachannetwork.blogspot.com/
http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html

More Related Content

What's hot

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์.เครือข่ายคอมพิวเตอร์.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์.Kanokwan Kanjana
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารjansaowapa
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2Varid Tunyamat
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายNaruk Naendu
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krittalak Chawat
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์RattiyakornKeawrap26
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 

What's hot (18)

0
00
0
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์.เครือข่ายคอมพิวเตอร์.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์.
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 

Similar to เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์SoawakonJujailum
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558PTtp WgWt
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์Denpipat Chaitrong
 
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายการประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายThitaporn
 
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายการประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายThitaporn
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 

Similar to เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายการประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
 
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายการประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่าย
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
Internet and web
Internet and webInternet and web
Internet and web
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 

เรื่องเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน วิชา...การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง... เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เสนอ อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาวศรสวรรค์ สุริยัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 เลขที่ 19 โรงเรียนรัษฎานุประดิษณ์อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อ ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเพื่อการ ติดต่อสื่อสาร ซึ่งข้อมูลต่างๆ อาจเป็นทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็วแก่ ผู้ใช้ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้คงมีประโยชน์ต่อผู้ที่นาไปใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามความคาดหวัง หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย จัดทาโดย นางสาวศรสวรรค์ สุริยัน
  • 4. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึง เกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้ งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางาน ร่วมกันได้ สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการ เชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนาข้อมูลไปใช้ ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และ แบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึง เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้การทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการ ระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบ สาหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ
  • 5. 1 ความสาคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ธรรมชาติมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ร่วมกันทางานสร้างสรรสังคม เพื่อให้ ความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น จากการดาเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว การทางานตลอดจนสังคมและ การเมือง ทาให้ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มีความจาเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่าง กัน พัฒนาการ ทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ แรกเริ่มมีการพัฒนา คอมพิวเตอร์แบบ รวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรือ เมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละ คนเปรียบเสมือน เป็นสถานีปลายทาง ที่เรียกใช้ทรัพยากร การคานวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์ ตอบสนองต่อ การทางานนั้น ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทาให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล จนมี การเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า พีซี (Personal Competer:PC) การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่หลายอย่าง รวดเร็ว เพราะการใช้งานง่ายราคา ไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อ มีการใช้งานกัน มาก บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ปรับปรุง และพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทางาน ร่วมกันเป็นกลุ่มในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จึงเป็นวิธีการหนึ่ง และกาลังได้รับความนิยมสูงมาก เพราะทา ให้ตอบสนองตรงความต้องการที่จะติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนา เรื่อยมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้แก่ เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาด เล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับ การพัฒนาให้มีขีดความสามารถและทางานได้มาก ขึ้น จนกระทั่งคอมพิวเตอร์สามารถทางานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทางานใน รูปแบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือนาเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ หรือที่ เรียกว่า เครื่องให้บริการ (Server ) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็นเครื่องใช้บริการ (Client) โดยมีเครือข่าย(Network) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ
  • 6. ในที่สุดระบบเครือข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่เป็นแบบรวมศูนย์ได้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทวี ความสาคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้ พอเหมาะกับงาน ในธุรกิจ ขนาดเล็กที่ไม่มีกาลังในการลงทุนซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เป็นสถานี บริการที่ทาให้ใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ เมื่อกิจการเจริญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครือข่ายการใช้ คอมพิวเตอร์ โดยเพิ่มจานวนเครื่องหรือขยายความจุข้อมูลให้พอเหมาะกับองค์กร ในปัจจุบันองค์การขนาดใหญ่ก็สามารถลดการ ลงทุนลงได้ โดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็นเครือข่ายของ องค์การ โดยสภาพการใช้ข้อมูลสามารถทาได้ดีเหมือน เช่นในอดีตที่ต้องลงทุนจานวนมาก เครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีบทบาทที่สาคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ 1. ทาให้เกิดการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทางานพร้อมกัน 2. ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทาให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น 3. ทาให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ และ อุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน 4. ทาให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
  • 7. 2 ชนิดของเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด - เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN) - เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN 2.1 เครือข่ายแลน หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ใน ท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก เครือข่าย แลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดาเนินการทาเองได้ โดย วางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง เครือข่ายแลน มีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่ เช่นมหาวิทยาลัย มีการวางเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่ รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็นเจ้าของ ลักษณะสาคัญของเครือข่ายแลน คืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่าย สามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก โดยทั่วไปมีความเร็วตั้งแต่ หลายสิบล้านบิตต่อวินาที จนถึงร้อย ล้านบิตต่อวินาที การสื่อสารในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่อสารสูง ทาให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อย และสามารถรับส่งข้อมูลจานวนมากในเวลาจากัดได้
  • 8. 2.2 เครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่าง ประเทศ การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ เช่น สายวงจรเช่าจาก องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจร สื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่าย ที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและ ต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคารมีสาขาทั่วประเทศ มีบริการ รับฝากเงินผ่านตู้ เอทีเอ็ม เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารจึงไม่สูง เนื่องจาก มีสัญญาณรบกวนใน สาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจาเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของ การรับส่ง ข้อมูล เครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายที่ทาให้เครือข่ายแลนหลายๆ เครือข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทาการสาขา ทุกแห่ง ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้ทางานภายในสาขานั้นๆ และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลน ของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวด้วยเครือข่ายแวน ในอนาคตอันใกล้นี้ บทบาทของเครือข่ายแวนจะทาให้ทุก บริษัท ทุกองค์การทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง เพื่อการ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน และการทางานร่วมกัน ในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เทคโนโลยีที่ใช้กับ เครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณ ดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้น้า เทคโนโลยี ของการเชื่อมโยง ได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยังไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
  • 9. 3 เทคโนโลยีเครือข่ายแลน การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง สื่อสาร ข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหากนาเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทาให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกันได้ครั้นจะนาเอาคอมพิวเตอร์เครื่องที่สามต่อรวมด้วย เริ่มจะมีข้อยุ่งยาก เพิ่มขึ้น และยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากที่จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด สื่อสารกันได้ ด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบ ต่างๆ เพื่อลดข้อยุ่งยาก ในการเชื่อมโยงสายสัญญาณโดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนาไปใช้งาน ได้ ทั้งนี้เพราะข้อจากัดของการใช้ สายสัญญาณเป็นเรื่องสาคัญมาก บริษัทผู้พัฒนาระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ได้พยายามคิดหาวิธี และใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลน ออกมาหลาย ระบบ ระบบใดได้รับการยอมรับก็มีการตั้งมาตรฐานกลาง เพื่อว่าจะได้มีผู้ผลิตที่สนใจการผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยง เข้าสู่เครือข่าย เทคโนโลยีเครือข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น อีเทอร์เน็ต (Ethernet) โทเก็นริง (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching) 3.1 อีเทอร์เน็ต (Ethernet) อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส (Bus) โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็นตัวเชื่อม สาหรับระบบบัส เป็น ระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่ง ข้อมูล ก็ส่งข้อมูลได้เลย แต่เนื่องจากไม่มีวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรือเปล่า จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรือ คอมพิวเตอร์ เครื่องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน จะทาให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญหายของ
  • 10. ข้อมูล ผู้ส่งต้องส่งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง ทาให้เสียเวลามาก จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่งข้อมูล ผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ (Hub) และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที (10 base t) โดยใช้สายสัญญาณที่ มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded twisted pair : UTP) ทาให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะแบบดาว วิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ ใช้สายสัญญาณไปยังอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์อื่น ๆ จุดเด่นของ ดาวตัวนี้ จะอยู่ที่ เมื่อมีการส่งข้อมูล จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้างและจะมี การสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่ แต่เมื่อมีฮับเป็นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มีจุดอ่อนได้คือ ถ้าฮับเกิดเป็นอะไร ขึ้นมา อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ หรือคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก ภายในฮับมีลักษณะเป็นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน ดังนั้นการใช้ฮับและบัสจะมีระบบการส่งข้อมูลแบบ เดียวกัน และมีการพัฒนาเป็นมาตรฐาน กาหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า 802.3 ความเร็วในการส่งกาหนดไว้ที่ 10 ล้าน บิตต่อ วินาที และกาลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถรับส่งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที 3.2 โทเก็นริง โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน โดยด้าน หนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ การเชื่อมต่อแบบนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถ ส่งข้อมูลถึงกันได้ โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้ การติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลาดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะ ได้ไม่สับสน และมีรูปแบบ ที่ชัดเจน โทเก็นริงที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อ วินาที ข้อมูลแต่ละชุดจะมี การกาหนดตาแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไปที่สถานีใด
  • 11. 3.3 สวิตชิง สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทาได้เร็วยิ่งขึ้น การคัดเลือก ชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง จะกระทาที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า สวิตชิง รูปแบบของ เครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ เป็นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกันกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็น ศูนย์กลาง แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย แต่สวิตชิงจะเลือกการ สลับสัญญาณไปยังตาแหน่งที่ต้องการเท่านั้น สวิตชิงจึงมีข้อดี กว่าฮับเนื่องจากแต่ละสายสัญญาณจะมีความเป็น อิสระต่อกันมาก ทาให้รับส่งสัญญาณไม่มีปญหาเรื่องการชนกัน ของข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิงมีหลายแบบ ั เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์ และเอทีเอ็มสวิตซ์ เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ ข้อมูลแต่ ละชุดเรียกว่า เซล มีขนาดจากัด การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทาให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดาเนิน ไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งกาลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความนิยมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งาน สมัยใหม่หลายอย่าง ต้องการความเร็วสูง โดยเฉพาะการสื่อสารที่มีการผสมหลายสื่อรวมทั้งข้อความ รูปภาพ เสียงและวีดิโอ
  • 12. 4 การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทางานกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อ เชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่าย แวน ก็จะได้เครือข่าย ขนาดใหญ่ ตัวอย่างการใช้งานเครือข่าย 4.1 การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน งานขององค์กรบางอย่างมีความจาเป็นต้องใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน ถ้าแต่ละฝ่ายทาการหาหรือรวบรวมข้อมูล เอง ข้อมูลอาจ จะมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันก็ได้ นอกจากความผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้วยังทาให้สิ้นเปลือง ทรัพยากรบุคคลและวัสดุอุปกรณ์ สิ้นเปลืองเวลาอีกด้วย แต่ถ้าองค์กรนั้นมีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ดี มีสถานี ให้บริการเก็บข้อมูล แล้วให้ผู้ใช้บริการในองค์กร นั้นดึงข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายไปใช้ ก็จะประหยัดค่าใช้จ่าย ด้านต่าง ๆ ได้ นอกจากนั้นยังสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกน กล้อง ดิจิตอล ฯลฯ การดาเนินงานก็เป็นไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน 4.2 การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงอุปกรณ์เข้าด้วยกัน ผู้ใช้ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่าง กัน สามารถส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกัน ตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ 4.3 สานักงานอัตโนมัติ แนวคิดของสานักงานสมัยใหม่ ก็คือ ลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่ สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด ระบบสานักงานอัตโนมัติจึงเป็นระบบการทางานที่ทุกสถานี งานเปรียบเสมือน โต๊ะทางาน ทาให้เกิดความคล่องตัว และรวดเร็ว 5 ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง ทา ให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน เรียกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันใน องค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่า อินทราเน็ต ดังนั้น อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง ส่วนมาตรฐาน และวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน
  • 13. 5.1 อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับ มหาวิทยาลัย ชั้นนาในสหรัฐฯ เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย และใช้ ทรัพยากรเพื่อทางานวิจัย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปา เน็ต และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็น มาตรฐาน โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่องค์กร เอกชน และแพร่ขยายไปทั่วโลก เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายของเครือข่าย หมายความว่าใน องค์กรได้สร้างเครือข่ายภายในตนเองขึ้นมา และนามาเชื่อมต่อสู่เครือข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการกาหนด ตาแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส ซึ่งอินเทอร์เน็ต กาหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพี แอดเดรส และถือเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ากันเลย ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็นรหัสของ เครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108 ส่วน รหัสของเครื่องจะมีอีกสองพิกัดตามมา เช่น 2.71 เมื่อเขียนรวมกันจะได้ 158.108.2.71 เพื่อให้จดจาได้ง่าย จึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ ชื่อ ku.ac.th โดย th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา และ ku หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในเครือข่ายหลายเครื่อง ก็ให้มีการตั้งชื่อเครื่อง ด้วย เช่น nontri เมื่อมีการเรียกรวมกันก็ จะเป็น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทาให้ใช้งานง่ายกว่า ตัวเลข เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก ทาให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ว ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างที่แพร่หลาย และใช้กันมากเท่านั้น แต่ยังมีการใช้งานอื่น ๆ อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา 1.การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็น เอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส ระบบจะนาส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว ลักษณะของ แอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบกัน เช่น sombat@nontri.ku.ac.th การติดต่อบน อินเทอร์เน็ตนี้ จะหาตาแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนาส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่งไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (email) กาลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย 2. การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน เป็นระบบที่ทาให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ ต่าง ๆ และให้บริการ ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนาแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้
  • 14. 3. การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ทาให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานี บริการใน ที่ห่างไกลได้ ผู้ใช้สามารถนาข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย โดยไม่ต้อง เดินทางไปเอง 4. การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน หรือนามาพิมพ์ ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุด ขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมง มุมครอบคลุมทั่วโลก(World Wide Web : WWW) เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก 5. การอ่านจากกลุ่มข่าว ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุ่มข่าวนี้จึง แพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว 6. การสนทนาบนเครือข่าย เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง ในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็น ตัวหนังสือ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้ ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้า กันและกันบนจอภาพได้ 7. การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและ ได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือข่ายด้วย
  • 15. 5.2 อินทราเน็ต เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งาน เฉพาะในองค์กร โดยนาวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะใน องค์การนี้จึงเรียกว่า เครือข่ายอินทราเน็ต การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานี ให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทาให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะทาให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะ เชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต