SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
รองศาสตราจารย์ ดร.ธานี ศรีวงศ์ชัย
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การปลูกกัญชา
KU
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชนิดของกัญชา
พันธุ์กัญชา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์และการเจริญเติบโต
ของกัญชา
ปัจจัยการเจริญเติบโตของกัญชา
ระบบการปลูกกัญชา
สายพันธุ์กัญชา
Content
2
1. ชนิดของกัญชา
Cannabis sativa
C. indica
C. ruderalis
พืชล้มลุกในวงศ์ Cannabaceae
มีต้นกำเนิดอยู่แถบเอเชียกลำง
พืชที่มีต้นเพศผู้และเพศเมีย
แยกกัน (dioecious plant)
กัญชา: cannabis หรือ marijuana แต่ก็มีคาสแลงหลายชื่อ เช่น grass, pot, weed, tea, mary
Jane, dagga, sinsemilla, herb, reefer, dope, shunk, boom, ganster และ kif
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3
ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อแบบแขนงดอก
Cannabis sativa
กัญชาในเขตร้อนชื้น
ลาต้น และทรง
พุ่มขนาดใหญ่
ใบประกอบรูปมือ มีใบ
ย่อย 1–13 ใบ ใบเรียว
ยาว ขอบใบจักรฟันเลื่อย
มีสาร THC สูงกว่า CBD
Dioecious plant
ชนิดของกัญชา
www.sciencephoto.com
1.
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เพศเมีย มีลักษณะโปร่งไม่แน่น
4
5
C. indica
กัญชาในเขตกึ่งร้อนชื้น
มีลักษณะเป็น
พุ่มเตี้ย สูงไม่
เกิน 2 เมตร
ใบประกอบแบบ รูปมือ มีใบ
ย่อย 1-13 ใบ ใบกว้าง และ
สีเข้มกว่า C. sativa
ส่วนใหญ่มีสาร THC > CBD
แต่มีบางพันธุ์มีปริมาณสาร
CBD > THC
ชนิดของกัญชา
2.
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
C. ruderalis
เป็นกัญชาในเขตอบอุ่น
ต้นเล็กคล้ายวัชพืช
ทรงต้นเตี้ย
ไม่ตอบสนองต่อช่วงแสง
(auto-flowering)
ส่วนใหญ่มีสาร THC
และ CBD ในปริมาณต่า
ชนิดของกัญชา
ใบมีลักษณะกว้าง
และเล็กผสมกัน
3.
6
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การกระจายพันธุ์ของกัญชาทั้ง 3 ชนิดในเขตต่างๆ ของโลก
กัญชาเจริญเติบโตได้ง่ายและมีการแพร่กระจายทั่วโลกตั้งแต่
เขตร้อนชื้นแถบเส้นศูนย์สูตรไปจนถึงแถบอบอุ่น
C. sativa
C. indica
C. ruderalis
7
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สารเตดตระไฮโดรแคนนาบินอล
(tetrahydrocannabinol, THC)
: มีผลที่ทาให้เกิดการกระตุ้นประสาท
แคนนาบิไดออล (cannabidiol, CBD)
: ยับยั้งการออกฤทธิ์ของ THC
สารสาคัญในกัญชา
สารแคนนาบินอยด์
(cannabinoids)
1
8
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สารสาคัญในกัญชา
9
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สารเทอร์ปีน
(terpenes)
2
ชนิดและองค์ประกอบของสารเทอร์ปีน
แตกต่างกันตามสายพันธุ์กัญชา
entourage effect : สารเทอร์ปีนมี
ผลประสานกับสารประกอบอื่น ๆ
โดยเฉพาะสารแคนนาบินอยด์เพื่อ
ส่งเสริมหรือลดการออกฤทธิ์
สารสาคัญในกัญชา
10
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สภาพแวดล้อมของพื้นที่ปลูก
สายพันธุ์
วิธีการปลูก
ส่วนของต้นกัญชาที่นามาใช้ : มีมากที่สุดในช่อดอก
ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณสารสาคัญและผลการกระตุ้นประสาทในกัญชา
สารสาคัญในกัญชา
11
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การแบ่งตามการ
ตอบสนองต่อช่วงแสง
การแบ่งตามคุณลักษณะทาง
พันธุกรรมที่เป็นพันธุ์พื้นเมือง
หรือพันธุ์ปรับปรุง
การแบ่งลักษณะของพันธุ์กัญชา
การแบ่งตามสัดส่วน
ของสารออกฤทธิ์หลัก
พันธุ์พื้นเมือง
พันธุ์ปรับปรุง
พันธุ์ที่ไม่ตอบสนอง
ต่อช่วงแสง
พันธุ์ที่ตอบสนองต่อ
ช่วงแสง
Chemotype I
Chemotype II
Chemotype III
2. ชนิดพันธุ์กัญชา
12
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การแบ่งตามคุณลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นพันธุ์พื้นเมือง หรือพันธุ์ปรับปรุง
ในต่างประเทศได้มีการปรับปรุงพันธุ์
อย่างเป็นระบบ ทั้งการผสมภายในชนิดและ
ต่างชนิดกัน ทาให้ได้ชนิดของกัญชาที่แตกต่าง
กันไป คือ sativa หรือ indica หรือ พันธุ์
ลูกผสมข้าม (hybrid) ที่มีสัดส่วนของ
พันธุกรรมแต่ละชนิดที่แตกต่างกันไป
1. พันธุ์พื้นเมือง (C. sativa)
ประเทศไทยจัดเป็นหนึ่งใน
แหล่งกาเนิดของกัญชา มีการใช้ประโยชน์
อย่างหลากหลาย และมีความหลากหลาย
ทางพันธุกรรมสูงแห่งหนึ่งของโลก เช่น
พันธุ์หางกระรอก
2. พันธุ์ปรับปรุง
13
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Hybrid
ชนิดกัญชาที่ปรับปรุงพันธุ์โดยการผสมข้ามชนิด
14
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พืชสกุลกัญชาในประเทศไทย
กัญชา (marijuana)
C. sativa L. subsp. indica
กัญชง (hemp)
C. sativa L. subsp. sativa
ลาต้นสูง แตกกิ่งก้านน้อย ใบแคบเรียวและสีเขียวอ่อน
เป็นพืชเส้นใย สาหรับทาเสื้อผ้าและเยื่อกระดาษ
THC น้อยกว่า 1.0 เปอร์เซ็นต์ ต่อน้าหนักแห้ง
มีลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย
THC สูงกว่า 1.0 เปอร์เซ็นต์ ต่อน้าหนักแห้ง
15
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1. Chemotype I (high THC)
คือน้ามันกัญชาที่มีสาร THC > CBD
2. Chemotype II (THC: CBD balance)
คือน้ามันกัญชาที่มีสาร CBD = THC
3. Chemotype III (high CBD)
คือน้ามันกัญชาที่มีสาร CBD >THC
การแบ่งตามสัดส่วนของสารออกฤทธิ์หลัก
16
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การแบ่งตามการตอบสนองต่อช่วงแสง
1. พันธุ์ที่ตอบสนองต่อช่วงแสง
(photoperiod sensitive)
▪ ชนิด sativa และ indica
▪ ออกดอกเมื่อได้รับช่วงแสงที่ต่ากว่าช่วง
แสงวิกฤต น้อยกว่า 12 ชั่วโมงต่อวัน จึง
จัดเป็นพืชวันสั้น (short day plant)
▪ พันธุ์ที่มีอายุวันออกดอกที่ไม่แน่นอน
ขึ้นกับช่วงแสงที่ได้รับในระหว่างการปลูก
2. พันธุ์ที่ไม่ตอบสนองต่อช่วงแสง
(non-photoperiod sensitive)
▪ auto flowering
▪ ชนิด ruderalis
▪ มีอายุวันออกดอกที่แน่นอน
▪ ออกดอกเมื่อครบอายุตามกาหนด
17
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกัญชา
ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ออกเป็น
ช่อตามซอกใบและปลายยอด
ลาต้นตั้งตรง สูง 0.9-1.5 เมตร มีขนสีเขียวอมเทา
และไม่ค่อยแตกสาขา
ใบเดี่ยว รูปฝ่ามือ เรียงสลับ ขอบใบเว้าลึกจนถึงจุดโคน ใบเป็นแฉก 5-7
แฉก แต่ละแฉกรูปยาวรี กว้าง 0.3-1.5 ซม. ยาว 6-10 ซม. โคนและปลาย
สอบ ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบด้านบนสีเข้มกว่าด้านล่าง
ต้นเพศผู้: ช่อดอกและใบจัดเรียงกันห่ำง ๆ
ต้นเพศเมีย: ช่อดอกและใบเรียงชิดกัน ดอกเล็ก
มีกลีบเลี้ยงหุ้ม ผลแห้ง เมล็ดล่อน เล็ก เรียบ สี
น้ำตำล
18
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เพศของต้นกัญชาควบคุมโดย
พันธุกรรมและสภาพแวดล้อม
ต้นเพศเมียผลิตดอกขนาดใหญ่ที่มีต่อมผลิตสารคล้ายเรซิ่น
(resin-secreting flowers)
ต้นเพศผู้ผลิตถุงเกสรขนาดเล็กใกล้กับโคนใบ ผลิต
ละอองเกสรเพื่อผสมกับต้นเพศเมีย ได้เมล็ดพันธุ์ สาหรับ
ขยายพันธุ์ต่อไป
ช่อดอกจากต้นเพศเมียที่ไม่ได้รับการผสมเกสร จึงไม่มี
เมล็ด เรียกช่อดอกแบบนี้ว่า sinsemilla ซึ่งเป็นช่อดอก
ที่มีสาร cannabinoid สูง
3. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกัญชา
19
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กายวิภาคศาสตร์ของดอกเพศผู้ และเพศเมีย
โคลา (cola): คือช่อดอกที่ประกอบด้วยกลุ่มของดอกที่อยู่
ติดกันแน่น ช่อดอกขนาดใหญ่มักอยู่สูงที่สุดของต้นที่เจริญมา
จากเนื้อเยื่อเจริญด้านบน (apical bud) ส่วนช่อดอกที่ได้จาก
ตาด้านข้างจะมีขนาดเล็ก
เกสรเพศเมีย (pistil): ประกอบด้วยรังไข่ และยอดเกสรเพศ
เมีย (pistil) คล้ายกับขนตางอน ส่วนปลายของยอดเกสรเพศ
เมียมีหน้าที่รับละอองเกสรจากต้นเพศผู้เพื่อผสมพันธุ์ ยอด
เกสรเพศเมียจะเปลี่ยนสีไปตามระยะเวลาการพัฒนาของช่อ
ดอกจากสีขาวเป็นสีเหลืองเข้ม ส้ม แดง และน้าตาล
ใบรองดอกย่อยและกลีบเลี้ยง (bract และ calyx):
กลีบเลี้ยงลักษณะตะปุ่มตะป่าเหมือนใบที่ย่นทับกัน
ไปมา เรียกว่า sugar leaves เป็นส่วนที่มีปริมาณ
ของไตรโคมมากดูคล้ายเกล็ดน้าตาล กลีบเลี้ยงมี
หลายรูปแบบตามขนาด และสีที่ต่างกันตามพันธุ์
ไตรโคม (trichome): มีรูปทรงคล้ายเห็ดที่มีเรซิ่นคริสตัลใสอยู่บนหัว
ปกคลุมอยู่ทั่วช่อดอก มีความหนาแน่นสูงในบริเวณกลีบเลี้ยง ไตรโคม
เป็นส่วนที่พืชพัฒนาขึ้นมาเพื่อปกป้องศัตรูทางธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ตุ่มกลมใสที่อยู่บนยอดของไตรโคมเป็นส่วนที่บรรจุสาร
cannabinoids และ terpenes ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์ที่สาคัญของ
กัญชา
Pistil
20
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Germination Stem Elongation Flower Development
Seedling Seed Development
ระยะเมล็ดงอก
เมล็ดได้รับความชื้นและ
งอกเป็นต้นอ่อน
1 สัปดาห์
ระยะต้นกล้า
ต้นกล้ามีใบจริง 1 คู่จนถึง
ระยะที่มีการแตกกิ่งด้านข้าง
2 - 3 สัปดาห์
ระยะยืดลาตัน
แตกกิ่งด้านข้างและส่วน
ของข้อ เพิ่มความสูง ใช้
2 - 8 สัปดาห์
การสร้างช่อดอก
▪ ตายอด และตาข้างเปลี่ยนเป็นตา
ดอก พันธุ์ที่ตอบสนองต่อช่วงแสง:
กระตุ้นด้วยช่วงวันสั้นใน
▪ พันธุ์ที่ไม่ตอบสนองต่อช่วงแสง:
หรือครบอายุกาหนดใน
▪ การพัฒนาเป็นช่อดอกที่สมบูรณ
▪ ใช้ระยะเวลา 8-14 สัปดาห์
การสร้างเมล็ด
การปลูกที่มีต้นเพศผู้หรือต้นกระเทย
เกสรเพศผู้จะบานและแตกออกเกิด
การถ่ายละอองเกสรไปผสมกับดอก
ของต้นเพศเมีย และพัฒนาไปเป็น
เมล็ดที่สมบูรณ์
4-6 สัปดาห์ขึ้นอยู่กับพันธุ์
การเจริญเติบโตของกัญชา
ช่วงการเจริญทางลาต้น (vegetative phase) ช่วงการเจริญทางสืบพันธุ์(reproductive phase)
21
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
4. ปัจจัยการเจริญเติบโตของกัญชา
การปลูกพืชในระบบปิด (indoor หรือ plant factory with artificial lighting, PFAL)
แสงเทียม ปุ๋ยหรือธาตุอาหาร
วัสดุปลูก
ความชื้นสัมพัทธ์
EC และ pH ของสารละลายธาตุอาหาร
ลม
CO2
อุณหภูมิ
น้า
22
• ช่วงเปิดไฟ อุณหภูมิที่เหมาะสม 22-28 oC
• ช่วงปิดไฟ อุณหภูมิที่เหมาะสม 18-23 oC ขึ้นอยู่กับแต่ละสายพันธุ์
ช่วง 1-2 อาทิตย์ก่อนตัดดอก
ช่วงเปิดไฟ 18-24 oC
ช่วงปิดไฟ 13-15 oC
ช่วงการสร้างดอก
22-25 oC หากเกิน 25 oC ขนาด
ช่อดอกจะใหญ่ แต่จะมีปัญหา
เรื่องโรคและแมลง
ช่วงการเจริญเติบโตทางลาต้น
22-28 oC
อุณหภูมิ (Temperature)
ช่วงเพาะเมล็ด/ปักชา
อุณหภูมิเมื่อเปิดไฟ: 22-25 ºซ
23
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสมจะทาให้สภาพแวดล้อมปลอดเชื้อรา และกัญชาจะเติบโตอย่างแข็งแรง
ระดับความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสมในการปลูกกัญชา คือระหว่าง 40-70 %
ช่วงการเจริญเติบโตทางลาต้น
RH = 50-70%
อุณหภูมิ
ช่วงเพาะเมล็ด/ปักชา
RH = 65-70 %
ความชื้นสัมพัทธ์ (relative humidity, RH)
ช่วงการสร้างดอก
RH = 50-60%
ช่วง 1-2 อาทิตย์ก่อนตัดดอก
RH = 40-50%
วิธีการควบคุมความชื้นสัมพัทธ์: ติดตั้งเครื่องลดความชื้น (dehumidifier) และ ติดตั้งพัดลม เพื่อการ
กวนอากาศและเป่าให้ต้นและใบเคลื่อนไหวบริหารลาต้นให้แข็งแรง เพื่อกระตุ้นให้ดอกใหญ่
24
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แสงเทียม
▪ ความเข้มข้นของแสงสูง
▪ ให้คลื่นแสงที่ครบถ้วน
▪ ใช้งานได้นาน
▪ ความร้อนน้อย
▪ มีราคาถูก
▪ สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าน้อย
▪ ติดตั้งได้ง่าย
LED
Full spectrum light ให้แสงสีเลียนแบบแสงอาทิตย์และให้ช่วงคลื่น
แสงที่ครบคือ 400-700 นาโนเมตร ตามที่ต้นกัญชาต้องการ --> โตเร็ว
สมบูรณ์ และดอกใหญ่
ความเข้มแสง: 1,000–1,500 μmol m-2 s-1
กัญชาแต่ละสายพันธุ์ก็จะมีความต้องการ
ปริมาณแสงไม่เท่ากัน โดยสายพันธุ์ sativa,
sativa dominance, indica dominance
และ indica ความต้องการปริมาณแสง
เรียงลาดับจากมากไปน้อย
การเจริญเติบโตทางลาต้น: เปิดไฟ 18 ชั่วโมง
ปิด 6 ชั่วโมง/วัน
กระตุ้นการออก: เปิดและปิดไฟ 10-12 ชั่วโมง/วัน
25
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อุณหภูมิ
ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
▪ ปริมาณก๊าซ CO2 ส่งผลให้การเจริญเติบโตและผลผลิต
ของต้นกัญชาเพิ่มขึ้น
▪ ปริมาณก๊าซ CO2 ในบรรยากาศปกติ 350-400 ppm
▪ ปริมาณก๊าซ CO2 ที่เหมาะสม 800-2,000 ppm
▪ เพิ่มก๊าซ CO2 เกิน 3,000 ppm จะเป็นอันตราย
สาหรับมนุษย์ที่จะหายใจเข้าไป ดังนั้น ควรมีระบบการ
ตรวจสอบปริมาณก๊าซ CO2 ในห้อง
26
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อุณหภูมิ
ลม
▪ ติดตั้งพัดลมเพื่อเพิ่มการหมุนเวียนอากาศในห้องปลูก
ให้มีความเร็วลมประมาณ 1 เมตร/วินาที
▪ ทาให้เกิดการไหลเวียนของก๊าซ CO2 รอบใบ ช่วย
ส่งเสริมขบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของต้นกัญชา
▪ เป่าลมร้อนที่บริเวณด้านบนออกไป และดูดอากาศเย็น
เข้ามาด้านล่างแทน จึงเกิดการถ่ายเทหมุนเวียนของ
อากาศ
27
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่มา: สูตรเลี้ยงผักสลัด ใน เอกสารประกอบการอบรม เรื่องการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินแบบครบวงจร จัดโดย คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อุณหภูมิ
ปุ๋ยหรือธาตุอาหาร
▪ ช่วงทาใบ: ต้องการธาตุไนโตรเจน (N)
มาก เพื่อนาไปสร้างลาต้นและใบ
▪ ช่วงสร้างดอก: ต้องการฟอสฟอรัส (P)
และโพแทสเซียม (K) มาก
▪ ธาตุอาหารรองต่าง ๆ เพื่อความสมบูรณ์
ในการผลิตอาหารในส่วนต่าง ๆ ของพืช
แคลเซียมไนเตรท 1,100 g.
โพแทสเซียมไนเตรท 600 g.
แมกนิเซียมซัลเฟต 500 g.
โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต 300 g.
เหล็ก EDDHA 300 g.
เหล็ก DTPA 30 g.
นิก-สเปรย์ 50 g.
แมงกานีสคีเลท 10 g.
นิกเกิลซัลเฟต 0.5 g.
แอมโมเนียมโมลิปเดท 1 g.
ปุ๋ยหรือธาตุอาหาร
สูตรปุ๋ยหรือธาตุอาหาร
28
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
น้า EC และ pH ของสารละลายธาตุอาหาร
▪ pH ของน้าที่เหมาะสมอ: 5.5-6.5
▪ EC ของน้าที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 0.3 mS (mMho)
▪ โซเดียมต่ากว่า 50 ppm.ปริมาณก๊าซ CO2 ที่
เหมาะสม 800-2,000 ppm
▪ ค่า EC ควรอยู่ระหว่าง 1.0-2.0
วัสดุปลูก
▪ ลักษณะร่วน ระบายน้าดี
▪ วัสดุปลูกผสม หรือใขุยมะพร้าว
▪ ขุยมะพร้าวต้องปรับสภาพแล้ว
▪ ไม่มีเชื้อโรค แมลง หรือโลหะหนัก
ปนเปื้อน
29
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบปลูกกัญชาแบ่งตามรูปแบบการปลูกได้ 2 ระบบ
แบ่งตามสภาพแวดล้อมการปลูก แบ่งตามชิ้นส่วนที่นามาใช้ปลูกเริ่มแรก
การปลูกโดยใช้เมล็ด
การปลูกโดยส่วนขยาย
พันธุ์ทางลาต้น
การปลูกลงแปลง
การปลูกในโรงเรือนกึ่งควบคุม
การปลูกในโรงเรือนปิดควบคุม
5. ระบบการปลูกกัญชา
30
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบปลูกตามสภาพแวดล้อม
1. การปลูกลงแปลง (outdoor planting)
▪ ปลูกลงแปลงในพื้นที่ขนาดใหญ่
▪ ลงทุนที่ไม่สูง
▪ ไม่สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมได้
▪ ใช้สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช และต้องตรวจสอบ
ปริมาณสารเคมีและโลหะหนักที่ตกค้างก่อนนาไปใช้
ประโยชน์ทางการแพทย์
▪ หากปลูกพันธุ์ที่ตอบสนองต่อช่วงแสงจะปลูกได้
เพียงปีละ 1-2 ครั้ง
31
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบปลูกตามสภาพแวดล้อม
2. การปลูกในโรงเรือนกึ่งควบคุม
(semi-controlled greenhouse)
▪ สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมเพื่อลดการระบาดของ
โรคและแมลงได้
▪ ปลูกในดินหรือวัสดุปลูก
▪ ควบคุมการให้น้าและธาตุอาหาร
▪ ได้กัญชาที่มีคุณภาพเหมาะสมสาหรับนาไปใช้ประโยชน์
ทางการแพทย์
▪ ไม่มีการควบคุมแสง หากปลูกพันธุ์ที่ตอบสนองต่อช่วง
แสงจะปลูกได้เพียงปีละ 1-2 ครั้ง
32
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบปลูกตามสภาพแวดล้อม
3. การปลูกในโรงเรือนปิดควบคุมควบคุม
(fully-controlled greenhouse หรือ plant factory)
▪ ปลูกภายใต้สภาพควบคุม แสง อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณธาตุ
อาหาร และน้า
▪ จัดการโรคและแมลงได้ดี
▪ ลดการใช้สารเคมี
▪ ได้กัญชาที่มีคุณภาพเหมาะสมทางการแพทย์
▪ มีการควบคุมแสง
▪ ปลูก 3–4 ครั้งต่อปี
▪ มีการลงทุนสูง ระบบการควบคุมสภาพแวดล้อมต้องแม่นยา
33
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบปลูกตามชิ้นส่วนที่นามาใช้ปลูกเริ่มแรก
▪ ใช้เมล็ดพันธุ์พื้นเมือง หรือพันธุ์ปรับปรุง
▪ เมล็ดพันธุ์ปรับปรุงสามารถเลือกได้ว่าจะ
เป็นเมล็ดแบบปกติ (regular seeds) ที่
เมื่อปลูกแล้วจะมีทั้งต้นเพศผู้และเพศเมีย
(ต้องคัดต้นเพศผู้ทิ้งภายหลัง) หรือเมล็ด
พันธุ์เมื่อปลูกแล้วที่มีเฉพาะต้นเพศเมีย
(feminized seeds)
1. การปลูกโดยใช้เมล็ด 2. การปลูกโดยส่วนขยายพันทางลาต้น
▪ ตัดยอดมาปักชา (cutting หรือ cloning)
▪ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (tissue culture)
▪ ใช้ยอดจากกิ่งต้นแม่ (mother plants)
มาปักชา หรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
▪ ต้นใหม่ที่ได้มีพันธุกรรมเหมือนต้นแม่
34
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
6. ตัวอย่างสายพันธุ์กัญชา
• ใบ 7 แฉก
• นามาใช้ประโยชน์ทางแพทย์แผนไทย
: เก็บใบที่ไม่แก่หรืออ่อนเกินไปในช่วง
เช้ามาเข้าตาหรับยาแผนไทย
พันธุ์หางกระรอก
: ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์พื้นเมืองที่มีการลักลอบปลูก
สายพันธุ์กัญชาในประเทศไทย
35
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สายพันธุ์กัญชาในต่างประเทศ
ในต่างประเทศ: มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ มีการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์กัญชาให้มีคุณสมบัติที่หลากหลายและมีความบริสุทธิ์ของสายพันธุ์
▪ C. sativa x C. indica
▪ มีพันธุกรรมของ C. sativa : C. indica
ร้อยละ 60 : 40
▪ chemotypeแบบ
CBD (2.0%) < THC (20.0%)
▪ THC dominance
▪ C. sativa x C. indica
▪ มีพันธุกรรมของ C. sativa : C.
indica ร้อยละ 30 : 70
▪ มี chemotype แบบ
CBD (0.1%) < THC (25.0%)
▪ THC dominance
▪ C. sativa x C. indica
▪ มีพันธุกรรมของ C. sativa : C.
indica ร้อยละ 30 : 70
▪ มี chemotype แบบ
CBD (8%) = THC (8%)
▪ balance THC/CBD
▪ C. sativa x C. indica
▪ มีพันธุกรรมของ C. sativa : C. indica
ร้อยละ 40 : 60
▪ chemotype แบบ
CBD (1.0%) < THC (26.0%)
▪ THC dominance
พันธุ์ Blue Dream พันธุ์ Grill Scout Cookies พันธุ์ Strawberry Banana พันธุ์ Sweet & Sour Window
36
รองศาสตราจารย์ ดร.ธานี ศรีวงศ์ชัย
ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การปลูกกัญชา
KU

More Related Content

Similar to ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปลูกกัญชา-1.pdf

สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยreemary
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)Pim Jazz
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...bmmg1
 

Similar to ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปลูกกัญชา-1.pdf (19)

สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
File
FileFile
File
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 

More from tachet

fgi_presentation_mishe_ec_2019_12_13.pdf
fgi_presentation_mishe_ec_2019_12_13.pdffgi_presentation_mishe_ec_2019_12_13.pdf
fgi_presentation_mishe_ec_2019_12_13.pdftachet
 
2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdftachet
 
151217_042853.pdf
151217_042853.pdf151217_042853.pdf
151217_042853.pdftachet
 
14.PDF
14.PDF14.PDF
14.PDFtachet
 
151217_042853.pdf
151217_042853.pdf151217_042853.pdf
151217_042853.pdftachet
 
2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdftachet
 
FluorCam_Operation_Manual_2.1.pdf
FluorCam_Operation_Manual_2.1.pdfFluorCam_Operation_Manual_2.1.pdf
FluorCam_Operation_Manual_2.1.pdftachet
 
2021_02_RS_PT.pdf
2021_02_RS_PT.pdf2021_02_RS_PT.pdf
2021_02_RS_PT.pdftachet
 
Poster_Vienna_barley.pdf
Poster_Vienna_barley.pdfPoster_Vienna_barley.pdf
Poster_Vienna_barley.pdftachet
 
PS_Roundup_2015_EPPN.pdf
PS_Roundup_2015_EPPN.pdfPS_Roundup_2015_EPPN.pdf
PS_Roundup_2015_EPPN.pdftachet
 
PS_Progressive drought stress analysis_2014.pdf
PS_Progressive drought stress analysis_2014.pdfPS_Progressive drought stress analysis_2014.pdf
PS_Progressive drought stress analysis_2014.pdftachet
 
PS_Salinity_COST_2016.pdf
PS_Salinity_COST_2016.pdfPS_Salinity_COST_2016.pdf
PS_Salinity_COST_2016.pdftachet
 
PS_phenodays_2012.pdf
PS_phenodays_2012.pdfPS_phenodays_2012.pdf
PS_phenodays_2012.pdftachet
 
Poster tomato IPAP 2018.pdf
Poster tomato IPAP 2018.pdfPoster tomato IPAP 2018.pdf
Poster tomato IPAP 2018.pdftachet
 
Poster lettuce IPAP 2018.pdf
Poster lettuce IPAP 2018.pdfPoster lettuce IPAP 2018.pdf
Poster lettuce IPAP 2018.pdftachet
 
PlantScreen™ Modular Systems | QubitPhenomics.com.pdf
PlantScreen™ Modular Systems | QubitPhenomics.com.pdfPlantScreen™ Modular Systems | QubitPhenomics.com.pdf
PlantScreen™ Modular Systems | QubitPhenomics.com.pdftachet
 

More from tachet (16)

fgi_presentation_mishe_ec_2019_12_13.pdf
fgi_presentation_mishe_ec_2019_12_13.pdffgi_presentation_mishe_ec_2019_12_13.pdf
fgi_presentation_mishe_ec_2019_12_13.pdf
 
2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf
 
151217_042853.pdf
151217_042853.pdf151217_042853.pdf
151217_042853.pdf
 
14.PDF
14.PDF14.PDF
14.PDF
 
151217_042853.pdf
151217_042853.pdf151217_042853.pdf
151217_042853.pdf
 
2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf2016-11-16--159.pdf
2016-11-16--159.pdf
 
FluorCam_Operation_Manual_2.1.pdf
FluorCam_Operation_Manual_2.1.pdfFluorCam_Operation_Manual_2.1.pdf
FluorCam_Operation_Manual_2.1.pdf
 
2021_02_RS_PT.pdf
2021_02_RS_PT.pdf2021_02_RS_PT.pdf
2021_02_RS_PT.pdf
 
Poster_Vienna_barley.pdf
Poster_Vienna_barley.pdfPoster_Vienna_barley.pdf
Poster_Vienna_barley.pdf
 
PS_Roundup_2015_EPPN.pdf
PS_Roundup_2015_EPPN.pdfPS_Roundup_2015_EPPN.pdf
PS_Roundup_2015_EPPN.pdf
 
PS_Progressive drought stress analysis_2014.pdf
PS_Progressive drought stress analysis_2014.pdfPS_Progressive drought stress analysis_2014.pdf
PS_Progressive drought stress analysis_2014.pdf
 
PS_Salinity_COST_2016.pdf
PS_Salinity_COST_2016.pdfPS_Salinity_COST_2016.pdf
PS_Salinity_COST_2016.pdf
 
PS_phenodays_2012.pdf
PS_phenodays_2012.pdfPS_phenodays_2012.pdf
PS_phenodays_2012.pdf
 
Poster tomato IPAP 2018.pdf
Poster tomato IPAP 2018.pdfPoster tomato IPAP 2018.pdf
Poster tomato IPAP 2018.pdf
 
Poster lettuce IPAP 2018.pdf
Poster lettuce IPAP 2018.pdfPoster lettuce IPAP 2018.pdf
Poster lettuce IPAP 2018.pdf
 
PlantScreen™ Modular Systems | QubitPhenomics.com.pdf
PlantScreen™ Modular Systems | QubitPhenomics.com.pdfPlantScreen™ Modular Systems | QubitPhenomics.com.pdf
PlantScreen™ Modular Systems | QubitPhenomics.com.pdf
 

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปลูกกัญชา-1.pdf