SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
รหัสโครงการ 11p13c391 
โปรแกรมไบรท์ไซต์ (Bright Sight) 
โปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการ 
รายงานฉบับสมบูรณ์ 
เสนอต่อ 
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
ได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม 
โครงการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่11 
ประจำปีงบประมาณ 2551 
โดย 
นางสาวรพีพร พิมพ์อูบ 
นางสาวภคภร ทิสยากร 
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ศ.ดร.บุญเสริม กิจศิริกุล 
สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2 
กิตติกรรมประกาศ 
ขอขอบพระคุณโครงการการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
แห่งชาติที่มอบทุนอุดหนุนในการพัฒนาโปรแกรมไบรท์ไซต์ 
ขอขอบพระคุณ ศ.ดร.บุญเสริม กิจศิริกุล ที่ปรึกษาโครงงาน ซึ่งกรุณาสละเวลาให้ความรู้ 
คำแนะนำ และไลบรารีรู้จำอักขระจากภาพ (OCR) ที่เป็นประโยชน์ยิ่งต่อการทำโครงงาน 
ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร. โปรดปราน บุณยพุกกณะ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรม 
คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการให้คำปรึกษาอันมีค่ามาโดยตลอด 
ขอขอบพระคุณ คุณนิพนธ์ ชินะธิมาตร์มงคล นิสิตปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำหรับคำแนะนำ และไลบรารีสังเคราะห์เสียงพูด (Text to 
Speech) ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำโครงงาน 
ท้ายที่สุดขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ผู้เป็นที่รัก และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ให้ 
โอกาสและการสนับสนุนในการทำโครงงานเสมอมา 
ผู้จัดทำ 
3 มกราคม 2552
3 
บทคัดย่อ 
โครงงานไบรท์ไซต์ได้นำเทคโนโลยี 2 อย่างคือ เทคโนโลยีการรู้จำอักขระจากภาพ และเทคโนโลยี 
การสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย มารวมกัน เพื่อพัฒนาโปรแกรมที่สามารถอ่านอักขระในภาพสแกนจาก 
หน้าหนังสือหรือเอกสารต่างๆ ออกมาเป็นเสียงพูดภาษาไทยได้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นคว้า 
ข้อมูลด้วยตนเองแก่ผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น ให้สามารถรับรู้ข้อมูลจากหนังสือที่ต้องการได้ 
นอกจากนี้ โครงงานนี้ยังได้นำเทคโนโลยีการสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีมาใช้ เพื่อให้โปรแกรมที่ 
พัฒนาขึ้น สามารถสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีที่สามารถอ่านได้โดยโปรแกรมอ่านหนังสือเดซีทั่วไปได้ 
อัตโนมัติ โดยเน้นที่การใช้งานบนโปรแกรมอ่านหนังสือเสียงระบบเดซีภาษาไทย ที่ปัจจุบันใช้ในสถาบัน 
เพื่อผู้บกพร่องทางการมองเห็นในประเทศไทยหลายสถาบัน ซึ่งหนังสือเสียงระบบเดซีนี้มีจุดเด่นเหนือ 
เสียงพูดที่อัดในเทปคาสเซ็ตทั่วไปคือ ผู้ใช้สามารถเลือกข้ามการอ่านไปยังหน้า หรือประโยคที่ต้องการได้ 
สามารถค้นหาข้อความที่ต้องการในหนังสือเสียง และข้ามไปฟังยังจุดนั้นได้ทันที นอกจากนี้ยังสามารถ 
สร้างที่คั่นหน้า เพื่อกลับมาอ่านเริ่มอ่านจากตำแหน่งเดิมได้ 
โปรแกรมที่พัฒนาขึ้น เมื่อทดสอบแล้วสามารถทำงานได้รวดเร็ว และคุณภาพอยู่ในระดับดีเมื่อภาพ 
สแกนที่ได้รับมีความชัดเจนและมีขนาดใหญ่เพียงพอ และหนังสือเสียงระบบเดซีที่ได้จากโปรแกรมสามารถ 
ใช้งานในโปรแกรมอ่านหนังสือเดซีภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
4 
Abstract 
The Bright Sight Project develops a program which combines 2 technologies: Optical Character 
Recognition (OCR) and Thai Text-to-Speech Synthesis. The aim of this program is to convert Thai 
characters in scanned images from books or other paper documents to Thai Speech in order to facilitate 
self-studying of visually impaired person. 
In addition, this project follows DAISY standard and makes the program to able to generate 
DAISY digital talking book that can be read by DAISY playback programs especially the Thai one which 
is now widely used in Thai institutes for visually impaired person. The DAISY digital talking books have 
advantages over tape cassette talking books because DAISY books provide special functions which make 
the user be able to jump forward or back by page or sentence, do keyword search, and set bookmark for 
the next reading. 
The finished program has a satisfactory speed and good-quality output when the input image is 
complete and big enough. Moreover, the generated DAISY books are perfectly compatible with the Thai 
DAISY playback program.
5 
บทนำ 
ผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นที่ต้องการอ่านหนังสือนั้น จะต้องให้ผู้อื่นอ่านหนังสือให้ฟัง 
หรือต้องฟังจากหนังสือเสียง ที่ในปัจจุบันมีจัดไว้ในสถาบันสำหรับผู้พิการทางสายตาทั่วไป ซึ่งก็คือเทป 
หรือซีดีที่มีอาสาสมัครมาอ่านอัดเสียงไว้ การที่ผู้พิการทางสายตาจะต้องให้ผู้อื่นอ่านหนังสือให้ฟังเสมอนั้น 
ทำให้การอ่านไม่ต่อเนื่องและไม่สามารถอ่านได้ในทุกเวลาที่ต้องการ แม้จะมีหนังสือเสียงที่เป็นเทปและซีดี 
แต่ผู้อ่านก็ยังไม่สามารถค้นหาข้อมูลจากในหนังสือได้ และต้องรอให้มีคนมาอ่านอัดเสียงจนจบเล่มไว้ก่อน 
ผู้อ่านจึงจะมีโอกาสได้อ่าน 
ปัจจุบันเริ่มมีการใช้เทคโนโลยีหนังสือเสียงระบบเดซี ซึ่งเป็นหนังสือเสียงที่มีรูปแบบตาม 
มาตรฐานสากลที่เพิ่มความสามารถของหนังสือเสียงให้อำนวยความสะดวกแก่ผู้พิการทางสายตาได้มาก 
ยิ่งขึ้น คือผู้ใช้สามารถเลือกประโยคที่ต้องการฟัง ย้อนกลับไปฟังซ้ำ และค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้ แต่ 
หนังสือเสียงระบบเดซีแต่ละชุดนั้น ยังคงสร้างโดยการให้คนอ่านหนังสืออัดเสียงเก็บไว้ในระบบสร้าง 
หนังสือเสียงระบบเดซีโดยเฉพาะ 
โปรแกรมไบรท์ไซต์ได้ถูกพัฒนา มาจากระบบสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี โดยพัฒนาให้โปรแกรม 
สามารถสร้างหนังสือเสียง และอ่านออกเสียงจากภาพสแกนจากหน้าหนังสือได้ แทนการใช้คนอ่าน ซึ่งจะ 
ช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้พกิารทางสายตา ให้ได้อ่านหนังสือที่ต้องการอ่านได้ง่ายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยัง 
เปิดโอกาสให้ผู้พกิารทางสายตาสามารถค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือด้วยตนเอง ทุกเวลาที่ต้องการได้อีกด้วย
6 
สารบัญ 
หน้า 
กิตติกรรมประกาศ 2 
บทคัดย่อ 
• บทคัดย่อภาษาไทย 3 
• บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 4 
บทนำ 5 
สารบัญ 6 
สารบัญรูปภาพ 8 
สารบัญตาราง 9 
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 10 
รายละเอียดของการพัฒนา 11 
• ตัวอย่างโปรแกรม 11 
• ทฤษฎีหลักการและเทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ 17 
- การรู้จำภาพตัวอักษร (Optical Character Recognition: OCR) 17 
- การสังเคราะห์เสียงพูด (Text-to-Speech Synthesis: TTS) 18 
- หนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซี (DAISY Digital Talking Book) 19 
- ภาษาสไมล์ (Synchronized Multimedia Integration Language) 20 
- รูปแบบไฟล์เสียง Wave File Format 20 
• เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา 22 
− ภาษาที่ใช้ในการพัฒนา 22 
− ไลบรารีที่ใช้ 22 
− ซอฟแวร์ที่ใช้ในการพัฒนา 22 
• รายละเอียดโปรแกรมที่ได้พัฒนาในเชิงเทคนิค 22 
− Input/Output Specification 22 
− Function Specification 23 
− โครงสร้างของซอฟต์แวร์ (Design) 24 
− ส่วนรับและแสดงผลภาพ 24 
− ส่วนแปลงภาพเป็นข้อความ 24 
− ส่วนแปลงข้อความเป็นเสียง 24
7 
− ส่วนเล่นเสียง 25 
− ส่วนสร้างหนังสือระบบเดซี 25 
• ขอบเขตและข้อจำกัดของโปรแกรมที่พัฒนา 25 
กลุ่มผู้ใช้โปรแกรม 26 
ผลของการทดสอบโปรแกรม 26 
• ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการแสดงภาพ 26 
• ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการเปลี่ยนภาพเป็นข้อความ 26 
• ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการเปลี่ยนข้อความเป็นเสียง 29 
• ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการเล่นเสียง 29 
• ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการเปลี่ยนเป็นหนังสือเสียงระบบเดซี่ 29 
ปัญหาและอุปสรรค 29 
แนวทางในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ร่วมกับงานอื่น ๆ ในขั้นต่อไป 29 
ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ 26 
• ข้อสรุป 30 
• ข้อเสนอแนะ 30 
เอกสารอ้างอิง 30 
ภาคผนวก 
• คู่มือการติดตั้งอย่างละเอียด 31 
• คู่มือการใช้งานอย่างละเอียด 35
8 
สารบัญรูปภาพ 
หน้า 
รูปที่ 1 โปรแกรมเมื่อเริ่มทำงาน 11 
รูปที่ 2 โปรแกรมเมื่อเปิดแฟ้มข้อมูลภาพ 12 
รูปที่ 3 โปรแกรมเมื่อแสดงแฟ้มข้อมูลภาพ 12 
รูปที่ 4 โปรแกรมเมื่อลบข้อมูลภาพ 13 
รูปที่ 5 โปรแกรมเมื่อเปลี่ยนภาพให้เป็นข้อความเมื่อเลือกแฟ้มข้อมูล 1 แฟ้ม 14 
รูปที่ 6 โปรแกรมเมื่อเปลี่ยนภาพให้เป็นข้อความเมื่อเลือกแฟ้มข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้ม 14 
รูปที่ 7 โปรแกรมเมื่อเปลี่ยนเล่นเสียง 15 
รูปที่ 8 โปรแกรมเมื่อเข้าสู่กระบวนการทำหนังสือเสียงขั้นกรอกข้อมูล 15 
รูปที่ 9 โปรแกรมเมื่อเข้าสู่กระบวนการทำหนังสือเสียงขั้นเลือกไดเรคทรอรี่ 16 
รูปที่ 10 แฟ้มข้อมูลหนังสือเสียง 16 
รูปที่ 11 แผนภาพการทำงานของระบบสังเคราะห์เสียงพูด 19 
รูปที่ 12 โครงสร้างพื้นฐานของภาษาสไมล์ 20 
รูปที่ 13 โครงสร้างซอฟแวร์ 23 
รูปที่ 14 หน้าต่างโปรแกรม 24 
รูปที่ 15 ผลการทดสอบส่วนแสดงภาพ 27 
รูปที่ 16 ตัวอย่างแฟ้มข้อมูลภาพที่ใช้ในการทดสอบ 28
9 
สารบัญตาราง 
หน้า 
ตารางที่ 1 แท็กในภาษาสไมล์ที่ใช้กับหนังสือเสียงระบบเดซี 21 
ตารางที่ 2 ส่วนประกอบของ RIFF chunk ใน wave file 22 
ตารางที่ 3 ส่วนประกอบของ FORMAT chunk ใน wave file 22 
ตารางที่ 4 ส่วนประกอบของ DATA chunk ใน wave file 22
10 
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 
1. เพื่อพัฒนาโปรแกรมที่สามารถอ่านและสร้างหนังสือเสียงสำหรับผู้พิการทางสายตา ที่สามารถ 
ฟังซ้ำ และค้นหาส่วนที่ต้องการฟังได้ 
2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้พิการทางสายตาที่ต้องการจะอ่านหนังสือ และแก่อาสาสมัครหรือ 
บุคคลที่ต้องการช่วยอ่านหนังสือให้ผู้พิการทางสายตา 
3. เพื่ออำนวยความสะดวกเพิ่มเติมแก่ผู้ที่มีสายตาเลือนราง ให้สามารถขยายภาพจากหนังสือเพื่อให้ 
อ่านสะดวกขึ้นได้
รายละ 
ะเอียดของ 
การพัฒน 
1. ตัวอย่างโ 
ขั้นตอนการท 
1. เปิดโปรแ 
พิเศษเนื่อ 
นา 
โปรแกรม 
ทำงานของโป 
แกรม ในการเ 
งจากโปรแก 
2. เปิดเพิ่มข 
จะต้องมี 
พร้อมๆ 
ปรแกรมสามา 
เปิดโปรแกรม 
กรมจะทำการ 
ข้อมูลภาพ ผู้ใ 
ชนิดเป็นแฟ้ม 
กัน 
รถทำงานได้ด 
ครั้งแรกนั้น 
เรียกพจนานุก 
รูปที 
ดังนี้ 
จะต้องรอการ 
รมที่ต้องใช้ 
ที่ 1 โปรแกรมเมื 
ใช้สามารถเพิ่ 
ข้อมูล Bitm 
มื่อเริ่มทำงาน 
พิมภาพได้โดย 
ap หรือ .bmp 
ตอบสนองข 
้ซึ่งเป็นแฟ้มข้ 
กดปุ่ม Open 
p และสามารถ 
องโปรแกรม 
อมูลที่มีขนา 
n Image ซึ่งแฟ้ 
เปิดแฟ้มข้อม 
ฟ้มข้อมูลภาพ 
มูลหลายๆ แฟ้ 
11 
นานเป็น 
ดใหญ่ 
นั้น 
ฟ้มได้
พข้อมูล เมื่อเ 
ต่างด้านบน ซึ่ 
ยหากต้องการ 
ภาพอีกระดับ 
ยการใช้เมาส์ 
3. แสดงภา 
ในหน้าต 
เมาส์ โด 
ลดขนาด 
อิสระโด 
รูปที่ 2 โป 
เพิ่มแฟ้มข้อมู 
ซงโปรแกรมมี 
ขยายภาพขึ้น 
ก็สามารถทำ 
กดและลากภ 
ปรแกรมเมื่อเปิด 
ูลในรายการแ 
ความสามารถ 
อีกระดับก็ส 
าได้โดยกดเม 
ภาพไปยังทิศท 
รูปที่ 3 โปร 
แกรมเมื่อแสด 
แฟ้มข้อมูลภาพ 
พารถเรียกดูภา 
ยาย ขนาดขอ 
โดยการกดเม 
ใช้สามารถเค 
การ 
แล้ว ผู้ใช้สาม 
ในการลด-ข 
สามารถทำได้โ 
าส์ขวา และผู้ 
ทางที่ผู้ใช้ต้อง 
งแฟ้มข้อมูลภา 
าพ

More Related Content

What's hot

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
kat55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
jamiezaa123
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
Wirachat Inkhamhaeng
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
jamiezaa123
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 

What's hot (18)

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
1
11
1
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
5บท
5บท5บท
5บท
 
OSS & Freeware for Education
OSS & Freeware for EducationOSS & Freeware for Education
OSS & Freeware for Education
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 

Similar to 653 1

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Autcharapun Kanya
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Autcharapun Kanya
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
Beebe Benjamast
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
Beebe Benjamast
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
Beebe Benjamast
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
Justice MengKing
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
Mintra Pudprom
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
KaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
Soldic Kalayanee
 
Tablet2
Tablet2Tablet2
Tablet2
jamrat
 

Similar to 653 1 (20)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
 
คู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E bookคู่มือประกอบการสร้าง E book
คู่มือประกอบการสร้าง E book
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Tablet2
Tablet2Tablet2
Tablet2
 
Tablet2
Tablet2Tablet2
Tablet2
 
K8
K8K8
K8
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 booklet
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 

More from Tee Plerngpiz (8)

623 1
623 1623 1
623 1
 
680 1
680 1680 1
680 1
 
650 1
650 1650 1
650 1
 
499 1
499 1499 1
499 1
 
648 1
648 1648 1
648 1
 
Mindmap
MindmapMindmap
Mindmap
 
ComProject3
ComProject3ComProject3
ComProject3
 
It news
It newsIt news
It news
 

653 1

  • 1. รหัสโครงการ 11p13c391 โปรแกรมไบรท์ไซต์ (Bright Sight) โปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการ รายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม โครงการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่11 ประจำปีงบประมาณ 2551 โดย นางสาวรพีพร พิมพ์อูบ นางสาวภคภร ทิสยากร อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ศ.ดร.บุญเสริม กิจศิริกุล สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2. 2 กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณโครงการการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติที่มอบทุนอุดหนุนในการพัฒนาโปรแกรมไบรท์ไซต์ ขอขอบพระคุณ ศ.ดร.บุญเสริม กิจศิริกุล ที่ปรึกษาโครงงาน ซึ่งกรุณาสละเวลาให้ความรู้ คำแนะนำ และไลบรารีรู้จำอักขระจากภาพ (OCR) ที่เป็นประโยชน์ยิ่งต่อการทำโครงงาน ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร. โปรดปราน บุณยพุกกณะ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการให้คำปรึกษาอันมีค่ามาโดยตลอด ขอขอบพระคุณ คุณนิพนธ์ ชินะธิมาตร์มงคล นิสิตปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำหรับคำแนะนำ และไลบรารีสังเคราะห์เสียงพูด (Text to Speech) ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำโครงงาน ท้ายที่สุดขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ผู้เป็นที่รัก และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ให้ โอกาสและการสนับสนุนในการทำโครงงานเสมอมา ผู้จัดทำ 3 มกราคม 2552
  • 3. 3 บทคัดย่อ โครงงานไบรท์ไซต์ได้นำเทคโนโลยี 2 อย่างคือ เทคโนโลยีการรู้จำอักขระจากภาพ และเทคโนโลยี การสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย มารวมกัน เพื่อพัฒนาโปรแกรมที่สามารถอ่านอักขระในภาพสแกนจาก หน้าหนังสือหรือเอกสารต่างๆ ออกมาเป็นเสียงพูดภาษาไทยได้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นคว้า ข้อมูลด้วยตนเองแก่ผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น ให้สามารถรับรู้ข้อมูลจากหนังสือที่ต้องการได้ นอกจากนี้ โครงงานนี้ยังได้นำเทคโนโลยีการสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีมาใช้ เพื่อให้โปรแกรมที่ พัฒนาขึ้น สามารถสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีที่สามารถอ่านได้โดยโปรแกรมอ่านหนังสือเดซีทั่วไปได้ อัตโนมัติ โดยเน้นที่การใช้งานบนโปรแกรมอ่านหนังสือเสียงระบบเดซีภาษาไทย ที่ปัจจุบันใช้ในสถาบัน เพื่อผู้บกพร่องทางการมองเห็นในประเทศไทยหลายสถาบัน ซึ่งหนังสือเสียงระบบเดซีนี้มีจุดเด่นเหนือ เสียงพูดที่อัดในเทปคาสเซ็ตทั่วไปคือ ผู้ใช้สามารถเลือกข้ามการอ่านไปยังหน้า หรือประโยคที่ต้องการได้ สามารถค้นหาข้อความที่ต้องการในหนังสือเสียง และข้ามไปฟังยังจุดนั้นได้ทันที นอกจากนี้ยังสามารถ สร้างที่คั่นหน้า เพื่อกลับมาอ่านเริ่มอ่านจากตำแหน่งเดิมได้ โปรแกรมที่พัฒนาขึ้น เมื่อทดสอบแล้วสามารถทำงานได้รวดเร็ว และคุณภาพอยู่ในระดับดีเมื่อภาพ สแกนที่ได้รับมีความชัดเจนและมีขนาดใหญ่เพียงพอ และหนังสือเสียงระบบเดซีที่ได้จากโปรแกรมสามารถ ใช้งานในโปรแกรมอ่านหนังสือเดซีภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
  • 4. 4 Abstract The Bright Sight Project develops a program which combines 2 technologies: Optical Character Recognition (OCR) and Thai Text-to-Speech Synthesis. The aim of this program is to convert Thai characters in scanned images from books or other paper documents to Thai Speech in order to facilitate self-studying of visually impaired person. In addition, this project follows DAISY standard and makes the program to able to generate DAISY digital talking book that can be read by DAISY playback programs especially the Thai one which is now widely used in Thai institutes for visually impaired person. The DAISY digital talking books have advantages over tape cassette talking books because DAISY books provide special functions which make the user be able to jump forward or back by page or sentence, do keyword search, and set bookmark for the next reading. The finished program has a satisfactory speed and good-quality output when the input image is complete and big enough. Moreover, the generated DAISY books are perfectly compatible with the Thai DAISY playback program.
  • 5. 5 บทนำ ผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นที่ต้องการอ่านหนังสือนั้น จะต้องให้ผู้อื่นอ่านหนังสือให้ฟัง หรือต้องฟังจากหนังสือเสียง ที่ในปัจจุบันมีจัดไว้ในสถาบันสำหรับผู้พิการทางสายตาทั่วไป ซึ่งก็คือเทป หรือซีดีที่มีอาสาสมัครมาอ่านอัดเสียงไว้ การที่ผู้พิการทางสายตาจะต้องให้ผู้อื่นอ่านหนังสือให้ฟังเสมอนั้น ทำให้การอ่านไม่ต่อเนื่องและไม่สามารถอ่านได้ในทุกเวลาที่ต้องการ แม้จะมีหนังสือเสียงที่เป็นเทปและซีดี แต่ผู้อ่านก็ยังไม่สามารถค้นหาข้อมูลจากในหนังสือได้ และต้องรอให้มีคนมาอ่านอัดเสียงจนจบเล่มไว้ก่อน ผู้อ่านจึงจะมีโอกาสได้อ่าน ปัจจุบันเริ่มมีการใช้เทคโนโลยีหนังสือเสียงระบบเดซี ซึ่งเป็นหนังสือเสียงที่มีรูปแบบตาม มาตรฐานสากลที่เพิ่มความสามารถของหนังสือเสียงให้อำนวยความสะดวกแก่ผู้พิการทางสายตาได้มาก ยิ่งขึ้น คือผู้ใช้สามารถเลือกประโยคที่ต้องการฟัง ย้อนกลับไปฟังซ้ำ และค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้ แต่ หนังสือเสียงระบบเดซีแต่ละชุดนั้น ยังคงสร้างโดยการให้คนอ่านหนังสืออัดเสียงเก็บไว้ในระบบสร้าง หนังสือเสียงระบบเดซีโดยเฉพาะ โปรแกรมไบรท์ไซต์ได้ถูกพัฒนา มาจากระบบสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี โดยพัฒนาให้โปรแกรม สามารถสร้างหนังสือเสียง และอ่านออกเสียงจากภาพสแกนจากหน้าหนังสือได้ แทนการใช้คนอ่าน ซึ่งจะ ช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้พกิารทางสายตา ให้ได้อ่านหนังสือที่ต้องการอ่านได้ง่ายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยัง เปิดโอกาสให้ผู้พกิารทางสายตาสามารถค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือด้วยตนเอง ทุกเวลาที่ต้องการได้อีกด้วย
  • 6. 6 สารบัญ หน้า กิตติกรรมประกาศ 2 บทคัดย่อ • บทคัดย่อภาษาไทย 3 • บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 4 บทนำ 5 สารบัญ 6 สารบัญรูปภาพ 8 สารบัญตาราง 9 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 10 รายละเอียดของการพัฒนา 11 • ตัวอย่างโปรแกรม 11 • ทฤษฎีหลักการและเทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ 17 - การรู้จำภาพตัวอักษร (Optical Character Recognition: OCR) 17 - การสังเคราะห์เสียงพูด (Text-to-Speech Synthesis: TTS) 18 - หนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซี (DAISY Digital Talking Book) 19 - ภาษาสไมล์ (Synchronized Multimedia Integration Language) 20 - รูปแบบไฟล์เสียง Wave File Format 20 • เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา 22 − ภาษาที่ใช้ในการพัฒนา 22 − ไลบรารีที่ใช้ 22 − ซอฟแวร์ที่ใช้ในการพัฒนา 22 • รายละเอียดโปรแกรมที่ได้พัฒนาในเชิงเทคนิค 22 − Input/Output Specification 22 − Function Specification 23 − โครงสร้างของซอฟต์แวร์ (Design) 24 − ส่วนรับและแสดงผลภาพ 24 − ส่วนแปลงภาพเป็นข้อความ 24 − ส่วนแปลงข้อความเป็นเสียง 24
  • 7. 7 − ส่วนเล่นเสียง 25 − ส่วนสร้างหนังสือระบบเดซี 25 • ขอบเขตและข้อจำกัดของโปรแกรมที่พัฒนา 25 กลุ่มผู้ใช้โปรแกรม 26 ผลของการทดสอบโปรแกรม 26 • ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการแสดงภาพ 26 • ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการเปลี่ยนภาพเป็นข้อความ 26 • ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการเปลี่ยนข้อความเป็นเสียง 29 • ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการเล่นเสียง 29 • ผลการทดสอบโปรแกรมส่วนการเปลี่ยนเป็นหนังสือเสียงระบบเดซี่ 29 ปัญหาและอุปสรรค 29 แนวทางในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ร่วมกับงานอื่น ๆ ในขั้นต่อไป 29 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ 26 • ข้อสรุป 30 • ข้อเสนอแนะ 30 เอกสารอ้างอิง 30 ภาคผนวก • คู่มือการติดตั้งอย่างละเอียด 31 • คู่มือการใช้งานอย่างละเอียด 35
  • 8. 8 สารบัญรูปภาพ หน้า รูปที่ 1 โปรแกรมเมื่อเริ่มทำงาน 11 รูปที่ 2 โปรแกรมเมื่อเปิดแฟ้มข้อมูลภาพ 12 รูปที่ 3 โปรแกรมเมื่อแสดงแฟ้มข้อมูลภาพ 12 รูปที่ 4 โปรแกรมเมื่อลบข้อมูลภาพ 13 รูปที่ 5 โปรแกรมเมื่อเปลี่ยนภาพให้เป็นข้อความเมื่อเลือกแฟ้มข้อมูล 1 แฟ้ม 14 รูปที่ 6 โปรแกรมเมื่อเปลี่ยนภาพให้เป็นข้อความเมื่อเลือกแฟ้มข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้ม 14 รูปที่ 7 โปรแกรมเมื่อเปลี่ยนเล่นเสียง 15 รูปที่ 8 โปรแกรมเมื่อเข้าสู่กระบวนการทำหนังสือเสียงขั้นกรอกข้อมูล 15 รูปที่ 9 โปรแกรมเมื่อเข้าสู่กระบวนการทำหนังสือเสียงขั้นเลือกไดเรคทรอรี่ 16 รูปที่ 10 แฟ้มข้อมูลหนังสือเสียง 16 รูปที่ 11 แผนภาพการทำงานของระบบสังเคราะห์เสียงพูด 19 รูปที่ 12 โครงสร้างพื้นฐานของภาษาสไมล์ 20 รูปที่ 13 โครงสร้างซอฟแวร์ 23 รูปที่ 14 หน้าต่างโปรแกรม 24 รูปที่ 15 ผลการทดสอบส่วนแสดงภาพ 27 รูปที่ 16 ตัวอย่างแฟ้มข้อมูลภาพที่ใช้ในการทดสอบ 28
  • 9. 9 สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 แท็กในภาษาสไมล์ที่ใช้กับหนังสือเสียงระบบเดซี 21 ตารางที่ 2 ส่วนประกอบของ RIFF chunk ใน wave file 22 ตารางที่ 3 ส่วนประกอบของ FORMAT chunk ใน wave file 22 ตารางที่ 4 ส่วนประกอบของ DATA chunk ใน wave file 22
  • 10. 10 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 1. เพื่อพัฒนาโปรแกรมที่สามารถอ่านและสร้างหนังสือเสียงสำหรับผู้พิการทางสายตา ที่สามารถ ฟังซ้ำ และค้นหาส่วนที่ต้องการฟังได้ 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้พิการทางสายตาที่ต้องการจะอ่านหนังสือ และแก่อาสาสมัครหรือ บุคคลที่ต้องการช่วยอ่านหนังสือให้ผู้พิการทางสายตา 3. เพื่ออำนวยความสะดวกเพิ่มเติมแก่ผู้ที่มีสายตาเลือนราง ให้สามารถขยายภาพจากหนังสือเพื่อให้ อ่านสะดวกขึ้นได้
  • 11. รายละ ะเอียดของ การพัฒน 1. ตัวอย่างโ ขั้นตอนการท 1. เปิดโปรแ พิเศษเนื่อ นา โปรแกรม ทำงานของโป แกรม ในการเ งจากโปรแก 2. เปิดเพิ่มข จะต้องมี พร้อมๆ ปรแกรมสามา เปิดโปรแกรม กรมจะทำการ ข้อมูลภาพ ผู้ใ ชนิดเป็นแฟ้ม กัน รถทำงานได้ด ครั้งแรกนั้น เรียกพจนานุก รูปที ดังนี้ จะต้องรอการ รมที่ต้องใช้ ที่ 1 โปรแกรมเมื ใช้สามารถเพิ่ ข้อมูล Bitm มื่อเริ่มทำงาน พิมภาพได้โดย ap หรือ .bmp ตอบสนองข ้ซึ่งเป็นแฟ้มข้ กดปุ่ม Open p และสามารถ องโปรแกรม อมูลที่มีขนา n Image ซึ่งแฟ้ เปิดแฟ้มข้อม ฟ้มข้อมูลภาพ มูลหลายๆ แฟ้ 11 นานเป็น ดใหญ่ นั้น ฟ้มได้
  • 12. พข้อมูล เมื่อเ ต่างด้านบน ซึ่ ยหากต้องการ ภาพอีกระดับ ยการใช้เมาส์ 3. แสดงภา ในหน้าต เมาส์ โด ลดขนาด อิสระโด รูปที่ 2 โป เพิ่มแฟ้มข้อมู ซงโปรแกรมมี ขยายภาพขึ้น ก็สามารถทำ กดและลากภ ปรแกรมเมื่อเปิด ูลในรายการแ ความสามารถ อีกระดับก็ส าได้โดยกดเม ภาพไปยังทิศท รูปที่ 3 โปร แกรมเมื่อแสด แฟ้มข้อมูลภาพ พารถเรียกดูภา ยาย ขนาดขอ โดยการกดเม ใช้สามารถเค การ แล้ว ผู้ใช้สาม ในการลด-ข สามารถทำได้โ าส์ขวา และผู้ ทางที่ผู้ใช้ต้อง งแฟ้มข้อมูลภา าพ