SlideShare a Scribd company logo
1 of 120
Download to read offline
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา1
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( COMPUTER NETWORK )
หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป
เข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิล หรือสื่ออื่นๆ เพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ใน
เครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้อุปกรณ์ต่างๆ
ในเครือข่ายร่วมกันได้
2
ประโยชน์ที่ได้จากการใช้ระบบเครือข่าย
 การแบ่งกันใช้ข้อมูล
 เพื่อให้มีการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ใช้
 เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของระบบประมวลผล มีการสารองข้อมูลตลอดเวลา
 เพื่อให้สามารถประมวลผลแบบกระจาย
 เพื่อให้สามารถควบคุมและจัดสรรทรัพยากร
 เพื่อใช้อุปกรณ์ร่วมกันได้
3
ประเภทของระบบเครือข่าย
1. LAN (Local Area Network)
2. MAN (Metropolitan Area Network)
3.WAN (Wide Area Network)
4
LAN (Local Area Network)
การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายที่เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในพื้นที่ใกล้กัน เช่น การ
เชื่อมต่อในตึกเดียวกัน หรือห้องเดียวกัน การเชื่อมต่อในมหาวิทยาลัย การ
เชื่อมต่อในหน่วยงานต่างๆ โดยส่วนมากจะใช้สายเคเบิ้ลในการติดต่อสื่อสาร
กัน โดยคอมพิวเตอร์ที่ต่อกันอยู่นั้นสามารถที่จะแบ่งกันใช้ข้อมูล สามารถ
โอนย้ายข้อมูลระหว่างเครื่องได้ รวมทั้งยังสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกันได้
5
MAN (Metropolitan Area Network)
เป็นการนาระบบ LAN หลายๆ LAN ที่มีพื้นที่อยู่ใกล้เคียงกันอาจตั้งอยู่
ห่างไกลกันในช่วง 5 ถึง 50 กิโลเมตร มาเชื่อมต่อกัน มักจะเป็นบริษัทหรือ
หน่วยงานขนาดใหญ่ที่จาเป็นจะต้องติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านระบบ
คอมพิวเตอร์ด้วยความเร็วสูงมาก โดยที่การสื่อสารนั้นจากัดอยู่ภายในบริเวณ
เมือง หรือในจังหวัด เป็นต้น
6
WAN (Wide Area Network)
เป็นกลุ่มของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันแบบกว้างขวาง อาจจะเป็น
ภายในประเทศหรือระหว่างประเทศ เป็นการใช้หลายๆ LAN หรือหลายๆ
MAN ซึ่งอยู่คนละพื้นที่เชื่อมต่อเข้าหากัน เช่น สานักงานที่ New York
เชื่อมต่อกับที่ Tokyo โดยการเชื่อมต่อสามารถทาได้โดยการใช้ ATM, DSL,
ISDN หรือ อื่นๆ แต่การเชื่อมต่อจะมีความเร็วในการเชื่อมต่อต่ากว่าการ
เชื่อมต่อแบบ LAN
7
อาจจะมีอีกประเภทหนึ่ง คือ SAN (Small Area Network)
เป็นกลุ่มของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันในพื้นที่ขนาดเล็กมาก อาจจะ
เป็นในบ้านหรือสานักงานขนาดเล็กที่มีจานวนของคอมพิวเตอร์ไม่ควร
จะเกิน 10 เครื่อง
8
1. Peer to Peer Network
เป็นลักษณะของกลุ่มคอมพิวเตอร์
ที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีสิทธิ์เท่าเทียม
กันหมด (Peer) ไม่มีเครื่องไหนทาหน้าที่
เป็นศูนย์กลางของเน็ตเวิร์คเครื่องทุกเครื่องเป็นทั้งผู้ใช้ และผู้ถูกใช้ สามารถเป็นได้
ทั้ง Client และ Server ไม่มีเครื่องไหนมีหน้าที่ดูแลจัดการระบบทั้งหมด เป็นต้น
ว่าการแชร์ทรัพยากรจะทาอย่างไร ใครเป็นผู้ดูแล ผู้ใช้งานแต่ละเครื่องจะเป็นผู้ดูแล
ข้อมูลและทรัพยากรของตัวเอง
ลักษณะการทางาน การทาหน้าที่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องของ
ระบบเน็ตเวิร์คเป็นสาคัญ อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
9
2. Client-Server
ในกรณีที่องค์กรของเรามีผู้ใช้เครื่อง มากกว่า 15-20 เครื่อง ระบบเน็ตเวิร์คแบบ
peer to peer จะไม่เหมาะสม เราควรเลือกใช้ระบบ client-server จะเหมาสมกว่า
เพราะมีความสามารถในการดูแลควบคุมการใช้งานของระบบเน็ตเวิร์คที่มีผู้ใช้จานวน
มากได้ดีกว่า ระบบเน็ตเวิร์คแบบนี้จะเป็นระบบที่มีศูนย์กลาง มีคอมพิวเตอร์ที่ทา
หน้าที่ดูแลระบบ อานวยความสะดวก จัดเก็บข้อมูล รักษาความปลอดภัยให้กับ
คอมพิวเตอร์ทั้งระบบ มีหน้าที่คล้ายๆเป็นหัวหน้ากลุ่ม เราจะเรียกคอมพิวเตอร์ที่ทา
หน้าที่นี้ ว่า server ส่วนเครื่องที่เหลือในระบบที่ไม่ได้ทาหน้าที่นี้เราเรียกว่าclient
หรือ workstation เป็นกลุ่มคอมพิวเตอร์ในระบบ ที่ทาหน้าที่รับบริการจากเครื่อง
server ซึ่งจะทาหน้าที่ควบคุมการใช้งานทุกอย่างของเน็ตเวิร์ค เช่นของมูลเครื่องพิมพ์
จะถูกดูแล และ แชร์โดยเครื่อง server อุปกรณ์ทุกอย่างจะถูกเชื่อมต่อโดยตรง เครื่อง
client ทุกเครื่องจะใช้งานทรัพยากรต่างๆ ผ่านทาง server
10
 Ethernet / Fast Ethernet / Gigabit Ethernet LAN
 Wireless LAN
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามสื่อได้ 2 ประเภทคือ
11
Ethernet / Fast Ethernet / Gigabit Ethernet LAN
การเชื่อมต่อที่ใช้ในการเชื่อมต่อระบบ LAN ในปัจจุบัน โดยมีอัตรารับส่งข้อมูล
สูงสุดถึง 10 Gbps โดยเชื่อมต่อผ่านสาย UTP หรือ สาย Fiber optic
 ระยะทางและความเร็วในการเชื่อมต่อแบบ Ethernet
ชนิด ระยะทางสูงสุด ชนิดของสาย ความเร็ว
10BaseT 100 m UTP 10 Mbps
100BaseTX 100 m UTP 100 Mbps
100BaseFX 400 m (half duplex)
2000 m (full duplex)
Fiber Optic 100 Mbps
1000BaseSX 220 m Fiber Optic
(MMF)
1000 Mbps
1000BaseLX 3-10 Km Fiber Optic
(SMF)
1000 Mbps
12
ตัวอย่างอุปกรณ์ Ethernet
UTP Ethernet Card Fiber Optic
13
Wireless LAN
รูปแบบการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายผ่านคลื่นวิทยุ โดยใช้คลื่นความถี่ที่จัดไว้
มาตรฐานการใช้งาน Wireless ในประเทศไทย
 IEEE 802.11 ความถี่ 2.4~2.5GHz ความเร็วโดยรวม 2Mbps
 IEEE 802.11b ความถี่ 2.4~2.5GHz ความเร็วโดยรวม 11Mbps /
22Mbps
 IEEE 802.11a ความถี่ 5.15~5.35GHz, 5.47~5.725GHz ความเร็ว
โดยรวม มากที่สุด 54Mbps
 IEEE 802.11g ความถี่ 2.4~2.5GHz ความเร็วโดยรวม 54Mbps
 IEEE 802.11n ความถี่ 2.4GHz / 5GHz ความเร็วโดยรวม 300Mbps
14
วิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายแบ่งได้ดังนี้
 การเชื่อมต่อแบบแอดฮอค (Ad-Hoc) คือ การเชื่อมต่อ
ระหว่างอุปกรณ์สองตัวขึ้นไปโดยไม่จาเป็นต้องใช้ Access
Point
15
 การเชื่อมต่อแบบเป็นโครงสร้าง คือ การติดต่อสื่อสารโดยมี
สถานีฐาน (Access Point) เป็นศูนย์กลาง โดยแต่ละเครื่อง
สามารถเชื่อมต่อสู่เครือข่ายภายนอกได้ผ่านทาง Access Point
16
รูปแบบของระบบเครือข่าย
หมายถึงรูปแบบในการจัดวางตาแหน่งของคอมพิวเตอร์ สาย
เคเบิ้ล และอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อที่จะให้ข้อมูลได้ทางานตามทิศทางที่
เราได้กาหนดไว้ โครงสร้างเน็ตเวิร์คที่ต่างกันมีความต้องการด้าน
อุปกรณ์ต่างๆ เช่นฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ แตกต่างกันไปด้วย
โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
17
รูปแบบของระบบเครือข่าย
 Mesh
 Bus
 Star
 Tree
 Ring
18
ระบบเครือข่ายรูปแบบ MESH
(Full Mesh) 19
ระบบเครือข่ายรูปแบบ MESH
 ข้อดี
ในกรณีสายเคเบิ้ลบางสายชารุด เครือข่ายทั้งหมดยังสามารถใช้ได้ ทาให้
ระบบมีเสถียรภาพสูง นิยมใช้กับเครือข่ายที่ต้องการเสถียรภาพสูง และ
เครือข่ายที่มีความสาคัญ
 ข้อเสีย
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และสายเคเบิ้ลมากกว่าการต่อแบบอื่นๆ
ยากต่อการติดตั้ง เดินสาย เคลื่อนย้ายปรับเปลี่ยน และบารุงรักษาระบบ
เครือข่าย
20
ระบบเครือข่ายรูปแบบ BUS
21
ระบบเครือข่ายรูปแบบ BUS
 เป็นเน็ตเวิร์คที่ง่ายที่สุด และเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง โดยการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
ด้วยการใช้สายเคเบิ้ลเป็นสายหลัก เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องโดยมีเน็ตเวิร์คการ์ดเป็น
ตัวเชื่อมระหว่างสายเคเบิ้ลกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจะถูกส่งออกไปตามสาย ไปยังคอมพิวเตอร์
ทุกๆเครื่อง ไม่สนใจว่าเครื่องไหนคือผู้รับ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะตรวจสอบเอง ว่าข้อมูลที่
ส่งออกมานั้นเป็นของเครื่องตนเองหรือไม่ ถ้าไม่ จะปล่อยข้อมูลผ่านไป แต่ถ้าใช่ ก็จะนาข้อมูล
เหล่านั้นไปใช้ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ ในระบบ
นี้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกันหลายเครื่องในเวลาเดียวกันเป็นสาเหตุให้
ประสิทธิภาพของเน็ตเวิร์คจะน้อยลงเมื่อมีจานวนคอมพิวเตอร์มากขึ้น สายเคเบิ้ลที่เป็นสายกลาง
ที่ต้องใช้รับและส่งข้อมูล เรียกว่า backbone สายที่ใช้ส่วนมากจะเป็นสาย coaxial มีลักษณะ
คล้ายๆกับสายเคเบิ้ลทีวี การใช้จะต้องมีอุปกรณ์ที่ปิดหัวและท้ายของสายเคเบิ้ลด้วย เรียกว่า
terminatorคอยรับสัญญาณไม่ให้สะท้อนกลับไป ซึ่งอาจจะเป็นการรบกวนสัญญาณได้ บัส เป็น
วิธีที่ง่าย และสะดวกที่สุดในการติดตั้งเน็ตเวิร์ค ไม่ต้องมีฮาร์ดแวร์มากมาย มีเพียงแค่สายเคเบิ้ล
เน็ตเวิร์ค-การ์ด และเทอร์มิเนเตอร์ ก็พอแล้ว มักใช้กับเน็ตเวิร์คขนาดเล็กที่มีจานวนเครื่องไม่มาก
นัก
22
 ข้อดี
ประหยัด สะดวก ง่ายต่อการนาอุปกรณ์เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย
ใช้สายเคเบิลน้อยกว่าการต่อแบบ Star
 ข้อเสีย
ระบบเครือข่ายทั้งหมดจะไม่สามารถใช้การได้ ถ้าสายหลักชารุด
จาเป็นต้องมี Terminator ที่ปลายทั้ง 2 ข้างของสายหลัก เพื่อป้องกัน
สัญญาณสะท้อนกลับไปมาภายในสาย
ค้นหาจุดที่เกิดปัญหาได้ยาก ถ้าระบบเครือข่ายทั้งหมดไม่สามารถใช้การได้
จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ มีผลกับประสิทธิภาพของเน็ตเวิร์ค
มีการชนกันของข้อมูลที่ส่งออกไปมากจนทาให้เกิดปัญหา
ระบบเครือข่ายรูปแบบ BUS
23
ระบบเครือข่ายรูปแบบ STAR
24
ระบบเครือข่ายรูปแบบ STAR
 ข้อดี
ง่ายต่อการต่ออุปกรณ์และการเดินสาย
สามารถเพิ่มเติมอุปกรณ์ หรือถอดอุปกรณ์ออกได้ง่าย และไม่รบกวนส่วนอื่น
ง่ายต่อการตรวจสอบจุดที่เกิดปัญหา และการแยกอุปกรณ์บางส่วนออกจากระบบ
 ข้อเสีย
เปลืองสายเคเบิ้ลมากกว่าการต่อแบบ Bus
ถ้า hub หรือ switch ที่เชื่อมอยู่ตรงกลางมีปัญหา จะทาให้ระบบเครือข่ายทั้งหมด
มีปัญหาไปด้วย
ค่าใช้จ่ายสูงกว่าการต่อแบบ Bus เนื่องจากจาเป็นต้องมี Hub หรือ Switch เชื่อม
ตรงกลาง
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อโดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้าสู่อุปกรณ์ส่วนกลางที่
เรียกว่า ฮับ (HUB) ข้อมูลหรือสัญญาณจะเดินทางจากเครื่องส่งไปสู่ผู้รับโดยผ่านฮับ
25
ระบบเครือข่ายรูปแบบ TREE
26
ระบบเครือข่ายรูปแบบ TREE
 ข้อดี
ในแต่ละส่วนย่อยๆ จะต่อถึงกันแบบ Star ทาได้รับข้อดีของการต่อแบบ Star
มาด้วย
 ข้อเสีย
ระยะทางในแต่ละส่วนย่อยๆ จะถูกจากัดโดยชนิดของสาย
ถ้าสายหลักหรือ Hub ตัวกลางหลักเสีย ระบบเครือข่ายทั้งหมดจะไม่สามารถ
ใช้การได้
ยากต่อการติดตั้งและเดินสาย
เป็นการผสมผสานกันระหว่างการต่อแบบ Bus และ Star หรือเป็นการต่อ Star ซ้อน
กันหลายชั้น
27
ระบบเครือข่ายรูปแบบ RING
28
ระบบเครือข่ายรูปแบบ RING
เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ในลักษณะของรูปวงแหวนโดยใช้สาย
เคเบิ้ล การต่อลักษณะนี้จะไม่มีจุดเริ่มต้นหรือจุดสุดท้าย การส่งข้อมูลจะวิ่งผ่าน
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเป็นรูปวงแหวนในทิศทางเดียวกัน เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่อง
หนึ่งต้องการส่งข้อมูล มันจะทาการใส่ข้อมูลตาแหน่งของเครื่องที่มันต้องการจะ
ส่งไปให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะนาสัญญาณมาเช็คว่าเป็นของตนเองหรือเปล่า ถ้า
ไม่ใช่ ก็จะส่งไปให้เครื่องต่อไป สัญญาณจะวิ่งไปจนกระทั่งเจอคอมพิวเตอร์เครื่อง
นั้น และรับข้อมูลนาไปใช้เนื่องจากสัญญาณจะวิ่งไปเรื่อยๆ เป็นวงกลม จึงไม่
ต้องการอุปกรณ์ปิดหัวท้าย มักจะใช้กับเน็ตเวิร์คที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ไม่ไกลกันมาก
นัก ใช้โทเค็นเป็นสือในการส่งสัญญาณ โทเค็นจะถูกวิ่งผ่านไปทุกเครื่องเรื่อยๆ
จนกว่าเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลจะดึงโทเค็นไปใช้และส่งสัญญาณออกมา เครื่องที่มี
โทเค็นเท่านั้นที่จะส่งข้อมูลได้ 29
ระบบเครือข่ายรูปแบบ RING
 ข้อดีของระบบเครือข่ายรูปแบบ Ring
การเพิ่มเติมขนาดของระบบเครือข่าย ส่งผลต่อประสิทธิภาพไม่มาก
ลดจานวนตัวรับและส่งสัญญาณลงครึ่งหนึ่ง (ในกรณี Ring ทางเดียว)
ทุกๆ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อจะช่วยขยายสัญญาณ ทาให้สามารถต่อเป็นวงใหญ่
ได้
 ข้อเสียของระบบเครือข่ายรูปแบบ Ring
ประสิทธิภาพต่ากว่าแบบอื่น เนื่องจากต้องผ่านอุปกรณ์หลายตัว
ถ้าอุปกรณ์บางตัวหรือสายเคเบิ้ลชารุด จะทาให้เครือข่ายทั้งหมดไม่
สามารถใช้การได้ (ในกรณี Ring ทางเดียว)
30
ระบบเครือข่ายรูปแบบผสม (HYBRID NETWORK)
 เป็นการผสมความสามารถของเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบโดย
พิจารณาตามความเหมาะสม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด
31
ประสิทธิภาพของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้
• จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่าย
• สื่อนาข้อมูล (Transmission Media)
• เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (Hardware)
• โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล (Software)
32
โปรโตคอล (PROTOCOL)
โปรโตคอล (Protocol) คือ มาตรฐานหรือข้อตกลงเกี่ยวกับการ
สื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่าย ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการและรูปแบบ
การส่งข้อมูล จังหวะเวลาในการส่งข้อมูล ลาดับการรับส่งข้อมูล
และวิธีจัดการป้องกันความผิดพลาดต่าง ๆ โปรโตคอล
เปรียบเสมือนภาษาที่ใช้สื่อสารในระบบเครือข่าย ดังนั้นถ้าใช้
โปรโตคอลที่ต่างกันก็จะคุยกันไม่รู้เรื่อง
๑ภ฿ @& g)
นายพูด
อะไร ไม่รู้
เรื่อง
33
NETBEUI (NETWORK BASIC END USE INTERFACE)
เป็น Protocol ที่เหมาะสมสาหรับเครือข่ายขนาดเล็กไม่เหมาะสมกับเครือข่ายขนาด
ใหญ่ เนื่องจาก Protocol นี้ไม่สามารถค้นหาเส้นทางการส่งข้อมูล (Routable) ที่
เหมาะสมได้ ข้อดีของ Protocol นี้คือใช้งานง่ายไม่ต้องปรับแต่งอะไรมาก
TCP/IP (TRANSMISSION CONTROL PROTOCOL/INTERNET PROTOCOL)
เป็นที่นิยมใช้กับระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ เช่น ถูกใช้ในอินเทอร์เน็ต เพราะสามารถ
ค้นหาเส้นทางการส่งข้อมูล และสามารถใช้กับระบบปฏิบัติการได้อย่างกว้างขวาง
แต่การติดตั้งมีขั้นตอนที่ยุ่งยากพอสมควร
34
อุปกรณ์เครือข่าย
คาศัพท์ที่ควรรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่าย
- Bit (บิต) หน่วยทางไฟฟ้า มีค่าเท่ากับ 0 หรือ 1
- Bandwidth (แบนด์วิทช์) คือ ความเร็วในการส่งข้อมูลผ่านระบบ
เครือข่าย มีหน่วยเป็น bps (บิตต่อวินาที)
35
Router
• ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
ที่มีการเชื่อมต่อภายในแตกต่างกัน
หรือเชื่อมระหว่าง LAN และ WAN
36
Switch
•ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เข้า
เป็นระบบเครือข่ายเดียวกัน หรือต่างกันก็ได้
• Bandwidth 10/100/1000 Mbps
• แต่ละพอร์ตไม่มีการใช้งานร่วมกัน
37
Hub
• ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ให้เป็นระบบเครือข่ายเดียวกัน
• Bandwidth 10/100/1000 Mbps
• แต่ละพอร์ตใช้งานร่วมกัน(เชื่อมกันหมด)
38
ความแตกต่างระหว่าง Hub และ Switch
 Hub จะส่งข้อมูลที่เข้ามาไปยังทุกๆ พอร์ตของ Hub ยกเว้นพอร์ตที่ข้อมูล
ดังกล่าวเข้ามายัง Hub ในขณะที่ Switch จะทาการเรียนรู้อุปกรณ์ที่ต่อกับ
พอร์ตต่างๆ ทาให้ Switch ส่งข้อมูลไปยังพอร์ตที่มีเครื่องปลายทางอยู่
เท่านั้น ไม่ส่งไปทุกๆ พอร์ตเหมือนกับ Hub ซึ่งส่งผลให้ปริมาณข้อมูลภายใน
ระบบเครือข่ายไม่มากเกินความจาเป็น
 Hub เป็นเพียงตัวขยายสัญญาณข้อมูล (Repeater) เท่านั้น ในขณะที่
Switch จะมีการทางานที่ซับซ้อนกว่า, มีการเรียนรู้อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ, การ
ตัดสินใจส่งข้อมูลออกไปพอร์ตใด
39
Ethernet Card
• ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้
สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย
ผ่านทาง Switch หรือ Hub
• Bandwidth 10/100/1000 Mbps
40
ไฟสถานะของEthernet Card
41
ไฟสถานะของEthernet Card
 LINK ถ้าสว่างแสดงว่า มีการเสียบ
สายแลนเข้ากับการ์ด และสามารถ
ใช้งานได้
 10 ถ้าสว่างแสดงว่า อุปกรณ์นี้เชื่อมต่อด้วยความเร็ว 10 MB/s เช่นเดียวกับไฟ
100 ถ้าสว่างแสดงว่าเชื่อมด้วยความเร็ว 100 MB/s
 ACT (Activity) ถ้ากระพริบแสดงว่ามีการส่งข้อมูลเข้า-ออกการ์ด (เนื่องมาจาก
กิจกรรมการใช้เครือข่ายต่างๆ เช่น การใช้อินเตอร์เน็ต, การแชร์ไฟล์ ฯลฯ ถ้ามี
การส่งข้อมูลจานวนมากจะเปลี่ยนจากกระพริบมาเป็นสว่างค้างตลอดเวลา
42
Modem
Internal Modem
External Modem
• ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายผ่าน
ทางสายโทรศัพท์
• Bandwidth 56 Kbps
43
Access Point
• ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์กับ
ระบบเครือข่ายแบบไร้สาย (wireless)
• Bandwidth 11/54 Mbps
44
Wireless Card
PCMCIA
PCI for PCUSB
• ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ
เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายแบบไร้สาย
• Bandwidth 11/54 Mbps
45
สาย UTP (Unshielded Twisted Pair)
• ใช้ในการเชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
และ Ethernet Switch หรือ Hub
• Bandwidth 10/100/1000 Mbps
• ความเร็วในการเชื่อมต่อขึ้นอยู่กับการเข้าหัว
สาย และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ
•ระยะทางในการเชื่อมต่อ < 100m
46
สาย UTP และหัว RJ-45
 สาย UTP ที่ใช้ใน Ethernet Lan จะเข้าหัวแบบ RJ-45
 ภายในสาย UTP จะมีสายทองแดงย่อยอีก 8 เส้น โดยถูกจัดกลุ่มเป็นคู่ๆ
ทั้งหมด 4 คู่
RJ-45UTP
47
การเข้าหัว RJ-45 มีได้ 2 แบบ คือ
 แบบ A (Standard 568A) มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้
ขาว/เขียว
เขียว
ขาว/ส้ม
น้าเงิน
ขาว/น้าเงิน
ส้ม
ขาว/น้าตาล
น้าตาล
48
 แบบ B (Standard 568B) เป็นแบบที่นิยมใช้กันมาก มีการเรียงสายจากซ้าย
ไปขวา ดังนี้
ขาว/ส้ม
ส้ม
ขาวเขียว
น้าเงิน
ขาว/น้าเงิน
เขียว
ขาว/น้าตาล
น้าตาล
49
สาย UTP มี 2 แบบ ตามการเข้าหัว RJ-45 ดังนี้
 สายตรง (UTP Straight Cable) เป็นสายที่ใช้ทั่วไป และพบมาก โดยใช้ในการ
เชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์เครือข่ายจาพวก Hub และ Switch
โดยการเข้าหัวทั้ง 2 ปลายจะเป็นแบบเดียวกัน (A หรือ B ก็ได้)
 สายครอส (UTP Cross-over Cable) ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ 2 เครื่องโดยตรง ไม่ผ่านอุปกรณ์ประเภท Hub และ Switch
นอกจากนี้ยังใช้เชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และ Router (ซึ่งถือว่าเป็น
คอมพิวเตอร์อีกรูปแบบหนึ่ง) โดยการเข้าหัวที่ปลายทั้ง 2 จะไม่เหมือนกัน
กล่าวคือ ปลายข้างหนึ่งเข้าหัวแบบ A อีกปลายจะเข้าหัวแบบ B
50
51
สายตรง (UTP Straight Cable)
52
สายครอส (UTP Cross-over Cable)
53
 สาย STP (Shielded Twisted Pair)
• คล้ายกับสาย UTP แต่มีชนวน และ
ตัวนาหุ้ม จึงป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี
นิยมใช้แทนสาย UTP ในที่ๆ มีสัญญาณ
รบกวนมาก เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ
• มีราคาแพงกว่าสาย UTP
54
 สาย Fiber Optic
• ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เครือข่าย
• Bandwidth 10/100/1000 Mbps
• ระยะทางในการเชื่อมต่อ 500m – 2Km
แล้วแต่ชนิดของสาย
55
รูปแบบการส่งข้อมูลภายในเครือข่าย
Duplex หมายความถึง ความสามารถรับและส่งข้อมูลด้วยอุปกรณ์ชิ้น
เดียวกัน ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็น 2 ประเภท คือ
 Half Duplex จะรับและส่งข้อมูลได้ แต่ไม่สามารถทาพร้อมกันได้ กล่าวคือ
ถ้าฝ่ายหนึ่งส่งข้อมูล อีกฝ่ายหนึ่งจะต้องเป็นฝ่ายรับ ไม่สามารถส่งได้จนกว่า
อีกฝ่ายจะเลิกส่งข้อมูล และเปลี่ยนมาเป็นฝ่ายรับ เหมือนการใช้วิทยุสื่อสาร
ได้แก่ Ethernet ประเภท 10 BaseT (10Mbps) เป็นต้น
 Full Duplex สามารถรับและส่งข้อมูลไปพร้อมๆ กันได้ เหมือนกันการ
พูดคุยผ่านโทรศัพท์ ได้แก่ Fast Ethernet (100Mbps) หรือ Gigabit
Ethernet (1000Mbps) เป็นต้น
56
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สาย
57
58
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสารไร้สาย
 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีในการรับส่งที่มีความซับซ้อน
เพิ่มขึ้น
 ข้อมูลทุกชนิดถูกปรับเปลี่ยนและดัดแปลงให้อยู่ในรูป digital
 สามารถสื่อสารและส่งถ่ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งด้วยความถูกต้อง
และรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง
 ผ่านตัวกลางหลายชนิด โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
 การสื่อสารข้อมูลทางสาย
 การสื่อสารข้อมูลไร้สาย
59
การสื่อสารข้อมูลไร้สาย
 ตัวกลางที่ถูกนามาทดแทนสายสัญญาณที่นิยมใช้กันชนิดแรกก็คือ แสงอินฟราเรด
 การส่งผ่านข้อมูลผ่านแสงอินฟราเรดถูกนามาใช้งานอย่างแพร่หลาย เพราะ
สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วค่อนข้างสูง มีความสะดวกในการใช้งาน เช่น รีโมท
คอนโทรล
 ข้อด้อยของการใช้งานอินฟาเรด คือ ความจากัดด้านระยะทาง และตาแหน่ง
ระหว่างอุปกรณ์ทั้งสองต้องเป็นเส้นตรงอยู่ในแนวเดียวกัน และจะต้องไม่มีอะไรมา
ตัดขวางลาแสง
 จากข้อด้อยทาให้เกิดความคิดที่จะนาคลื่นวิทยุมาใช้ส่งข้อมูลแทน เพราะสามารถ
รับส่งข้อมูลที่มีความเร็วสูง สามารถทะลุวัสดุต่างๆ ได้ และไม่จาเป็นต้องให้ตัวส่ง
และตัวรับอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน 60
การสื่อสารข้อมูลไร้สาย
 ปัจจุบันการนาคลื่นวิทยุมาใช้รับส่งข้อมูลสาหรับอุปกรณ์ระยะใกล้ มี 3 ระบบ
คือ
- โฮมอาร์เอฟ (HomeRF)
- บลูทูธ (Bluetooth)
- ไวไฟ (Wireless Fidelity : wi-fi)
61
โฮมอาร์เอฟ (HOMERF)
 HomeRF = Home Radio Frequency
 คือ เทคโนโลยีที่ใช้คลื่นความถี่วิทยุเพื่อใช้ควบคุม สั่งการ และเชื่อมต่อ
เครื่องใช้ไฟฟ้าสมัยใหม่ทุกชนิดที่อยู่ภายในบ้าน
 ใช้คลื่นความถี่ที่ 2.4 GHz ในการรับส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็ว 1.6 Mbps ระยะ
ทาการ 150 เมตร
 เช่น ระบบรักษาความปลอดภัยภายในบ้าน ระบบตรวจสอบและแจ้งการ
ซ่อมแซมบ้านโดยอัตโนมัติ ระบบสุขอนามัย ฯลฯ
 สามารถใช้คอมฯ เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรศัพท์ ตู้เย็น โทรทัศน์
เครื่องเสียง เครื่องปรับอากาศ เตาไมโครเวฟ เครื่องซักผ้า ชุดสุขภัณฑ์
อัจฉริยะ โทรทัศน์วงจรปิด ฯลฯ ภายในบ้านเพื่อควบคุม สั่งการและใช้ข้อมูล
ต่างๆ ได้อย่างสะดวก โดยไม่ต้องเดินสายสัญญาณ
62
บลูทูธ (BLUETOOTH)
 เป็นมาตรฐานที่กาหนดขึ้นเพื่อทดแทนการใช้สายเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ใน
ระยะใกล้
 ใช้คลื่นความถี่ในย่าน ISM(Industrail, Scientific, Medical) 2.4 กิกะเฮิรตซ์
พื้นที่การใช้งานไม่เกิน 10 เมตร
 บลูทูธสามารถจัดการให้อุปกรณ์หลายชนิดสามารถติดต่อสื่อสารได้พร้อมกัน
 ใช้พลังงานต่า เชื่อมต่อสะดวก
 เช่น เชื่อมต่อ Notebook เข้าอินเตอร์เน็ตผ่านมือถือ, แบ่งข้อมูลกันระหว่าง
มือถือกับ Notebook, Headset
 ปัญหา : อุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีบลูทูธมีราคาสูงกว่าแบบใช้สาย
63
แนวคิดที่นาไปใช้งาน
- คอมพิวเตอร์ไร้สาย
- คอมพิวเตอร์สวมใส่ (BWC : Body Wearable Computer) คือเป็นคอมฯ
ขนาดเล็ก น้าหนักเบา ทางานด้วยแบตเตอร์รี่ สามารถประกบหรือสวมใส่
ติดร่างกาย
- ชุดหูฟัง
- เมาส์ คีย์บอร์ด
- อินเตอร์เน็ตบริดจ์
64
ไวไฟ (WIRELESS FIDELITY : WI-FI)
เป็นเทคโนโลยีที่เชื่อมคอมฯ เข้ากับเครือข่ายแลน (LAN : Local
Area Network) มักถูกเรียกว่า Wireless LAN
ครอบคลุมพื้นที่ทาการ 50-100 เมตร
65
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ไร้สาย (WIRELESS LAN)
 ปัจจุบันการใช้งานคอมพิวเตอร์เปลี่ยนรูปมาเป็นงานที่ต้องเชื่อมโดยกับ
เครือข่าย ทั้งเครือข่ายภายในองค์กร ระหว่างองค์กร และอินเตอร์เน็ต
 ระบบแลนไร้สาย (Wireless LAN หรือ WLAN) เป็นการนาเอาคอมพิวเตอร์
หลายเครื่องมาเชื่อมเข้าด้วยกัน ให้รับส่งข้อมูลถึงกันได้โดยไม่ต้องใช้สาย 66
จุดเด่นของแลนไร้สาย
1) ความยืดหยุ่นในการใช้งาน
2) การนาติดตัว (Mobility)
3) การขยายเครือข่ายได้ง่าย
4) ให้ผลคุ้มค่า
5) การมีมาตรฐานที่ยอมรับกันทั่วไป
67
พัฒนาการของแลนไร้สาย
 ความต้องการใช้ระบบแลนไร้สายมีลักษณะเช่นเดียวกับระบบเซลลูลาร์โฟน
หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่
 ค.ศ. 1997 สถาบัน IEEE ได้กาหนดมาตรฐานแลนไร้สาย โดยให้ชื่อว่า IEEE
802.11 รับส่งสัญญาณด้วยขนาดความเร็ว 2 เมกะบิต/วินาที
 ค.ศ. 1999 IEEE ได้พัฒนามาตรฐานใหม่ ให้ชื่อว่า IEEE 802.11b ความเร็ว
ในการรับส่ง 11 เมกะบิต/วินาที บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์เครือข่ายขนาดใหญ่ให้
ความสนใจและเร่งการพัฒนาเป็นอย่างมาก
 การพัฒนาแลนไร้สายมิได้หยุดอยู่เฉพาะการทาให้เชื่อมต่อถึงกันได้ ยังมี
ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยของสัญญาณข้อมูลที่แพร่กระจายใน
อากาศด้วย 68
อุปกรณ์ของเครือข่ายแลนไร้สาย
1) เครื่องคอมพิวเตอร์ : เครื่อง PC หรือ Notebook หรือ Pocket PC
และมีสล็อต PCMCIA
2) ไวร์เลสการ์ด : มาตรฐาน 802.11 ซึ่งมีผู้ผลิต ได้แก่ Cisco, Orinoco,
Toshiba, 3Com, Linksys เป็นต้น
3) แอกเซสพอยต์ (Access Point) : เป็นอุปกรณ์รับส่งไร้สาย สาหรับระบบ
LAN ทาหน้าที่เป็นจุดศูนย์กลางของระบบเครือข่ายไร้สาย หรือเป็นจุด
เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายไร้สายและเครือข่ายมีสาย
4) ไดรฟ์เวอร์ : ซอฟต์แวร์สาหรับความคุมการทางาน
69
การเชื่อมต่อเครือข่ายแลนไร้สาย
 แบ่งเป็น 2 ประเภท
1) การรวมตัวแบบแอดฮอค (Ad-Hoc) คือ การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานี
เคลื่อนที่ (โน๊ตบุ๊ค พีดีเอ) ตั้งแต่ 2 สถานีขึ้นไป โดยไม่ต้องใช้สถานีฐาน
(Access point)
2) การรวมตัวแบบเป็นโครงสร้าง (Infrastructure) คือ การติดต่อสื่อสาร
โดยมีสถานีฐาน (Access point) เป็นศูนย์กลาง ทุกสถานีต้องอยู่ภายใน
รัศมีการใช้งานของแอกเซสพอยต์
70
ประเภทของเครือข่ายแลนไร้สาย
1) WPAN (Wireless Personal Area Network) เป็นระบบเครือข่ายไร้สายส่วน
บุคคล ปัจจุบันมีอยู่ 2 ระบบ คือ IR (Infra-Red) และ Bluetooth การ
ทางานจะครอบคลุมบริเวณการสื่อสารที่ค่อนข้างจากัด เช่น อินฟาเรด ระยะ
ประมาณไม่เกิน 3 เมตร และบลูทูธ ระยะประมาณไม่เกิน 10 เมตร
2) WLAN (Wireless Local Area Network) เป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่นที่ใช้งาน
ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในระยะใกล้ ภายในหน่วยงานหรืออาคารเดียวกัน เช่น
สานักงาน สถานที่จัดนิทรรศการ
3) WMAN (Wireless Metropolitan Area Network) เป็นระบบเครือข่าย
สาหรับเมืองใหญ่ๆ เชื่อมติดต่อกันระหว่างอาคารต่างๆ ภายในเมือง
4) WWAN (Wireless Wide Area Network) เป็นระบบเครือข่ายไร้สายขนาด
ใหญ่สาหรับเมืองหรือประเทศซึ่งมักมีการใช้งานผ่านดาวเทียมข้ามประเทศ
71
ความปลอดภัยของเครือข่ายแลนไร้สาย
1) การใช้กาแพงไฟ (FireWall) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์สาหรับป้องกันผู้อื่นรุกล้าเข้ามาใน
ระบบ นิยมใช้ในบริษัท ธนาคาร หน่วยงานต่างๆ เนื่องจากมีความปลอดภัยสูง
2) การแชร์ไฟล์และโฟลเดอร์ ควรจากัดการแชร์ไว้เฉพาะข้อมูลที่ต้องการใช้ร่วมกัน
เท่านั้น
3) การกาหนดบัญชีสมาชิกและรหัสผ่าน (User Name and Password) นิยมใช้
ป้องกันบุคคลภายนอกเข้ามาในระบบ ผู้ใช้ต้องป้อนชื่อที่ได้รับอนุญาตและ
รหัสผ่านที่ถูกต้องจึงจะสามารถเข้าสู่ระบบได้
4) การใช้โพรโทคอล WEP (wired equivalency privacy key) เป็นการเข้ารหัส
ข้อมูลที่มีความปลอดภัยระดับกลางและระดับสูง
5) Wi-Fi Protected Access (WPA) เป็นโพรโทคอลรักษาความปลอดภัยสูงกว่า
WEP โดยอุปกรณ์ต่างๆ สามารถตรวจจับ Network Adapter เถื่อน และ
ปรับเปลี่ยนกุญแจเพื่อเข้ารหัสข้อมูลแก่ทุกอุปกรณ์เป็นระยะๆ โดยอัตโนมัติ
72
การตรวจสอบระบบเครือข่ายเบื้องต้น
มีการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย ไม่มีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย
การตรวจสอบการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย
73
 การตรวจสอบ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์
ดับเบิลคลิ๊กที่ จะเกิดหน้าต่างดังรูป
74
 การตรวจสอบ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์
คลิ๊กที่ “Support”
75
 กรณีที่ไม่ได้ IP Address
76
 การตรวจสอบระบบเครือข่ายด้วยคาสั่งต่างๆ
• ipconfig ->ใช้ตรวจสอบหมายเลขไอพีแอรดเดรสของเครื่อง
• Ping -> ใช้ในการตรวจสอบการเชื่อมต่อระหว่างโฮสต์
• Nslookup -> ใช้ในการตรวจสอบชื่อโดเมน
• Traceroute -> ใช้ในการตรวจสอบเส้นทางในการเชื่อมต่อ
77
 ขั้นตอนในการใช้คาสั่ง
 Start Menu -> Run
78
 ขั้นตอนในการใช้คาสั่ง
 พิมพ์ cmd
79
 ขั้นตอนในการใช้คาสั่ง
80
 Ping
 Ping IP address ที่ต้องการทดสอบ Ex ping 158.108.1.1
81
 Traceroute
 Tracert IP Address ที่ต้องการ Ex tracert 158.108.50.5
82
 Nslookup
 Nslookup ชื่อที่ต้องการตรวจสอบ Ex nslookup www.google.com
83
การตรวจสอบ BANDWIDTH ของเครือข่าย INTERNET
 การตรวจสอบ Bandwidth จาก Website
 http://speedtest.adslthailand.com/
 การตรวจสอบจากเครื่องโปรแกรม
84
การตั้งค่าไอพีแอดเดรส
การแชร์ปรินส์เตอร์
และการแชร์ไฟล์
ระหว่าง
Windows 7 กับเครื่องอื่นๆ
การตั้งค่า IP ADDRESS
IP Address คือ หมายเลขประจาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย
ตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1
หรือ 172.16.10.1 เป็นต้น มาตรฐานของ IP Address ปัจจุบันเป็น
มาตรฐาน version 4 หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า IPv4 วึ่งกาหนดให้ ip
address มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วย
จุด (.)
86
ขั้นตอนวิธีการตั้งค่า IP ADDRESS
 ไปที่ Control panel แล้วคลิกลิ้ง View network status and tasks หรือจะคลิก
Open Network and Sharing Center ที่การ์ดแลนมุมขวาล่าง
87
เลือกไปที่ Change Adapter Settings > Local area connection
88
 คลิกปุ่ม Properties > ดับเบิ้ลคลิก Internet Protocol Version 4 (TCP/IPv4)
89
 หากเลือก Obtain an IP address automatically แสดงว่ารับจาก DHCP
 แต่ถ้าเลือก Use the following IP address ตัวอย่างเช่น 192.168.1.22 เป็นการตั้งค่า IP แบบ
Static
 หรือ เป็นการตั้งค่าแบบกาหนดเอง
90
ขั้นตอนในการแชร์ไฟล์
1. Windows 7 Start > Control Panel >
เลือก Choose homegroup and sharing options
2. ให้เลือก Change advaced sharing setting
ให้เลือก Public (Current profile)
หัวข้อ File and Printer sharing ให้เป็น Turn on
และในส่วนของ Password protected sharing ก็ให้ปรับเป็น
Turn Off และทาการกด Save ในการปิดนี้เป็นการปิด Password
ในการแชร์ ซึ่งตัว Defualt ของ Windows 7 จะมี Security เพื่อ
ป้องกันการเข้ามา Access ในไฟล์หรือ Folder นั้น
1. ให้คลิกขวา ที่ Folder Share windows7 แล้วเลือก Properties
2. ให้เลือก Tab Sharing
3. เลือก Advanced Setting
4. ให้เลือก (√) Share this folder
จากนั้นให้ใส่ Share
name ขอใส่ share
windows7
5. กด Permissions
เพื่อกาหนดสิทธิ์
6. ให้สิทธิ์ Everyone
เป็น Full Control
ให้ไปที่ Drive ที่เราต้องการ Share file จากนั้นให้คลิกขวา
ที่ Drive เช่น Drive D จากนั้นเลือก Propreties
สังเกตุว่าตรง Share กดไม่ได้ แต่ให้มากด Advanced Sharing แทน
จากนั้นให้เราเลือกถูก Share this folder จากนั้นใส่ชื่อ Share name
ใส่ชื่อที่ต้องการลงไป
เมื่อตั้งชื่อ Drive ที่จะแชร์เสร็จแล้วให้เลือกคลิกที่ Permission
และกาหนดสิทธิ์ของ คนๆนั้นที่สามารถเข้ามาใน Folder นี้ได้
ในที่นี้ใส่เป็น Everyone และสามารถทาได้ทุกอย่างให้ เลือก Full Control
หลังจากนั้นจะมี Network Path ขึ้นมาแล้ว
มันจะปรากฎตามนี้ครับ ชื่อคอมของคุณชื่อDrive ที่แชร์
หลังจากเรากด Share ก็ให้ให้เราพิมพ์
Everyone ลงไปแล้วกด Add
จากนั้นให้เลือกตรงลูกศรสีฟ้าครับ ว่าจะปรับให้ได้แค่ อ่านได้อย่างเดียว
หรือ ทั้งอ่านและเขียน ลงได้ด้วย เมื่อปรับแล้วให้กด Share
จากนั้นมาที่เครื่อง Windows Xp My Computer ขึ้นมา
พิมพ์ Ip address : 192.168.100.1
REMOTE DESKTOP
การกาหนด ยกเลิก และเปลี่ยนรหัสผ่านยูสเซอร์ใน WINDOWS 7
105
การเปลี่ยนรหัสผ่านของยูสเซอร์แอคเคานต์
คลิกเมาส์ CHANGE YOUR PASSWORD
106
107
- กรอกรหัสผ่านเดิมที่ใช้อยู่
- ตั้งรหัสผ่านใหม่ที่ต้องการ
และยืนยันรหัสผ่านใหม่ที่
กาหนดอีกครั้ง
- คลิก Change
password เพื่อเปลี่ยน
รหัสผ่าน
การเปลี่ยนรหัสผ่านของยูสเซอร์แอคเคานต์
ทาการคลิกขวาที่ COMPUTER จากนั้นเลือก PROPERTISE
108
ให้เราเลือกเมนู REMOTE SETTING
109
ในหน้า SYSTEM PROPERTISE ให้เราเลือกแทบ REMOTE
ในส่วนของ REMOTE DESKTOP ให้เราเลือก ALLOW CONNECTIONS
FOR COMPUTERS RUNNING ANY VERSION OF REMOTE DESKTOP
และให้เราเลือก SELECT USER
110
จากนั้นให้เราเลือก USER ที่สามารถเข้ามา REMOTE DESKTOP ใน
เครื่องของเราได้
111
คลิกที่ START MENU > ALL PROGRAMS > ACCESSORIES >
REMOTE DESKTOP CONNECTION
112
การติดตั้ง และใช้งานโปรแกรม
TEAMVIEWER REMOTE DESKTOP
113
www.nrru.ac.th/dl/tw.exe
- เลือก INSTALL
หากมี TEAMVIEWER รุ่นเก่าอยู่แล้วก็ให้คลิกเลือก UNINSTALL OLD
VERSION
114
- PERSONAL / NON-COMMERCIAL USE ตามภาพด้านล่าง
115
- คลิกเลือก I ACCEPT THE TERMS IN THE LICENSE AGREEMENT
- คลิกเลือก I AGREE THAT I WILL ONLY USE TEAMVIEWER FOR
NON-COMMERCIAL AND PRIVATE USE
จากนั้นคลิกปุ่ม NEXT
116
- เลือก NO (DEFAULT)
117
จากนั้นโปรแกรมจะทาการเรียกโปรแกรมขึ้นมาอัตโนมัติ
ถ้าปรากฎหน้าจอ PROXY SETTINGS ดังภาพ
118
เปิดโปรแกรมขึ้นมา
119
- การเข้าใช้งานของฝั่งผู้ควบคุม ต้องมี USER ID กับ PASSWORD ของเครื่อง
ที่เราต้องการคุมด้วย
- กาหนดรหัสผ่านเข้าไปที่ EXTRAS > OPTIONS > SECURITY จะเป็นการ
ตั้ง PASSWORD ไว้เพื่อไม่ให้ PASSWORD เปลี่ยนไปทุกครั้งที่เข้าใช้งาน
เหมาะสาหรับเข้าใช้งานเครื่องตัวเองจากที่บ้านมาที่ทางาน
120

More Related Content

What's hot

การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนคู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนกรูทนง กรงธนู
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4Chutikan Mint
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์Sujit Chuajine
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นSukanjana
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารPeerapat Thungsuk
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 

What's hot (18)

การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนคู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 

Similar to ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8chu1991
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Tanawat Rengtian
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Tanawat Rengtian
 

Similar to ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Computerkamolaporn
ComputerkamolapornComputerkamolaporn
Computerkamolaporn
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
pw
pwpw
pw
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์