SlideShare a Scribd company logo
ž
ž
ž
ž ความหลากหลายของระบบชีวภาพ การอนุรักษ์ และนโยบายการจัดการ
(Biodiversity conservation and policy of management)
รหัสวิชา 2553335
ž
ž เอกสารประกอบการเรียน
ž
ž ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
Supwat papassarakan
ž
ž
ความหลากหลายของระบบชีวภาพ การอนุรักษ์ และนโยบายการจัดการ
(Biodiversity conservation and policy of management)
รหัสวิชา 2553335
Supwat papassarakan
ความหลากหลายของระบบชีวภาพ การอนุรักษ์ และนโยบายการจัดการ
จุดมุ่งหมาย
• ให้เกิดความเข้าใจต่อแนวคิดของความหลากหลายทางชีวภาพ
• ให้เกิดความเข้าใจต่อระบบนิเวศน์
• ให้เกิดความเข้าใจถึงความหลากหลายในระบบนิเวศน์ทั้งในท้องถิ่นที่เป็นเมืองและชนบท
• ให้เกิดความเข้าใจต่อความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพต่อระบบนิเวศน์
• เข้าใจต่อความสาคัญต่างๆของความหลากหลายทางชีวภาพต่อการดาเนินชีวิต
• ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพต่อเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนและท้องถิ่น
• การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพต่อการดาเนินชีวิตภายในท้องถิ่นและชุมชน
• การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นและชุมชนโดยนาความหลากหลายทางชีวภาพ
มาใช้ให้เกิดประโยชน์
• การเชื่อมโยงสู่แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ความหลากหลายทางชีวภาพและนิยาม (Biodiversity Definition and conceptX
คาว่า ความหลากหลาย (Diversity) ใช้อธิบายความแตกต่าง ของธรรมชาติ ในค.ศ. 1980s ความ
หลากหลายในช่วงนี้ หลักๆคือการทาความเข้าใจต่อ ความหลากหลายของสายพันธ์ต่างๆ
วิทเทรคเกอร์ (Whittactker, evolution and Measurement of species diversity, 1972) ให้
ความหมายถึงความแตกต่างของสายพันธ์ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ
ความแตกต่างของสายพันธ์ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆตามแนวคิดของวิทเทรคเกอร์
• อัลฟา(Alpha diversity) เป็นความหลากหลายภายในสายพันธ์ ซึ่งใช้กับการจาแนกชนิดในสาย
พันธ์เดียวกันที่มีอยู่ภายในถิ่นที่อยู่(Habitat) อาจมีมากกว่า 1 ชนิด(Species Richness)
• เบลต้า(Beta Diversity) เป็นการอธิบายความหลากหลายของสายพันธ์ระหว่างถิ่นที่อยู่ที่ต่างกัน
(Between Habitat diversity)
• แกมม่า(Gamma Diversity) อธิบายความหลากหลายของสายพันธ์ทั้งหมด ที่อยู่ในพื้นที่ที่เป็น
แผ่นดินของภูมิภาคต่างๆของโลก
ในปี 1980-1985เป็นต้นมา นิยามของความหลากหลายทางชีวภาพไม่ได้จากัดอยู่ในเพียงนิยามที่ใช้ใน
ความหลากหลายของสายพันธ์ในลักษณะเดิมแต่ขยายขอบเขตให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
• หมายถึง ความแตกต่างหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดจากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น สิ่งมีชีวิตที่
อยู่บนพื้นดิน ใต้ดิน ในน้า บนต้นไม้ ในอากาศ (Terresteial)
• หมายถึง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในทะเล ไม่ว่าจะเป็นสัตว์และพืชทั้งที่เคลื่อนที่เองได้
และไม่สามารถเคลื่อนที่เองได้ (Marine)
• หมายถึง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยและเติบโตใกล้น้า บนผิวน้า ในน้าไม่ว่าจะเป็น
แม่น้า หรือทะเล (Aquatic)
• Biodiversity Definition and concept
โดยสรุป ความหลากหลายทางชีวภาพ จึงสามารถอธิบายในขอบเขตที่กว้างขวางกว่าเดิม รวมไปถึง
การอธิบาย ถึงยีนส์(Genes) สายพันธ์ (Species) และ ชุมชนหรือกลุ่มของสายพันธ์(Communities)
ตลอดจน หมายรวมถึงระบบนิเวศน์ด้วย(Ecosystems)
ศัพท์ที่ควรเข้าใจ
• Species Richness หมายถึง สายพันธ์ ที่มีความแตกต่างหลากหลาย
• Communities Richness หมายถึง ชุมชนหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่หลากหลายอาศัยร่วมกัน ใน
ถิ่นที่อยู่เดียวกัน
• Habitat หมายถึง ถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตอาจเป็นถิ่นที่อยู่เดียวกันหรือต่างถิ่นที่อยู่
แผนภาพที่ 1 ชีวภาพของสายพันธ์ที่อาศัยอยู่ในน้าและทั้งบนผิวน้าและในน้า
ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic Diversity)
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คือ จานวนข้อมูลของพันธุกรรมที่มีอยู่ในยีนส์ของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสามารถจาแนกตามระบบลาดับชั้นในแนวดิ่ง(Hierarchical System)
การจัดกลุ่มของสิ่งมีชีวิต หลักๆได้แก่
• การแบ่งตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นเช่น สัตว์ พืช (Kingdom) หรือเรียกว่าอาณาจักร
การแบ่งลักษณะนี้ จะแตกต่างกันตามลักษณะของแต่ละภูมิภาค ในอเมริกาจะแบ่งเป็น 6 กลุ่ม คือ
– สัตว์ (animal)
– พืช (Plantae)
– สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์ๆเดียว (Fungi) บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม เช่น
เห็ด รา ยีสต์ เป็นต้น
– โปรทีสต้า(Protista) เช่น พาราซิสต์ พยาธิ์ ใส้เดือน ต่างๆ
– สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก (Archaea) เบคเตเรียขนาดเล็ก อาจเรียกว่า จุลลินทรีย์
– สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าบัคเตเรีย (Bactaria) เชื้อ เบคเตเรีย
ในยุโรปและลาตินอเมริกาจะมีความแตกต่างต่างจากในอเมริกา
แผนภาพที่ 2 ความหลากหลายทางพันธุกรรม
การแบ่งตามกลุ่มย่อยๆลงมาเมีขนาดเล็กกว่า Kingdom แต่ใหญ่กว่า ระดับชั้น (Class) คือการแบ่ง
ตาม ไฟลั่ม (Phylum) เป็นการแบ่งตามลักษณะย่อยของพืชและสัตว์
Phylum Meaning
Common
name
Distinguishing
characteristics
Chytridiomycota
Little pot
mushroom
Chytrids
Cellulose in cell walls,
flagellated gametes
Deuteromycota
Second
mushroom
Imperfect
fungi
Unclassified fungi; only
asexual reproduction
observed no other
major distinguishments
Zygomycota
Yolk
mushroom
Zygomycetes
Blend gametangia to
form a zygosporangium
Glomeromycota
Ball
mushroom
None
Form arbuscular
mycorrhizae with plants
Ascomycota
Bag/Wineskin
Mushroom
Sac fungi
Produce spores in an
'ascus'which is a kind of
fruiting bud
Basidiomycota
Basidium
Mushroom
Club Fungi
Produce spores from a
'basidium' which is a
kind of fruiting bud
Total: 6
ตารางที่ 1 การแบ่งตาม ไฟลั่ม (Phylum)
ž
ž
ž แผนภาพที่ 3 การแบ่งตามไฟลั่มสัตว์ประเภทไม่มีกระดูกสันหลัง
การแบ่งระดับชั้น เพื่อการจาแนก (Class) ความสาคัญของพืชและสัตว์ การแบ่งลักษณะนี้ยังไม่มีข้อสรุปที่
แน่ชัดนัก
ž Name
ž Meaning
of prefix
ž Example 1 ž Example 2 ž Example 3[1]
ž Superclass
ž (ชั้นบนสุด)
ž super: above ž Tetrapoda ž ž
ž Class
รองลงมา
ž ž Mammalia ž Maxillopoda ž Sauropsida
ž Subclass ใต้ ž sub: under ž ž Thecostraca ž Avialae
ž Infraclass
ต่าสุด
ž infra: below ž ž Cirripedia ž Aves
ž Parvclass
ž ไม่มี
ความสาคัญ
ž parvus: small, ž ž ž Neornithes
ตารางที่ 2 การแบ่งระดับชั้น เพื่อการจาแนก (Class)
ž Name
ž Meaning
of prefix
ž Example 1 ž Example 2
ž Magnorder
อันดับ/ตระกูล
สาคัญ
ž magnus: large,
great, important
ž Boreoeutheria
ž
ž Superorder
อันดับ/ตระกูล
เหนือขึ้นไป
ž super: above ž Euarchontoglires ž Parareptilia
ž Grandorder
อันดับ/ตระกูล
ใหญ่ มีมาก
ž grand: large ž Euarchonta
ž
ž Mirorderตระกูล
ที่จัดในประเภท
แปลกประหลาด
ž mirus:
wonderful,
strange
ž Primatomorpha
ž
ž Order ตระกูลที่มี
ลักษณะธรรมดาๆ
ž ž Primates ž Procolophonomorpha
ž Suborderตระกุล
ที่อยู่ใต้สุด
ž sub: under ž Haplorrhini ž Procolophonia
ž Infraorder
ตระกูลต่า
ž infra: below ž Simiiformes ž Hallucicrania
ž Parvorder
ตระกูลที่ไม่มี
ความสาคัญ
ขนาดเล็กมาก
ž parvus: small,
unimportant
ž Catarrhini
ž
ตารางที่ 3 การแบ่งตาม Order หรืออันดับ หรือตระกูล อยู่ระหว่าง Class และ Family
การแบ่งตามวงศ์ หรือ Family เป็นลาดับขั้นสูงที่เล็กที่สุด มีการแบ่งเฉพาะเจาะจงในรายละเอียดเพิ่ม
มากขึ้นช่น วงศ์ทานตะวัน (Compositae) มีช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น (head/ capitulum) ส่วนในวงศ์
ผักชี (Umbelliferae) มีช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม (umbel) และผลแยกแล้วแตก (schizocarp) และ วงศ์
ก่วม (Aceraceae) มีผลแยกแล้วแตกและมีปีก (winged schizocarp) แต่ใน วงศ์กุหลาบ (Rosaceae) มีผล
แตกต่างไปตามวงศ์ย่อย
การแบ่งตาม Genus หรือสกุล เป็นการจัดกลุ่มเอา สิ่งมีชีวิตสปีชีส์ที่มีลักษณะใกล้เคียงเข้ามารวมกัน
ใน การตั้งชื่อแบบทวินาม ชื่อสิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นจากสองส่วน คือ สกุล ซึ่งต้องขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และ
สปีชีส์ ตัวอย่างหนึ่งคือ Homo sapiens เป็นชื่อเรียกมนุษย์ อยู่ในสกุล Homo
การแบ่งตามสายพันธ์หรือหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิต (species)
จุดประสงค์ในการแบ่งลักษณะดังกล่าว เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจต่อความหลากหลายทางพันธุกรรม ซึ่งมี
ความสาคัญต่อการจัดจาแนกกลุ่มของสายพันธ์
โดยปกติ จะมีการสืบพันธ์ภายในสายพันธ์เดียวกัน อย่างไรก็ตาม การสืบพันธ์แบบข้ามสายพันธ์หรือสาย
พันธ์ที่แตกต่างกันโดยส่วนใหญ่มนุษย์จะเป็นผู้กระทา สิ่งนี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะโครงสร้างของ
สายพันธ์
ประชากร คือ กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มาจากสายพันธ์เดียวกัน อยู่ร่วมกันอาจจะมีตั้งแต่จานวนประชากร
จานวนน้อยหรือมากเป็นล้านๆประชากรก็ได้
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คือ ผลที่เกิดจาก ขนาดและลักษณะพลวัตรของประชากร การเปลี่ยน
แปลงพันธุกรรมอาจเป็นสาเหตุของการสูญเสีย หรือมีผลต่อจานวนประชากรในทางลบ เช่นประชากรลดลง
หรือมีขนาดเล็กลง มีการดารงชีวิตที่ โดดเดี่ยวมากขึ้น
ความหลากหลายทางสายพันธ์ (Species Diversity)
สายพันธ์ เป็นการพิจารณาลักษณะภายในประชากรของสิ่งมีชีวิต ซึ่งปรากฏยีนส์ตามลักษณะ
พันธุกรรมตามเงื่อนไขธรรมชาติ
การกาเนิดของสายพันธ์ใหม่อาจเกิดขึ้นได้จาก
• ผ่านกระบวนการทางพันธุกรรม (Polyploidy)ซึ่งเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนจากชุดของโครโมโซม
พื้นฐาน เรียกกันว่า การแปลงพันธุกรรม ส่วนใหญ่จะกระทาในพืช เรียกกันทั่วไปว่า จีโนม
(Gnome) ซึ่งกระทาโดยมนุษย์
• เป็นผลมาจากสภาพภูมิศาสตร์ ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทาให้เกิดการปรับตัว
ของสิ่งมีชีวิต และเกิดจัดรูปแบบของสายพันธ์ขึ้นใหม่เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
เราไม่สามารถทราบจานวนที่แท้จริงของสายพันธ์ทั้งหมดในโลก ประมาณการได้ว่า สายพันธ์ทั้งหมด
อยู่ระหว่าง 5-50 mio (miocene หมายถึง ของหน่วยระยะเวลาหรือยุคของการพัฒนาการของสายพันธ์)
ปัจจุบัน จานวนสายพันธ์ที่สามารถประมาณได้จานวน 1.4 mio สายพันธ์ จะแบ่งเป็น
- สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (arthropods) 875,000 สายพันธ์
- พืชไม้ดอก (Flowering Plants) 275,000 สายพันธ์
สายพันธ์ที่เป็นที่รู้จักมากกว่าสายพันธ์อื่นๆ ได้แก่ พืชผักและพืชไม้ดอก แมลง จากงานวิจัย พบแมลง
จานวน 800,000 ชนิดอย่างไรก็ตามจานวนแมลงดังกล่าวประมาณการไดว่าอยู่ในช่วง 2-3 mio
ถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นที่รู้จักมากกว่าถิ่นที่อยู่อื่นๆได้แก่ ถิ่นที่อยู่นอกเขตร้อน จะเป็นถิ่นที่อยู่ที
รู้จักมากกว่าถิ่นที่อยู่เขตร้อน
ถิ่นที่อยู่ที่ไม่เป็นที่รู้จักกันดีเช่น ถิ่นที่อยู่ในเขตร้อนบริเวณชั้นหินและทรายใกล้ทะเลและบริเวณใต้
มหาสมุทรที่ลึกที่สุด
ชุมชนหรือความหลากหลายของระบบนิเวศน์ (Community or Ecosystem Diversity)
ชุมชนหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิตทางชีวภาพ(Biological Community) คือกลุ่มของสายพันธ์ต่างๆที่อยู่
ร่วมกันในถิ่นที่อยู่และมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน
ระบบนิเวศน์(Ecosystem) คือชุมชนหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยุ่ร่วมกัน เป็นสมาคมภายใน
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ในแต่ละถิ่นที่อยู่ จะถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน ระบบต่างๆจะเป็นกลุ่มก้อนและเป็น
อิสระจากกัน และจะทาหน้าที่ของตนเอง เกี่ยวข้องกับการนาเข้าทรัยากรและการสร้างผลผลิต เช่น หน้าที่
หลักของพืชสีเขียวคือ ผลผลิตสู่ระบบนิเวศน์ ในขณะเดียวกันจะมีผู้บริโภคผลผลิตนั้น เบคตีเรียจะมีหน้าที่ใน
การย่อยสลายเป็นต้น
วิถีการดารงอยู่ของสิ่งมีชีวิต(Niche) ลักษณะเฉพาะของทรัพยากรซึ่งสิ่งมีชีวิตใช้ประโยชน์ในชุมชนฃ
องสิ่งมีชีวิตนั้น เป็นบทบาทหน้าที่ ที่มีอยู่ของสายพันธ์ต่างๆเพื่อการดารงชีวิตอยู่
ž แผนภาพที่ 4 ระบบนิเวศน์เพื่อการดารงชีวิต(Niche)
พลวัตรของระบบนิเวศน์ (Succession)
เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบหรือผลผลิตในสายพันธ์ต่างๆ การเปลี่ยนแปล
โครงสร้างของชุมชน ลักษณะทางกายภาพ ซึ่งจะปรากฏให้เห็นตามลักษณะทางธรรมชาติ หรือเหตุอัน
เนื่องมาจากการกระทาหรือละเว้นการกระทาของมนุษย์ ต่อกลุ่มหรือชุมชนของสายพันธ์ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ
ž
ž แผนภาพที่ 5 พลวัตรของระบบนิเวศน์(Succession)
ž
ž
แผนภาพที่ 6 พลวัตรของระบบนิเวศน์ จากการทาลายตามธรรมชาติและน้ามือมนุษย์(Succession)
แผนภาพที่ 7 ระยะเวลาของพลวัตรของระบบนิเวศน์ (Succession)
แนวคิดของพลวัตรของระบบนิเวศน์(Concept of Succession)
ความหลากหลายของระบบนิเวศน์สามารถอธิบายในระดับและขนาดที่แตกต่างกัน ได้แก่
ความหลากหลายของหน้าที่ (Functional Diversity); สัมพันธ์กับความสภาวะของการทาหน้าที่
ประเภทต่างๆของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของกลุ่ม (Community Diversity); จานวน ขนาดและการกระจายตัวในเชิงปริภูมิ
ของกลุ่มหรือชุมชน (บางครั้งเรียกว่าPatchiness; หมายถึงการที่ชุมชนของสิ่งมีชีวิต กระจายตัวเป็นหย่อมๆ
และมีการเปลี่ยนแปลงทางพลวัตรของประชากรในรอบปี)
ความหลากหลายของพื้นที่(Landscape Diversity) คือความหลากหลายของระบบนิเวศน์ในพื้นที่
(บางครั้งเรียกว่า ความหลากหลายเชิงภูมิศาสตร์)
ความหลากหลายของระบบนิเวศน์(Ecosystem diversity) คือ
ลักษณะที่เกิดจากปัจจัยทางชีวภาพ {เช่น การหาอาหาร หรือการล่าเยื่อ(Predatoion), การแข่งขัน
(Competition), การเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน (Symbiosis)}
ลักษณะของสภาพแวดล้อม เช่น ความซับซ้อน (complexity), ความสามารถในรองรับกลุ่มของ
สิ่งมีชีวิต-การเจริญเติบโตหรือการทนต่อเปลี่ยนแปลงในระดับใดระดับ โดยสิ่งแวดล้อมยังสามารถคงอยู่หรือ
ดาเนินอยู่ได้อย่างปกติและปราศจากผลกระทบ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือความเสี่ยงต่อสวัสดิภาพ สุขภาพ
พลานามัย สิ่งแวดล้อมและองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมนั้น (Carrying Capacity), ข้อจากัดของทรัพยากร
และ การกระทาของมนุษย์}
Populations must not exceed the carrying capacity of their environments!!!
If the carrying capacity of the environment is exceeded, organisms die and the
environment may be permanently destroyed.
แผนภาพที่ 8 ความสมดุลของระบบนิเวศน์
ความหลากหลายของระบบนิเวศน์ เป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่อง จากสาเหตุดัว
ต่อไปนี้
การผสมผสานของสายพันธ์ที่ก่อให้เกิดชุมชนและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์อย่างต่อเนื่อง
การเพิ่มสายพันธ์ที่หลากหลายมีผลให้เกิดระบบนิเวศน์ที่แตกต่างกัน หรือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ของประชากรที่เพิ่มขึ้น (Patchiness) หรือการเพิ่มขึ้นของถิ่นที่อยู่ (habitat)
อิทธิของพลวัตรด้านถิ่นที่อยู่(Habitat Patchiness) ไม่เพียงมีผลต่อองค์ประกอบหรือส่วนต่างๆของ
สายพันธ์ในระบบนิเวศน์เท่านั้น แต่ยังมีผลต่อการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสายพันธ์ด้วย
การรบกวนที่ทาให้เกิดผลกระทบเป็นระยะๆ(Periodic Disturbances)มีผลต่อการเพิ่มสภาพแวดล้อม
เป็นหย่อมๆซึ่งกระตุ้นให้ประชากรของสายพันธ์ต่างๆเพิ่มขึ้น
Geomorphology and oceanography creating habitat patchiness and limiting long
dispersal, as well as past and ongoing human impact.
แผนภาพที่ 9 ความหลากหลายของระบบนิเวศน์
แผนภาพที่ 10 ถิ่นที่ที่หลากหลาย (Habitat Patcheness)
แผนภาพที่ 11 การทาลายระบบนิเวศน์ (Periodic Disturbances and disturbances in ecosystem
ขนาดและการแบ่งแยกของถิ่นที่อยู่เป็นหย่อมๆ(Size and Isolation) มีอิทธิพลต่อการเพิ่มประชากร
ของสายพันธ์ ขอบเขตของอาณาเขตที่มีการเชื่อมต่อ (Ecotone) มีอิทธิพลต่อการความอุดมสมบูรณ์ของสาย
พันธ์ การเอื้อต่อสายพันธ์ดังกล่าวจะไม่ปรากฏในถิ่นที่อยู่ที่มีพื้นที่ ต่อเนื่อง ในพื้นที่ ที่แบ่งตามโซนอุณหภูมิ
หรือพื้นที่ที่เป็นทุ่งหญ้าหรือป่าเตี้ยๆหรือป่าละเมาะ มักจะมีสายพันธ์มากกว่าถิ่นที่อยู่ที่มีพื้นที่ต่อเนื่อง
แผนภาพที่ 12 เขตเชื่อมต่อขอบชายป่าที่ประกอบด้วยทุ่งหญ้าและไม้เตี้ยๆ (Transition Zones ;Ecotones)
สายพันธ์บางสายพันธ์ มีอิทธิพลอย่างไม่เป็นสัดส่วนต่อลักษณะของระบบนิเวศน์สายพันธ์เหล่านี้
เรียกว่า Ketstone Species อันเป็นสายพันธ์ที่มีความสามารถกาหนดจานวนประชากร หรือรักษาโครงสร้าง
ของประชากรของสายพันธ์ที่มีจานวนมากได้ เช่น สายพันธ์แมลง (Pollinators, สัตว์ที่แพร่กระจายเมล็ดและ
เมล็ดพืชที่สามารถแพร่กระจาย (Seed dispresers) และสัตว์กินเนื้อ (Predators)
Ketstone Species จะมีอิทธิพลต่อสภาวะแวดล้อมที่อาศัยอยู่อย่างมาก ถึงแม้ว่าบางครั้งจานวน
ประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นอาจจะต่าก็ตาม หากสิ่งมีชีวิตคีย์สโตนหายไปจากระบบนิเวศหนึ่งๆ ระบบ
นิเวศนั้นจะเสียสมดุลและพังทลายลง
แผนภาพที่ 13 สายพันธ์ที่มีสาคัญต่อระบบนิเวศน์ (Ketstone Species)
มาตรวัดความหลากหลายของยีนส์และสายพันธ์
มาตรวัดความหลากหลายของยีสน์ ได้จาก
• ความหลากหลายของโครงสร้าง ของสัตว์และพืช(Morphological or Physiological traits)
• ความหลากหลายของรูปแบบยีนส์(Allilic Diversity) วัดจาก ความแปรปรวนของยีนส์ที่คล้ายกัน,
• ข้อมูลจากการวิเคราะห์โปรตีน, จานวนของยีนส์ที่มีมากเรียกว่า ความหลากหลายของยีนส์
มาตรวัดความหลากหลายของสายพันธ์
• ระดับ จานวนที่พบในชุมชน
• แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม
• มาตรวัดความหลากหลายของสายพันธ์ 3 กลุ่ม
ตัวชี้วัดความมากชนิดของสายพันธ์ ; หน่วยตัวอย่างของจานวนของสายพันธ์จากการสุ่ม
• ตัวเลขจานวนความมากชนิดของสายพันธ์(Species Richness)
• จานวนของสายพันธ์ทั้งหมดต่อจานวนของแต่ละตัว
• ความหนาแน่นของสายพันธ์เช่น จานวนของสายพันธ์ต่อพื้นที่ที่สุ่ม
•
ตัวแบบความชุกชุมของสายพันธ์ (Species Abundance Models)
• ใช้อธิบายการกระจายตัวของสายพันธ์ที่ชุกชุม และวัดอย่างเท่าเทียมกัน เส้นตรง
ตัวชี้วัดความหลากหลายของสายพันธ์
• ใช้แบ่งความมากชนิดของสายพันธ์และวัดอย่างเท่าเทียมเป็นเส้นตรง
○ ชานนอน-ไวน์เนอร์ อินเด็กซ์ (Shannon-Wiener Index)
○ ซิมสันอินเด็กซ์ (Simpsom Index) เป็นตัวชี้วัดที่ยากมาก เนื่องจากหน่วยของความ
หลากหลายเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกัน
• รูปแบบของถิ่นที่อยู่ในชุมชนนั้นๆ
• รูปแบบของชุมชนบนพื้นดิน
• โครงสร้างของประชากรในช่วงเวลาหรือยุคต่างๆ
• ความเป็นพลวัตรของชิ้นส่วนต่างๆปกคลุมพื้นที่
ทั้งนี้ ได้รวมเอาวิธีการสร้างแผนที่ของถิ่นที่อยู่และชุมชน และรวมเอาการตรวจสอบจุดที่มีความ
หลากหลายทางชีวภาพสูง(Biodiversity Hotspots)
พื้นที่ Biodiversity Hotspot หมายถึงพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงกว่าจุดอื่นๆ ซึ่งส่วน
ใหญ่แล้วจะเป็นป่าฝนเขตร้อน ซึ่งกาหนดขึ้นมาเพื่อจัดความสาคัญในการอนุรักษ์ในเชิงพื้นที่ ส่วนเกณฑ์หรือ
เงื่อนไขของพื้นที่ที่จะจัดเป็น biodiversity hotspot คือ
1. ต้องเป็นพื้นที่ที่มีพืชที่มีท่อลาเลียง (vascular plant) และเป็นพืชประจาถิ่น (edemic species)
มากกว่า 1500 ชนิดขึ้นไป
2. พื้นที่นั้นต้องถูกคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat change) ไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 70% ของพื้นที่เดิม
อย่างไรก็ตามแนวคิดนี้ยังไม่สมบูรณ์ เพราะยังไม่ได้นาส่วนของทรัพยากรชีวภาพทางทะเลและชายฝั่ง
(Coastal and Marine resources) และ ความหลากหลายทางชีวภาพในมหาสมุทรมาพิจารณา เนื่องจาก
ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลนั้นยังวัดได้ยากมาก
ความหลากหลายทางชีวภาพ กับ พื้นที่และช่วงเวลา
แนวคิดความหลากหลายทางชีวภาพกับพื้นที่ที่เป็นเกาะ เป็นความสัมพันธ์ ระหว่างจานวนสายพันธ์
กับปัจจัยด้านพื้นที่ (Spatial Parameter, Wilson, 1963)
ผลกระทบของพื้นที่ (Area effect); เกาะที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ มีจานวนสายพันธ์มกกว่าเกาะที่มี
ขนาดเล็ก
ผลกระทบด้านความห่างไกล(Distance effect); เกาะที่มีที่ตั้งอยู่ใกล้ทวีปหรือเกาะอื่นๆ จะมีจานวน
สายพันธ์มากกว่าเกาะที่อยู่ห่างไกลกว่า
ความแตกต่างของจานวนสายพันธ์ระหว่างเกาะที่มีขนาดพื้นที่กว้างใหญ่และเกาะที่มีพื้นที่ขนาดเล็ก มี
ความสัมพันธ์กับอัตราการเพิ่มจานวนประชากรและการสูญพันธ์ของสายพันธ์บนเกาะทั้งสองลักษณะพื้นที่;
• การอพยพไปยังเกาะที่มีพื้นที่ว่าเปล่าจะมีอัตราสูง สายพันธ์ต่างๆจะกระจาย(Dispersal)ได้ดี และ
สามารถเข้าครอบครองพื้นที่ที่ว่างเปล่านั้นได้อย่างรวดเร็ว และเมื่อพื้นที่ต่างๆได้ถูกใช้ประโยชน์และเมื่อ
จานวนสายพันธ์เพิ่มมากขึ้น การอพยพจะลดลง
• อัตราการสูญพันธ์จะเกิดขึ้นเมื่อสายพันธ์บนพื้นที่บนเกาะเพิ่มจานวนมากขึ้นการดารงชีวิตที่มีการ
แข่งขันสูงจะทาให้สายพันธ์ต่างๆสูญพันธ์ไปในที่สุด
• อัตราการยึดครองพื้นที่(Colonization)จะมีสูงในบริเวณเกาะใกล้เคียงและใกล้แหล่งประชากร
จานวนสายพันธ์ต่างๆ ในพื้นที่ที่มีความห่างไกลน้อยจะกระจายตัวมากกว่า ในพื้นที่ที่มีความห่างไกลมาก
• อัตราการสูญพันธ์ จะต่าในพื้นที่ของเกาะที่มีบริเวณกว้าง เนื่องจากพื้นที่ที่มีความใหญ่โต
กว้างขวางจะมีความหลากหลายของระบบนิเวศน์ ขณะเดียวกัน พื้นที่ที่มีความใหญ่โตกว้างขวางจะสามารถ
รองรับจานวนประชากรที่มากได้ อีกทั้งสภาพภูมิประเทศในสภาพที่สนองตอบความต้องการของสายพันธ์ที่
ต้องการแยกกลุ่มประชากรออกไปอยู่ เพียงลาพัง นอกจากนั้นยังนาไปสู่การดารงชีวิตและกระบวนการเพิ่ม
สายพันธ์อีกด้วย
แผนภาพที่ 12 อัตราการเพิ่มขึ้นของสายพันธ์ต่ออัตราการเพิ่มของแต่ละสายพันธ์
ž
แผนภาพที่ 13 ร้อยละของสายพันธ์ในเขตชื้นแฉะที่ส่งเสริมสายพันธ์อื่นแต่ละสายพันธ์โดยพิจารณาขนาด
ž จานวนสายพันธ์
จานวนสายพันธ์จะถึงจุดสมดุลต่อเมื่อ อัตราการกระจายตัวของสายพันธ์(Colonization) เท่ากับ
อัตราการสูญพันธ์
จานวนที่มีสมดุลของสายพันธ์ในเกาะที่มีขนาดกว้างใหญ่ใกล้แผ่นดินจะมีสูงกว่าเกาะที่มีพื้นที่
ขนาดเล็กและห่างไกลจากแผ่นดิน
ถิ่นที่อยู่บนเกาะ(Habitat Island)
ตัวแบบของความสัมพันธ์ระหว่างสายพันธ์กับพื้นที่ ; มีพื้นที่ที่ขยายออกไปจากพื้นที่เกาะเพื่อ
ปกป้องพื้นที่รอบๆเกาะ แต่ไม่ได้หมายถึงการปกป้องถิ่นที่อยู่ของสายพันธ์ต่างๆ
ภายใต้ฐานคติของความสัมพันธ์นี้ คือ หากบนเกาะมีจานวนสายพันธ์ที่แน่นอน
การลดลงของพื้นที่เกาะมีผลต่อการลดจานวนลงของสายพันธ์
จะเห็นได้ว่า ความสัมพันธ์ในเชิงปริมาณของงานวิจัยด้านถิ่นที่อยู่ พบว่า 10%ของสายพันธ์ซึ่ง
ปรากฏในถิ่นที่อยู่บนเกาะจะหายไป เมื่อพื้นที่ของเกาะถูกทาลายหรือลดลง 50% และจะสูญพันธ์ไปในที่สุด
เมื่อเนื้อที่เกาะหายไปจานวน 90%
ž แนวทางตามความคิดของถิ่นที่อยู่บนเกาะ สามารถนามาประยุกต์ เพื่ออธิบายในพื้นที่เขตร้อนชื้น
( Tropical Rain Forest)
สายพันธ์มีนัยสาคัญที่จะหายไปจากเขตร้อนชื้น เมื่อป่าถูกทาลายและทาให้ถิ่นที่อยู่แตกออกเป็น
เสี่ยงเสี้ยว(Fragmentation)
หากพื้นที่ป่าในเขตร้อนร้อนชื้นของโลกถูกทาลายไปปีละเพียง 1% วิลสัน(Wilson,1989)
ประมาณการว่า สายพันธ์จะหายไป 20,000-30,000 สายพันธ์/ปี หากคาณวนจากพื้นฐาน 10 mio สายพันธ์
หากเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ พบว่า การสูญหายของสายพันธ์อยู่ที่ 2% และ 11% ต่อรอบ 10ปี
The greatest loss with the longest-lasting effects from the ongoing destruction of
wilderness will be the mass extinction of species that provide Earth with biodiversity.
Although great extinctions have occurred in the past, none has occurred as rapidly or has
been so much the result of the actions of a single species. The extinction rate of today may
be 1,000 to 10,000 times the biological normal, or background, extinction rate of 1-10
species extinctions per year.
การแพร่กระจายของความหลากหลายทางชีวภาพในโลก
ž กฎของแรบโพพอร์ท (Rappoport’s Rule, 1982) ใช้ในการแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านสภาพ
อากาศ ระดับพื้นที่ซึ่งวัดจากระดับน้าทะเลเป็นต้น );
ความชุกชุมของสายพันธ์(Species Richness) ของพืช และสัตว์จะเพิ่มขึ้นตามสภาพของระดับความ
สูงจากระดับพื้นราบ (altitudes)
ความหลากหลายทางชีวภาพที่ระดับสูงกว่าจะได้รับการเกื้อกูลจากป่าร้อนชื้นในที่ราบ
ซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุม 6-7% จากพื้นที่ทั้งหมด แต่อาจมีสายพันธ์มากกว่า 50% ของสายพันธ์ทั้งหมด
สาเหตุที่ความหลากหลายทางชีวภาพมีการแพร่กระจายไม่เท่ากัน(Uneven Distribution)
เวลา(Time); ช่วงเวลาของการวิวัฒนาการที่ยาวนาน และความรวดเร็วของการวิวัฒนาการ
ภายใต้สภาวะค่อนข้างคงที่ และสภาพเงื่อนไขที่ดีอันเป็นสาเหตุเบื้องต้นที่ทาให้เกิดความหลากหลายของสาย
พันธ์ในเขตร้อน
ž ผลิตภาพหรือผลิตผล(Productivities); บนพื้นฐานของผลผลิตในเขตร้อนที่มีสูง ทาให้เกิดความ
หลากหลายทางชีวภาพที่ กว้างขวาง
ž ฤดูกาล (Seasonality); ,ไม่มีชัดเจนมากนักว่า ฤดูกาลเป็นเงื่อนไขของความหลากหลายของสาย
พันธ์แต่มีผลที่ชัดเจนต่อการครอบครองพื้นที่ของสายพันธ์ต่างๆและวิถีการดารงชีวิต(Niches) ของสายพันธ์
ณ ระดับของพื้นที่ทู่งกว่า สายพันธ์จะมีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลได้ดีกว่า และสามารถ
ครอบครองและอาศัย(Occupying) ในถิ่นที่อยู่อย่างกว้างขวาง
ž การรบกวนหรือภาวะผิดปกติ(Disturbances) สภาวะการรบกวนหรือชงักงัน จากกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติเช่น ไฟป่า น้าท่วม ไม่ได้ทาให้สายพันธ์ต่างๆชงักงัน แต่ยังคงเกิดความหลากหลาย
ในระดับสูง
การจัดกระทาต่อความหลากหลายทางชีวภาพ(Threats to Biodiversity) การจัดกระทาต่อการสูญพันธ์
การเกิดสภาวะตึงเครียดต่อสายพันธ์ที่กาลังสูญพันธ์ ทาเกิดการสูญเสียสภาวะความหลากหลาย
ทางชีวภาพ แม้ว่า ความหลากหลายของชุมชนหรือระบบนิเวศน์ จะถูกทาลาย แต่ในระยะยาว ต้นกาเนิดสาย
พันธ์ยังคงดารงอยู่ ระบบนิเวศน์ยังมีศักยภาพในการกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ การเปลี่ยนแปลงภายในสายพันธ์ทา
ให้จานวนประชากรลดต่าลง แต่สายพันธ์สามารถเปลี่ยนแปลงกลับคืนมาได้
เมื่อสายพันธ์หนึ่งสูญพันธ์ ชุมชนอ่อนแอ สารสนเทศทางยีนส์หายไป และมีศักยภาพเชิงคุณค่าต่อ
มนุษย์ ซึ่งมนุษย์ไม่เคยสานึกในคุณค่าเหล่านี้
การสูญพันธ์ในรูปแบบต่างๆ (Types of Extinction)
การสูญพันธ์ที่เกิดขึ้นระดับโลก
เป็นการสูญพันธ์ของสายพันธ์ที่ไม่มีจานวนสายพันธ์ดารงอยู่เลยในโลกการสูญพันธ์ในระดับภูมิภาค
เป็นการสูญพันธ์ของสายพันธ์ในที่หนึ่งแต่อาจพบเห็นในอีกพื้นที่หนึ่งของภูมิภาคโลก
การสูญพันธ์ในระบบนิเวศน์
สายพันธ์สามารถอดทนและยืนหยัดอยู่ได้แต่มีจานวนลดลง ซึ่งมีผลต่อชุมชนที่เล็กมากๆในระบบ
นิเวศน์ มนุษย์เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการสูญพันธ์
1 ถึง10 ล้านปีมาแล้ว มีสายพันธ์ที่สูญหายไป และมีสายพันธ์ที่กาเนินขึ้นมาใหม่ 10 ล้านสายพันธ์
เกิดขึ้นบนโลก 1ใน10 ของสายพันธ์บนโลกสูญหายไปเพราะผลจากสภาพธรรมชาติ ส่วนหนึ่ง อัตราการสูญ
พันธ์เพิ่มมากขึ้น จากการกรทาของมนุษย์ ทุกๆ 10 ปี การสูญพันธ์ของสายพันธ์สัตว์ปีก และแมมมอส จะ
เกิดขึ้น อัตราการสูญเสีย คือ 1สายพันธ์ ใน ค.ศ. 1600 ถึง 1700 และสูญเสียสายพันธ์พืช กุหลาบ 1 สาย
พันธ์ทุกๆ 10 ปีเช่นเดียวกัน นับจากค.ศ. 1850 -1950
E.O. Willson,( 2007) ประมาณการว่า การสูญเสียสายพันธ์ ในเขตร้อนชื้นหรือป่าฝน ถึง 27000
สายพันธ์ต่อปี หรือ 74 สายพันธ์ต่อวัน และ 3 ชั่วโมง หลายๆสายพันธ์ยังคงไม่มีการสูญพันธ์แต่มีจานวนที่
ลดลง เนื่องจากการสูญเสียระบบนิเวศน์ ซึ่งในปัจจุบันเป็นสิ่งที่ชี้แสดงถึงสภาวะการสูญเสียในอนาคตอันสั้น
สภาวะความอ่อนไหวต่อการสูญพันธ์
เมื่อสภาพแวดล้อมถูกทาลาย ด้วยฝีมือของมนุษย์ จานวนประชากรจะลดขนาดลง หลายๆสายพันธ์
กาลังสูญพันธ์ บางสายพันธ์อยู่ในสภาวะอ่อนไหวหรือเสี่ยงมากได้แก่ สายพันธ์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณสภาพ
ภูมิศาสตร์ที่คับแคบ สายพันธ์ที่เหลือเพียงสายพันธ์เดียวหรือมีจานวนประชากรน้อย สายพันธ์ที่มีประชากร
ขนาดเล็ก สายพันธ์ที่ต้องการบริเวณพื้นที่ที่อาศัยขนาดกว้างใหญ่ สายพันธ์ที่มีขนาดรูปร่างใหญ่โต สายพันธ์ที่มี
อัตราการเพิ่มของประชากรต่า สายพันธ์ที่ไม่มีศักยภาพในการแพร่พันธ์ได้ สายพันธ์ซึ่งย้ายถิ่นฐาน สายพันธ์ที่
ต้องการเงื่อนไขเฉพาะในการดารงชีวิต( Species with Specialized Niche) สายพันธ์ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม
ที่คงที่ สายพันธ์ที่มาจากถิ่นกาเนิดถาวรหรือชั่วคราว สายพันธ์ที่ถูกล่าโดยมนุษย์
สาเหตุการสูญพันธ์: การใช้ประโยชน์ส่วนตัว (Exploitation)
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ เช่น การล่าเพื่ออุตสาหกรรมการค้า การขยายพื้นที่การเกษตร การ
ล่าเพื่อเป็นอาหาร หรือเพื่อสนุกทาให้เกิดการลดน้อยลงของสายพันธ์
การสูญพันธ์ด้วยน้ามือมนุษย์ ทาให้เกิดการสูญพันธ์เป็นจานวนมาก 73 % ของสายพันธ์ที่เลี้ยงลูก
ด้วยนม(Mammal) ซึ่งอาศัยอยู่ในอเมริกาเหนือ (80% ในอเมริกากลาง) ในยุค ไพลสโตซีน(Pleistocene)
สูญพันธ์ ในขณะที่มนุษย์มาจากเอเชียเมื่อ 10,000ปีมาแล้ว ในออสเตเรีย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสูญพันธ์ด้วย
อัตราเดียวกัน สายพันธ์นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่มีเหลืออยู่ในเกาะมาดากาสก้า หลังจากที่มนุษย์อพยพ
จากแหลมมาลายา และบริเวณรอบๆแหลมมาลายาเข้าไปอาศัยอยู่เมื่อ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช
การสูญพันธ์ที่เกาะนิวซีแลนด์ก็มีลักษณะคล้ายกันเกิดขึ้นเมื่อ 1000 ปีก่อนคริสต์ศักราช จานวนสาย
พันธ์อยู่ในสภาพที่มีปัญหา เนื่องจากการล่าและการเก็บเกี่ยวประโยชน์ของมนุษย์ที่มีมากเกินความจาเป็น
สาเหตุอื่นๆได้แก่
• การพัฒนาเครื่องมือการในการล่าสัตว์(อาวุธ)
• การล่าเพื่อวัตถุประสงค์ด้านการตลาด
• การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
• ความยากจน
ตัวอย่าง เช่น การล่าตัวบีเวอร์ มาทาอาหารในอเมริกาและยุโรป
• การล่าปลาวาฬ เพื่ออุตสาหกรรมและการค้าโดยเฉพาะในญี่ปุ่น
แผนภาพที่ 14 การล่าปลาวาฬมาเป็นอาหารของมนุษย์
สาเหตุการสูญพันธ์จากการที่ถิ่นที่อยู่ถูกทาลาย (Habitat Destruction and Degradation)
สาเหตุหลักของการสูญพันธ์เนื่องจากถิ่นที่อยู่ถูกทาลาย เช่น ผลกระทบด้านลบจากถิ่นที่อยู่ในเขตร้อนชื้น
หรือป่าดิบชื้น (tropical Rain Forests) เช่น การตัดไม้ การรุกพื้นที่ป่าเพื่อการเกษตร น้าท่วม เขตป่าดิบชื้น
อาจไม่มีฝนตกหลายเดือนติดต่อกันทาให้เกิดความแห้งแล้งของป่า(Tropical Dry Forest) ป่าชายเลน อันมี
ระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์และอาจถูกทาลายจากมนุษย์(Mangroves) ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ส่วนใหญ่ถูกทาลายจาก
การเข้าทาการเกษตรและเกิดการสูญเสียสายพันธ์อย่างถาวร(Temperate Grassland) เกาะต่างๆซึ่งเกาะ
หลายแห่งถูกนาไปใช้ในเชิงเศรษฐกิจทาให้เกิดการทางายสายพันธ์ พื้นที่ชื้นแฉะและทะเลสาบ(Wetland and
Lakes) ซึ่งมักจะนาไปใช้ในการสร้างเขื่อน และระบบชลประทาน
ถิ่นที่อยู่ถูกแบ่งออกเป็นเสี่ยงเสี้ยว ทาให้สายพันธ์ถูกแยกออกจากกันซึ่งอาจมาจากสาเหตุ
• ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ที่ใช้เป็นถิ่นที่อยู่(Edge Area)
• ศูนย์กลางของถิ่นที่อยู่ ใกล้กับพื้นที่ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
ผลกระทบของถิ่นที่อยู่ที่เป็นเสี่ยงเสี้ยว(Fragmentation)
ผลด้านลบ; ขนาดของประชากร และการเคลื่อนย้ายของสายพันธ์ ถิ่นที่อยู่ที่เป็นเสี่ยงเสี้ยว ทาให้
ขนาดของประชากรลดลง ถิ่นที่อยู่ที่เป็นเสี่ยงเสี้ยวทาให้เกิดการแตกกระจายของสายพันธ์(Dispersal) การ
ผสมพันธ์ในสายเลือดใกล้ชิดหรือข้ามสายพันธ์ (Mating) เกิดกระบวนการสร้างถิ่นที่อยู่ใหม่ (Colonization)
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่อยู่ (Edge Effect)
การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ชายขอบป่าหรือพื้นที่ที่อยู่บริเวณแนวขอบป่าซึ่งเชื่อมโยงกับพื้นที่ป่าโดย
ปกติจะเกิดกับพื้นที่ที่ถูกแบ่งแยกทาให้สภาพภูมิอากาศเฉพาะพื้นที่นั้น เกิดการเปลี่ยนแปลง(Microclimatic)
เช่น ได้รับแสงแดดมากกว่าปกติ มีอุณหภูมิที่แตกต่างจากพื้นที่อื่นๆ
ลมสามารถพัดเข้าสู่พื้นที่ที่เกิดผลกระทบนี้ได้ง่าย ทาให้เกิดการทาลาย และการระเหยของน้าบน
พื้นผิวดินเกิดสภาวะความแห้งแล้ง และความแห้งของอากาศ
การเกิดสิ่งดังกล่าว อุณหภูมิจะสูงขึ้น ความแห้งของอากาศทาให้เกิดไฟป่าได้ง่าย และอาจลุกลาม ไป
ยังถิ่นที่อยู่ของสายพันธ์ต่างๆซึ่งอยู่รอบๆบริเวณพื้นที่นั้น และเกิดการรุกรานของสายพันธ์ในถิ่นอื่น หรือสาย
พันธ์ผู้รุกราน หรือโรคติดต่อ
การเสื่อมสลายของถิ่นที่อยู่และการเกิดมลภาวะ(Degradation and Pollution)
การเสื่อมสลายของถิ่นที่อยู่ เช่น ทาให้เกิดสภาพทะเลทราย(Desertification) เกิดไฟป่าได้ง่าย เกิด
การสูญเสียหน้าดิน (Erosion) ดินเสื่อมสภาพ (Soil Degradation)
มลภาวะ เกิดพิษจากสารเคมีตกค้างเนื่องจากการทาการเกษตร เกิดมลภาวะของน้าที่ปนเปื้อน
สารเคมี มลภาวะทางอากาศ สภาพอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลงไป
สาเหตุแห่งการสูญพันธ์โดยการถูกย่ายีทางชีวภาพ (Biological Invasion)
การแพร่กระจายจานวนของสายพันธ์ต่างๆจะถูกจากัดลงด้วยไม่สามารถที่จะข้ามอาณาเขตของ
สภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นได้ จากผลของการเปลี่ยนแปลงแนวขอบชายป่า(Edge Effect) หรือการแยกถิ่นที่อยู่
ออกจากกัน
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเดินทางข้ามถิ่นที่อยู่ที่ถูกแยกออกจากกันของสายพันธ์โดยมนุษย์และการ
ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมเสียใหม่
การกระทาของมนุษย์โดยไม่เจตนา เป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดการสูญพันธ์ เช่น การปลูกพืชไร่และ
การปลูกพืชไม้ประดับ(การเกษตร) การทาปศุสัตว์ การล่าสัตว์เป็นเกมกีฬา อุบัติเหตุจากการเดินทางไปมาหาสู่
กันของสายพันธ์ การทาถิ่นที่อยู่เสียใหม่ การสร้างแหล่งอพยพใหม่ สภาวะโลกร้อน
คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ
• คุณค่าต่อระบบนิเวศน์ (Ecological Value)
• คุณค่าด้านจริยธรรม (Ethic Values)
• คุณค่าของความเป็นศาสตร์(Science Values)
• คุณค่าต่อเศรษฐกิจ (Ecolnomic Value)
คุณค่าต่อระบบนิเวศน์ (Ecological Value)
คุณค่าต่อระบบนิเวศน์ (Ecological Value) ก่อให้เกิดความหลากหลายของยีนส์ (Genetic
Diversity) ดารงรักษายีนส์ของสายพันธ์ต่างๆและทาให้เกิดวิวัฒนาการที่ซับซ้อน โดย การถ่ายทอดทาง
พันธุกรรม จากรุ่นสู่รุ่นในกรณีเกิดผลกระทบทางลบ การเลี่ยงการผสมในสายเลือดใกล้ชิด คุณค่าของระบบ
นิเวศน์ต่อความหลากหลายของสายพันธ์ การดารงรักษาหน้าที่ของความหลากหลาย ในระบบนิเวศน์ ซึ่งใน
ระบบนิเวศน์หนึ่งๆจะมีสายพันธ์ที่หลากหลายทาหน้าต่างกัน
ในระบบนิเวศน์ที่มีความหลากหลายสูง เช่น ป่าดิบชื้น ความสัมพันธ์ของสายพันธ์ไม่สามารถทาหน้าที่
แทนกันได้ พืชดอกจะมีหน้าที่ในการถ่ายเกสรแก่พืชดอกในสายพันธ์เดียวกันเท่านั้น
ความสัมพันธ์ภายในระหว่างสายพันธ์และความมีเสถียรภาพของระบบนิเวศน์ ขึ้นอยู่กับ จานวนที่คงที่
ของสายพันธ์หรือของจานวนสายพันธ์แต่ละสายพันธ์ ความสามารถของระบบนิเวศน์ต่อการดารงรักษาหรือ
การกลับเข้าสู่การเริ่มต้นใหม่หลังจากถูกขัดขวางหรือถูกทาลาย
แนวคิดที่สองถือว่า ระบบนิเวศน์ที่มีจานวนสายพันธ์ต่าสามารถจัดให้เป็นระบบนิเวศน์ที่มีเสถียรภาพ
ได้ คุณค่าของระบบนิเวศน์ต่อ ประชากรหรือความหลากหลายของระบบนิเวศน์ ชุมชนหรือความหลากหลาย
ของระบบนิเวศน์ เป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อการดารงรักษาสิ่งต่อไปนี้ในขอบเขตที่กว้าขวาง
ความหลากหลายของยีนส์ (Genetic Diversity) และความหลากหลายของสายพันธ์ (Species
Diversity) มีคุณค่าต่อระบบนิเวศน์ คือระบบนิเวศน์จะทาให้เกิดและดารงรักษา ความหลากหลายของยีนส์
และสายพันธ์ทั้งนี้ สายพันธ์ต่างๆ ต่างมีหน้าที่ในระบบนิเวศน์
ดังนั้น จึงจาเป็นต้องรักษาความหลากหลายของสายพันธ์ในระบบนิเวศน์และในกลุ่มประชากรของ
สายพันธ์ให้นานที่สุด
คุณค่าทางจริยธรรม (Ethical Values)
จริยธรรมเป็น ปรัชญาของคุณธรรม; เป็นระบบหรือ ทฤษฎีของคุณค่าทางคุณธรรมหรือเป็นหลักการ
จริยธรรมด้านสิ่งแวดล้อมจะเกี่ยวข้องกับคาถามที่ว่า การแสดงออกทางพฤติกรรมที่ผิดหรือถูก ต่อการเห็น
คุณค่าต่อสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ข้อโต้แย้งด้านจริยธรรม
ข้อโต้แย้งของ สตีเวิร์ดชิพ(Stewardship, 2014.Wikipedia, the free encyclopedia) ด้านการใช้
ทรัพยากรไม่ควรใช้ให้ทรัพยากรที่มีอยู่ไปในทางที่ไร้ประโยชน์ แต่ควรนามาใช้ประโยชน์โดยคานึงถึงอนาคต
ข้างหน้า (ใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน)
ข้อโต้แย้งของ เออเนส รีแนน(Ernest Renan,1982) ด้านสิทธิในการดารงอยู่ร่วมกัน(Right to Exist)
สายพันธ์ต่างๆและระบบนิเวศน์ มีคุณค่าในตัวเอง ซึ่งมีอิสระสาหรับคุณค่าของการใช้ประโยชน์ที่คุ้มค่าของตน
เพื่อมนุษย์ และนี่คือสิทธิการดารงอยู่ร่วมกัน (Deep Ecology, 2012. Wikipedia, the free encyclopedia)
สายพันธ์และระบบนิเวศน์ ถูกสร้างโดยพระเจ้า ดังนั้นจึง มีความศักดิ์สิทธิ์และมีสิทธิในการดารงอยู่ คาว่า
คุณค่าของธรรมชาติ คือ “ต้นกาเนิดอันบริสุทธิ์” ข้อโต้แย้งภายใต้แนวคิดนี้เสนอว่า ธรรมชาติทั้งมวล หรือ
อย่างน้อยส่วนหนึ่งของธรรมชาติควรได้รับการถนุถนอมเนื่องจากแนวคิดต้นกาเนิดอันบริสุทธิ์ เห็นว่า เพราะสิ่ง
ดังกล่าว มีคุณค่าทางจริยธรรม (Ethic Value)
สิ่งดังกล่าว มีคุณค่าทางจิตวิญญาณเนื่องจาก เป็นการดลบันดาลจากสิ่งศักดิ์สิทธ์(Inspirational
Value) ธรรมชาติก่อกาเนิดจากพระเจ้า (Embodiment of God) ธรรมชาติเป็นที่ๆซึ่งให้มนุษย์อาศัยอยู่
คุณค่าของความเป็นศาสตร์ (Science Values)
ระบบนิเวศน์มีคุณค่าต่อการศึกษาด้านธรรมชาติ แนวคิดนี้ เกี่ยวข้องต่อการศึกษาและการเสนอ
แนวทางในการปกป้องพื้นที่ทางธรรมชาติอย่างมาก เป็นคุณค่าที่สร้างจากความรู้สึก อารมณ์ และความงดงาม
ซึ่งเป็นสุนทรียภาพ
คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพต่อคุณค่าทางเศรษฐกิจ(Economic Values)
มีคุณค่าต่อการให้เก็บเกี่ยวผลประโยชน์ คุณค่าทางการตลาดและการเป็นทรัพยากร มีคุณค่าด้าน
ทรัพยากรในตัวมันเอง มีคุณค่าต่ออนาคตของทรัพยากร
คุณค่าทางเศรษฐกิจแบ่งเป็น
• คุณค่าโดยตรง หรือคุณค่าทางการค้า(Direct Values or Commodity Values)
• คุณค่าโดยอ้อม(Indirect Values)
คุณค่าโดยตรง หรือคุณค่าทางการค้า(Direct Values or Commodity Values) ทาให้เป็นผลผลิตซึ่ง
ถือเป็นการเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ได้โดยตรงของมนุษย์ ได้แก่ คุณค่าในการใช้บริโภค แบ่งเป็น
• การผลิตเพื่อการบริโภคเฉพาะในท้องถิ่น ไม่สามารถนาผลผลิตออกสู่ตลาดได้ เช่น ถ่านจากไม้
เนื้อสัตว์ป่า เป็นต้น
• ผลิตเพื่อการบริโภคของผู้บริโภคทั่วไป ผลิตเพื่อออกสู่ตลาดผู้บริโภค ทั้งในท้องถิ่นและตลาดใน
ระดับอื่นๆ
คุณค่าด้านการใช้ผลผลิต (Productive Use Value) ผลผลิตจะเก็บเกี่ยวจากแหล่งต่างๆไปสู่ตลาด
การค้า ผลผลิตจะมีคุณค่าในด้าน
คุณค่าโดยอ้อม(Indirect Values) พิจารณาจากลักษณะของความหลากหลายที่เกิดจากระบบชีวภาพ
เช่น กระบวนการของสิ่งแวดล้อม กระบวนการของระบบนิเวศน์ซึ่งให้ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ และประโยชน์
อื่นๆแก่มนุษย์ ได้แก่
• คุณค่าที่ไม่ใช่การบริโภค
• การบาบัดน้าเสีย
• การป้องการดินเสื่อม
• การฟื้นฟูสภาพอากาศ
• การขจัดคาร์บอนไดออกไซด์
• การกาจัดของเสีย
• การนาความสัมพันธ์ระหว่างสายพันธ์มาใช้ประโยชน์ เช่น การผสมเกสร การกระจายเมล็ดพันธ์
(Seed dispersers) การใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตในดิน เป็นต้น
• การนาประโยชน์ของระบบนิเวศน์มาสร้างเป็นแหล่งท่องเที่ยว
• การใช้คุณค่าเพื่อการศึกษา
ทางเลือกของคุณค่า (Option Values) เป็นการนาศักยภาพของสายพันธ์มาใช้ประโยชน์ ซึ่งแล่งเป็น
ด้านเศรษฐกิจและประโยชน์ด้านอื่นๆ ในอนาคต ทางเลือกเชิงคุณค่าของสายพันธ์ดังกล่าว ได้จากการค้นพบ
สิ่งที่เป็นผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกจากสายพันธ์ที่มีอยู่มากมาย โดยเฉพาะใช้ประโยชน์จากสายพันธ์แก่มนุษย์
ไม่ว่าจะเป็นด้าน อาหาร และยารักษาโรค และวัคซีนป้องกันโรค
คุณค่าต่อการดารงอยู่ (Existence Values) เป็นจิตสานึกของมนุษย์ต่อการกระทาให้สายพันธ์ ชุมชน
ภูมิทัศน์หรือภูมิประเทศที่สายพันธ์อาศัย ดารงอยู่ต่อไป ไม่ว่าจะมีการลงทุนด้านค่าใช้จ่ายเท่าใดก็แล้วแต่
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์ ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ที่มีต่อกันและมีต่อสภาพแวดล้อที่สิ่งมีชีวิเหล่านั้น
ดารงอยู่ ทรัพยากรธรรมชาติ
• เป็นของขวัญจากธรรมชาติทั้งที่เป็นสิ่งที่มีชีวิตและองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
• เป็นสิ่งที่สามารถใช้ได้อย่างไม่จากัดจานวน และบางสิ่งบางอย่างต้องจากัดการใช้
• เป็นสิ่งที่สามารถใช้ประโยชน์ และหรือไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้
การมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติอาจมีรูปแบบต่างๆ
• รูปแบบของการเป็นผู้ใช้ประโยชน์(การบริโภค เช่น นาไปเป็นผลผลิต และไม่ใช่พื่อการบริโภค
เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การบันเทิง
• การปกป้องรักษาเช่น การสร้างหรือจัดการเพื่อการปกป้องอนุรักษ์พื้นที่
• การปรับให้เกิดความเหมาะสม การจัดการให้เกิดความเหมาะสม เช่นการจัดการป่าไม้ เป็นต้น
สองสานักคิดด้านการจัดการเพื่อการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ สานักคิด ซึ่งเน้นการ
อนุรักษ์และปกป้องรักษา และสานักคิดซึ่งเน้น การเพิ่มปริมาณหรือโอกาสในการสูญพันธ์
แนวความคิดของสองสานักนี้มีความขัดแย้งกันอยู่ แต่ทว่า แนวคิดทั้งสองสามารถเชื่อมโยงเพื่อนาไปสู่
ความยั่งยืนในการก่อให้เกิดความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
ดังนั้น จึมีคาถามที่ว่า จะมีวิธีการจัดการอย่างไรจึงจะสามารถนาไปสู่ความยั่งยืนได้
ความยั่งยืนคือรูปแบบของการใช้ทรัพยากรที่มีความต่อเนื่องไม่ลดน้อยลง ข้อวิพากษ์ต่อความยั่งยืนซึ่ง
ไม่เห็นด้วยกับความแตกต่างกันของทรัพยากร ความยั่งยืนสามารถมองจากมุมต่างๆได้แก่ ระบบนิเวศน์
เศรษฐศาสตร์การค้า และ มุมมองทางสังคม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบยั่งยืน จาเป็นต้องเข้าใจถึง
กลไกที่นาไปสู่สิ่งที่ทาให้เกิดความเข้าใจว่า ทรัพยากรคือผลผลิต
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติเน้นการจัดการเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างระบบนิเวศน์ที่สมดุล
ทรัพยากร วัตถุประสงค์ของการ
พัฒนา
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบ
นิเวศน์
คาถามในการจัดการ
น้า(ชีวภาพ) น้าสะอาด การปกป้องแหล่งน้า สามารถจัดการเพื่อการ
ปกป้องแหล่งน้าได้หรือ
พืช(ผลผลิต
ชีวภาพ)
การสร้างความยั่งยืน ผลิตขึ้นมาใหม่ สร้างรุ่น
ใหม่ๆ; การผสมเกสร
ผู้ผสมเกสรดอกไม้
อัตราการเจริญเติบโต
สุขภาวะ
จะจัดการอย่างไรต่อปัจจัยที่
เป็นผลกระทบและทาให้เกิด
ความสาเร็จ
ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบนิเวศน์และการจัดการ
สัตว์
(ชีวภาพ)
การสร้างความ
ยั่งยืนให้สายพันธ์
พลวัตรของประชากร,
นิสัย,
ความหนาแน่นในถิ่นที่
อยู่
จะจัดการกับปัจจัยที่มี
ผลกระทบอย่างไร
การอนุรักษ์
ระบบ
นิเวศน์
กลไก ที่มีต่อการ
สนับสนุนเพื่อการดารง
ไว้ซึ่งความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
อะไรคือผลกระทบของ
การจัดการ ด้านกลไก
ดังกล่าวและความ
หลากหลาย
แผนภาพที่ 15 วงจรการจัดการระบบนิเวศน์
การจัดการระบบนิเวศน์
กระบวนการที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศที่สาคัญและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ใน
ขณะเดียวกัน สามารถสนองความต้องการทางเศรษฐกิจและสังคมการเมืองและวัฒนธรรมและของคนรุ่น
ปัจจุบันและอนาคต
วัตถุประสงค์หลักของการจัดการระบบนิเวศเป็นการบารุงรักษาที่มีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม
ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร
มีวิธีการที่หลากหลายและเป็นแบบองค์รวมซึ่งเป็นวิธีการเพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ โดยวิธีในการบริหารจัดการระบบนิเวศจะต้องมีประสิทธิภาพ มีการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทั้งใน
ระดับท้องถิ่นหรือแนวนอนและเกี่ยวข้องกับการจัดการเพื่อการปรับตัว
การจัดการเชิงกลยุทธ์ การสั่งการและการควบคุม
การจัดการเชิงกลยุทธ์ เป็นวิธีกาจัดการซึ่งเน้นรูปแบบเพื่อให้เกิดแนวทาง เป้าหมายที่ชัดเจนและ
ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการ ซึ่งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์ การจัดการเชิงกลยุทธ์และการ
สั่งการมีรูปแบบต่างๆ
แผนภาพที่ 16 การพัฒนาเพื่อมุ่งเป้าหมายสู่เศรษฐกิจสีเขียวและความยั่งยืน
แผนภาพที่ 17 การพัฒนาที่เน้นการจัดการภาวะเรือนกระจก
แผนภาพที่ 18 ตัวแบบการจัดการระบบนิเวศน์
แผนภาพที่ 19 การจัดการระบบนิเวศน์ซึ่งใช้ชุมชนเป็นฐาน
แผนภาพที่ 20 กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนการจัดการระบบนิเวศน์
แผนภาพที่ 21 กรอบแนวคิดการจัดการระบบนิเวศน์เชิงบูรณาการ
การกาหนดนิยามการจัดการระบบนิเวศน์(Formulations)
มีหลักการหลายหลักการ กาหนดนิยามการดาเนินงานเพื่อจัดการระบบนิเวศน์ไว้หลายประการ
การจัดการระบบนิเวศน์เป็น สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการของค่านิยมทางสังคมและการให้
ความสาคัญซึ่งไม่มีการเริ่มต้นหรือสิ้นสุด
การจัดการระบบนิเวศน์เป็น การดาเนินงานทีชัดเจนและมีการกาหนดอย่างเป็นทางการ ไม่ว่าจะเป็น
สถานที่ที่ใช้ และขอบเขตในการจัดการ
การจัดการระบบนิเวศน์ควรเป็นการดารงไว้ซึ่งระบบนิเวศน์ตามเงื่อนไขที่เหมาะสมและก่อให้เกิด
ความสาเร็จด้านผลประโยชน์ทางสังคม
การจัดการระบบนิเวศน์ ควรใช้ประโยชน์จากความสามารถของระบบนิเวศน์เพื่อตอบสนองต่อสิ่งที่ทา
ให้เกิดสภาพตึงเครียดต่างๆ ตอบสนองต่อธรรมชาติของมนุษย์และตอบสนองต่อสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่
ความสามารถของระบบนิเวศน์ทีข้อจากัดในการรองรับความตึงเครียดและมนุษย์ยังคงรักษาสถานะในสิ่งที่
มนุษย์ต้องการไว้
การจัดการระบบนิเวศน์อาจจะหรือไม่อาจจะเน้นถึงผลของความหลากหลายทางชีวภาพ คาจากัด
ความของความยั่งยืน หากนามาใช้ในการจัดการระบบนิเวศน์ทั้งหมดควรมีความชัดเจนโดยเฉพาะ ความ
เกี่ยวข้องด้านกรอบของเวลาต้นทุนและผลประโยชน์ที่ได้รับ รวมทั้งการ ความสัมพันธ์ของการจัดลาดับ
ความสาคัญและต้นทุน
การกาหนดอย่ามีระบบ มีความสาคัญอย่างมากต่อประสิทธิผลของการจัดการระบบนิเวศน์ แต่ยังคง
เป็นองค์ประกอบหนึ่งในกระบวนการตัดสินใจอันเป็นพื้นฐานอย่างหนึ่งของสาธารณะและการเมือง
ดังนั้น การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการระบบนิเวศน์ยังคงไม่มีความชัดเจนนัก และยังคงมี
การโต้แย้ง ความขัดแย้งอยู่ เนื่องจากส่วนหนึ่งถูกกาหนดด้วยกระบวนการทางนโยบาย และแนวคิดด้านวิทยา
ศาตร์ของนักวิทยาศาสตร์ ก็แสดงออกในเชิงดื้อรั้นในแนวคิดของตนรวมทั้งการแข่งขันชิงดีชิงเด่น
การมีจุดยืนในแนวคิดเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการทรัพยากรและต่อกาจัดการระบบนิเวศน์
ผู้จัดการซึ่งดาเนินงานภายใต้นโยบายของรัฐและระบบราชการกับผู้จัดการซึ่งอยู่ในองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรรัฐ
มักจะโต้แย้งและเกิดข้อขัดแย้งกันเสมอ ทั้งหมดคือวิวัฒนาการที่ผ่านมาของแนวทางการจัดการระบบนิเวศน์
และสิ่งแวดล้อม
ž
แผนภาพที่ 22 กระบวนการจัดการเพื่อการอนุรักษ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders)
เป็นบุคคลหรือกลุ่มคนที่ได้รับผลกระทบจากการตัดสินใจและการกระด้านสิ่งแวดล้อม แต่
อาจมีอานาจและอิทธิพลต่อผลลัพธ์ของการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบนิเวศ
เป็นการตัดสินใจต่อการบริหารจัดการระบบนิเวศจากท้องถิ่นที่มีความซับซ้อน มีการชั่งน้าหนัก
ความสาคัญระหว่างผู้มีส่วนร่วม หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความหลากหลายของความรู้ การรับรู้และค่านิยมต่อ
ระบบนิเวศน์และทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย ผู้มีส่วนได้เสียมักจะมีความสนใจที่แตกต่างกันต่อประโยชน์
ที่ได้รับจากระบบนิเวศ ซึ่งหมายความว่าการจัดการที่มีประสิทธิภาพของระบบนิเวศ ต้องใช้ขั้นตอนการเจรจา
ต่อรองที่พัฒนาไปสู่ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะในประเด็นที่สนใจร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
สร้างความร่วมมือและสานประโยชน์ร่วมกัน
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management
Biodiversity conservation and policy of management

More Related Content

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word   ปกเอกสารประกอบการสอนMicrosoft word   ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
 
Microsoft word บรรณานุกรม
Microsoft word   บรรณานุกรมMicrosoft word   บรรณานุกรม
Microsoft word บรรณานุกรม
 

Biodiversity conservation and policy of management

  • 1. ž ž ž ž ความหลากหลายของระบบชีวภาพ การอนุรักษ์ และนโยบายการจัดการ (Biodiversity conservation and policy of management) รหัสวิชา 2553335 ž ž เอกสารประกอบการเรียน ž ž ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ Supwat papassarakan ž ž
  • 2. ความหลากหลายของระบบชีวภาพ การอนุรักษ์ และนโยบายการจัดการ (Biodiversity conservation and policy of management) รหัสวิชา 2553335 Supwat papassarakan ความหลากหลายของระบบชีวภาพ การอนุรักษ์ และนโยบายการจัดการ จุดมุ่งหมาย • ให้เกิดความเข้าใจต่อแนวคิดของความหลากหลายทางชีวภาพ • ให้เกิดความเข้าใจต่อระบบนิเวศน์ • ให้เกิดความเข้าใจถึงความหลากหลายในระบบนิเวศน์ทั้งในท้องถิ่นที่เป็นเมืองและชนบท • ให้เกิดความเข้าใจต่อความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพต่อระบบนิเวศน์ • เข้าใจต่อความสาคัญต่างๆของความหลากหลายทางชีวภาพต่อการดาเนินชีวิต • ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพต่อเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนและท้องถิ่น • การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพต่อการดาเนินชีวิตภายในท้องถิ่นและชุมชน • การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นและชุมชนโดยนาความหลากหลายทางชีวภาพ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ • การเชื่อมโยงสู่แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ความหลากหลายทางชีวภาพและนิยาม (Biodiversity Definition and conceptX คาว่า ความหลากหลาย (Diversity) ใช้อธิบายความแตกต่าง ของธรรมชาติ ในค.ศ. 1980s ความ หลากหลายในช่วงนี้ หลักๆคือการทาความเข้าใจต่อ ความหลากหลายของสายพันธ์ต่างๆ วิทเทรคเกอร์ (Whittactker, evolution and Measurement of species diversity, 1972) ให้ ความหมายถึงความแตกต่างของสายพันธ์ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ความแตกต่างของสายพันธ์ซึ่งแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆตามแนวคิดของวิทเทรคเกอร์ • อัลฟา(Alpha diversity) เป็นความหลากหลายภายในสายพันธ์ ซึ่งใช้กับการจาแนกชนิดในสาย พันธ์เดียวกันที่มีอยู่ภายในถิ่นที่อยู่(Habitat) อาจมีมากกว่า 1 ชนิด(Species Richness) • เบลต้า(Beta Diversity) เป็นการอธิบายความหลากหลายของสายพันธ์ระหว่างถิ่นที่อยู่ที่ต่างกัน (Between Habitat diversity) • แกมม่า(Gamma Diversity) อธิบายความหลากหลายของสายพันธ์ทั้งหมด ที่อยู่ในพื้นที่ที่เป็น แผ่นดินของภูมิภาคต่างๆของโลก ในปี 1980-1985เป็นต้นมา นิยามของความหลากหลายทางชีวภาพไม่ได้จากัดอยู่ในเพียงนิยามที่ใช้ใน ความหลากหลายของสายพันธ์ในลักษณะเดิมแต่ขยายขอบเขตให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
  • 3. • หมายถึง ความแตกต่างหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดจากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น สิ่งมีชีวิตที่ อยู่บนพื้นดิน ใต้ดิน ในน้า บนต้นไม้ ในอากาศ (Terresteial) • หมายถึง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในทะเล ไม่ว่าจะเป็นสัตว์และพืชทั้งที่เคลื่อนที่เองได้ และไม่สามารถเคลื่อนที่เองได้ (Marine) • หมายถึง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยและเติบโตใกล้น้า บนผิวน้า ในน้าไม่ว่าจะเป็น แม่น้า หรือทะเล (Aquatic) • Biodiversity Definition and concept โดยสรุป ความหลากหลายทางชีวภาพ จึงสามารถอธิบายในขอบเขตที่กว้างขวางกว่าเดิม รวมไปถึง การอธิบาย ถึงยีนส์(Genes) สายพันธ์ (Species) และ ชุมชนหรือกลุ่มของสายพันธ์(Communities) ตลอดจน หมายรวมถึงระบบนิเวศน์ด้วย(Ecosystems) ศัพท์ที่ควรเข้าใจ • Species Richness หมายถึง สายพันธ์ ที่มีความแตกต่างหลากหลาย • Communities Richness หมายถึง ชุมชนหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่หลากหลายอาศัยร่วมกัน ใน ถิ่นที่อยู่เดียวกัน • Habitat หมายถึง ถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตอาจเป็นถิ่นที่อยู่เดียวกันหรือต่างถิ่นที่อยู่ แผนภาพที่ 1 ชีวภาพของสายพันธ์ที่อาศัยอยู่ในน้าและทั้งบนผิวน้าและในน้า ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic Diversity) ความหลากหลายทางพันธุกรรม คือ จานวนข้อมูลของพันธุกรรมที่มีอยู่ในยีนส์ของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตสามารถจาแนกตามระบบลาดับชั้นในแนวดิ่ง(Hierarchical System) การจัดกลุ่มของสิ่งมีชีวิต หลักๆได้แก่ • การแบ่งตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นเช่น สัตว์ พืช (Kingdom) หรือเรียกว่าอาณาจักร การแบ่งลักษณะนี้ จะแตกต่างกันตามลักษณะของแต่ละภูมิภาค ในอเมริกาจะแบ่งเป็น 6 กลุ่ม คือ – สัตว์ (animal) – พืช (Plantae)
  • 4. – สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์ๆเดียว (Fungi) บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม เช่น เห็ด รา ยีสต์ เป็นต้น – โปรทีสต้า(Protista) เช่น พาราซิสต์ พยาธิ์ ใส้เดือน ต่างๆ – สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก (Archaea) เบคเตเรียขนาดเล็ก อาจเรียกว่า จุลลินทรีย์ – สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าบัคเตเรีย (Bactaria) เชื้อ เบคเตเรีย ในยุโรปและลาตินอเมริกาจะมีความแตกต่างต่างจากในอเมริกา แผนภาพที่ 2 ความหลากหลายทางพันธุกรรม การแบ่งตามกลุ่มย่อยๆลงมาเมีขนาดเล็กกว่า Kingdom แต่ใหญ่กว่า ระดับชั้น (Class) คือการแบ่ง ตาม ไฟลั่ม (Phylum) เป็นการแบ่งตามลักษณะย่อยของพืชและสัตว์ Phylum Meaning Common name Distinguishing characteristics Chytridiomycota Little pot mushroom Chytrids Cellulose in cell walls, flagellated gametes Deuteromycota Second mushroom Imperfect fungi Unclassified fungi; only asexual reproduction observed no other major distinguishments
  • 5. Zygomycota Yolk mushroom Zygomycetes Blend gametangia to form a zygosporangium Glomeromycota Ball mushroom None Form arbuscular mycorrhizae with plants Ascomycota Bag/Wineskin Mushroom Sac fungi Produce spores in an 'ascus'which is a kind of fruiting bud Basidiomycota Basidium Mushroom Club Fungi Produce spores from a 'basidium' which is a kind of fruiting bud Total: 6 ตารางที่ 1 การแบ่งตาม ไฟลั่ม (Phylum) ž ž ž แผนภาพที่ 3 การแบ่งตามไฟลั่มสัตว์ประเภทไม่มีกระดูกสันหลัง การแบ่งระดับชั้น เพื่อการจาแนก (Class) ความสาคัญของพืชและสัตว์ การแบ่งลักษณะนี้ยังไม่มีข้อสรุปที่ แน่ชัดนัก
  • 6. ž Name ž Meaning of prefix ž Example 1 ž Example 2 ž Example 3[1] ž Superclass ž (ชั้นบนสุด) ž super: above ž Tetrapoda ž ž ž Class รองลงมา ž ž Mammalia ž Maxillopoda ž Sauropsida ž Subclass ใต้ ž sub: under ž ž Thecostraca ž Avialae ž Infraclass ต่าสุด ž infra: below ž ž Cirripedia ž Aves ž Parvclass ž ไม่มี ความสาคัญ ž parvus: small, ž ž ž Neornithes ตารางที่ 2 การแบ่งระดับชั้น เพื่อการจาแนก (Class) ž Name ž Meaning of prefix ž Example 1 ž Example 2 ž Magnorder อันดับ/ตระกูล สาคัญ ž magnus: large, great, important ž Boreoeutheria ž ž Superorder อันดับ/ตระกูล เหนือขึ้นไป ž super: above ž Euarchontoglires ž Parareptilia ž Grandorder อันดับ/ตระกูล ใหญ่ มีมาก ž grand: large ž Euarchonta ž ž Mirorderตระกูล ที่จัดในประเภท แปลกประหลาด ž mirus: wonderful, strange ž Primatomorpha ž
  • 7. ž Order ตระกูลที่มี ลักษณะธรรมดาๆ ž ž Primates ž Procolophonomorpha ž Suborderตระกุล ที่อยู่ใต้สุด ž sub: under ž Haplorrhini ž Procolophonia ž Infraorder ตระกูลต่า ž infra: below ž Simiiformes ž Hallucicrania ž Parvorder ตระกูลที่ไม่มี ความสาคัญ ขนาดเล็กมาก ž parvus: small, unimportant ž Catarrhini ž ตารางที่ 3 การแบ่งตาม Order หรืออันดับ หรือตระกูล อยู่ระหว่าง Class และ Family การแบ่งตามวงศ์ หรือ Family เป็นลาดับขั้นสูงที่เล็กที่สุด มีการแบ่งเฉพาะเจาะจงในรายละเอียดเพิ่ม มากขึ้นช่น วงศ์ทานตะวัน (Compositae) มีช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น (head/ capitulum) ส่วนในวงศ์ ผักชี (Umbelliferae) มีช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม (umbel) และผลแยกแล้วแตก (schizocarp) และ วงศ์ ก่วม (Aceraceae) มีผลแยกแล้วแตกและมีปีก (winged schizocarp) แต่ใน วงศ์กุหลาบ (Rosaceae) มีผล แตกต่างไปตามวงศ์ย่อย การแบ่งตาม Genus หรือสกุล เป็นการจัดกลุ่มเอา สิ่งมีชีวิตสปีชีส์ที่มีลักษณะใกล้เคียงเข้ามารวมกัน ใน การตั้งชื่อแบบทวินาม ชื่อสิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นจากสองส่วน คือ สกุล ซึ่งต้องขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และ สปีชีส์ ตัวอย่างหนึ่งคือ Homo sapiens เป็นชื่อเรียกมนุษย์ อยู่ในสกุล Homo การแบ่งตามสายพันธ์หรือหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิต (species) จุดประสงค์ในการแบ่งลักษณะดังกล่าว เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจต่อความหลากหลายทางพันธุกรรม ซึ่งมี ความสาคัญต่อการจัดจาแนกกลุ่มของสายพันธ์ โดยปกติ จะมีการสืบพันธ์ภายในสายพันธ์เดียวกัน อย่างไรก็ตาม การสืบพันธ์แบบข้ามสายพันธ์หรือสาย พันธ์ที่แตกต่างกันโดยส่วนใหญ่มนุษย์จะเป็นผู้กระทา สิ่งนี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะโครงสร้างของ สายพันธ์ ประชากร คือ กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มาจากสายพันธ์เดียวกัน อยู่ร่วมกันอาจจะมีตั้งแต่จานวนประชากร จานวนน้อยหรือมากเป็นล้านๆประชากรก็ได้ ความหลากหลายทางพันธุกรรม คือ ผลที่เกิดจาก ขนาดและลักษณะพลวัตรของประชากร การเปลี่ยน แปลงพันธุกรรมอาจเป็นสาเหตุของการสูญเสีย หรือมีผลต่อจานวนประชากรในทางลบ เช่นประชากรลดลง หรือมีขนาดเล็กลง มีการดารงชีวิตที่ โดดเดี่ยวมากขึ้น
  • 8. ความหลากหลายทางสายพันธ์ (Species Diversity) สายพันธ์ เป็นการพิจารณาลักษณะภายในประชากรของสิ่งมีชีวิต ซึ่งปรากฏยีนส์ตามลักษณะ พันธุกรรมตามเงื่อนไขธรรมชาติ การกาเนิดของสายพันธ์ใหม่อาจเกิดขึ้นได้จาก • ผ่านกระบวนการทางพันธุกรรม (Polyploidy)ซึ่งเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนจากชุดของโครโมโซม พื้นฐาน เรียกกันว่า การแปลงพันธุกรรม ส่วนใหญ่จะกระทาในพืช เรียกกันทั่วไปว่า จีโนม (Gnome) ซึ่งกระทาโดยมนุษย์ • เป็นผลมาจากสภาพภูมิศาสตร์ ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทาให้เกิดการปรับตัว ของสิ่งมีชีวิต และเกิดจัดรูปแบบของสายพันธ์ขึ้นใหม่เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป เราไม่สามารถทราบจานวนที่แท้จริงของสายพันธ์ทั้งหมดในโลก ประมาณการได้ว่า สายพันธ์ทั้งหมด อยู่ระหว่าง 5-50 mio (miocene หมายถึง ของหน่วยระยะเวลาหรือยุคของการพัฒนาการของสายพันธ์) ปัจจุบัน จานวนสายพันธ์ที่สามารถประมาณได้จานวน 1.4 mio สายพันธ์ จะแบ่งเป็น - สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (arthropods) 875,000 สายพันธ์ - พืชไม้ดอก (Flowering Plants) 275,000 สายพันธ์ สายพันธ์ที่เป็นที่รู้จักมากกว่าสายพันธ์อื่นๆ ได้แก่ พืชผักและพืชไม้ดอก แมลง จากงานวิจัย พบแมลง จานวน 800,000 ชนิดอย่างไรก็ตามจานวนแมลงดังกล่าวประมาณการไดว่าอยู่ในช่วง 2-3 mio ถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นที่รู้จักมากกว่าถิ่นที่อยู่อื่นๆได้แก่ ถิ่นที่อยู่นอกเขตร้อน จะเป็นถิ่นที่อยู่ที รู้จักมากกว่าถิ่นที่อยู่เขตร้อน ถิ่นที่อยู่ที่ไม่เป็นที่รู้จักกันดีเช่น ถิ่นที่อยู่ในเขตร้อนบริเวณชั้นหินและทรายใกล้ทะเลและบริเวณใต้ มหาสมุทรที่ลึกที่สุด
  • 9. ชุมชนหรือความหลากหลายของระบบนิเวศน์ (Community or Ecosystem Diversity) ชุมชนหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิตทางชีวภาพ(Biological Community) คือกลุ่มของสายพันธ์ต่างๆที่อยู่ ร่วมกันในถิ่นที่อยู่และมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ระบบนิเวศน์(Ecosystem) คือชุมชนหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยุ่ร่วมกัน เป็นสมาคมภายใน สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ในแต่ละถิ่นที่อยู่ จะถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน ระบบต่างๆจะเป็นกลุ่มก้อนและเป็น อิสระจากกัน และจะทาหน้าที่ของตนเอง เกี่ยวข้องกับการนาเข้าทรัยากรและการสร้างผลผลิต เช่น หน้าที่ หลักของพืชสีเขียวคือ ผลผลิตสู่ระบบนิเวศน์ ในขณะเดียวกันจะมีผู้บริโภคผลผลิตนั้น เบคตีเรียจะมีหน้าที่ใน การย่อยสลายเป็นต้น วิถีการดารงอยู่ของสิ่งมีชีวิต(Niche) ลักษณะเฉพาะของทรัพยากรซึ่งสิ่งมีชีวิตใช้ประโยชน์ในชุมชนฃ องสิ่งมีชีวิตนั้น เป็นบทบาทหน้าที่ ที่มีอยู่ของสายพันธ์ต่างๆเพื่อการดารงชีวิตอยู่ ž แผนภาพที่ 4 ระบบนิเวศน์เพื่อการดารงชีวิต(Niche) พลวัตรของระบบนิเวศน์ (Succession) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบหรือผลผลิตในสายพันธ์ต่างๆ การเปลี่ยนแปล โครงสร้างของชุมชน ลักษณะทางกายภาพ ซึ่งจะปรากฏให้เห็นตามลักษณะทางธรรมชาติ หรือเหตุอัน เนื่องมาจากการกระทาหรือละเว้นการกระทาของมนุษย์ ต่อกลุ่มหรือชุมชนของสายพันธ์ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ
  • 10. ž ž แผนภาพที่ 5 พลวัตรของระบบนิเวศน์(Succession) ž ž แผนภาพที่ 6 พลวัตรของระบบนิเวศน์ จากการทาลายตามธรรมชาติและน้ามือมนุษย์(Succession) แผนภาพที่ 7 ระยะเวลาของพลวัตรของระบบนิเวศน์ (Succession) แนวคิดของพลวัตรของระบบนิเวศน์(Concept of Succession) ความหลากหลายของระบบนิเวศน์สามารถอธิบายในระดับและขนาดที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความหลากหลายของหน้าที่ (Functional Diversity); สัมพันธ์กับความสภาวะของการทาหน้าที่ ประเภทต่างๆของสิ่งมีชีวิต
  • 11. ความหลากหลายของกลุ่ม (Community Diversity); จานวน ขนาดและการกระจายตัวในเชิงปริภูมิ ของกลุ่มหรือชุมชน (บางครั้งเรียกว่าPatchiness; หมายถึงการที่ชุมชนของสิ่งมีชีวิต กระจายตัวเป็นหย่อมๆ และมีการเปลี่ยนแปลงทางพลวัตรของประชากรในรอบปี) ความหลากหลายของพื้นที่(Landscape Diversity) คือความหลากหลายของระบบนิเวศน์ในพื้นที่ (บางครั้งเรียกว่า ความหลากหลายเชิงภูมิศาสตร์) ความหลากหลายของระบบนิเวศน์(Ecosystem diversity) คือ ลักษณะที่เกิดจากปัจจัยทางชีวภาพ {เช่น การหาอาหาร หรือการล่าเยื่อ(Predatoion), การแข่งขัน (Competition), การเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน (Symbiosis)} ลักษณะของสภาพแวดล้อม เช่น ความซับซ้อน (complexity), ความสามารถในรองรับกลุ่มของ สิ่งมีชีวิต-การเจริญเติบโตหรือการทนต่อเปลี่ยนแปลงในระดับใดระดับ โดยสิ่งแวดล้อมยังสามารถคงอยู่หรือ ดาเนินอยู่ได้อย่างปกติและปราศจากผลกระทบ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือความเสี่ยงต่อสวัสดิภาพ สุขภาพ พลานามัย สิ่งแวดล้อมและองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมนั้น (Carrying Capacity), ข้อจากัดของทรัพยากร และ การกระทาของมนุษย์} Populations must not exceed the carrying capacity of their environments!!! If the carrying capacity of the environment is exceeded, organisms die and the environment may be permanently destroyed. แผนภาพที่ 8 ความสมดุลของระบบนิเวศน์ ความหลากหลายของระบบนิเวศน์ เป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่อง จากสาเหตุดัว ต่อไปนี้ การผสมผสานของสายพันธ์ที่ก่อให้เกิดชุมชนและการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์อย่างต่อเนื่อง การเพิ่มสายพันธ์ที่หลากหลายมีผลให้เกิดระบบนิเวศน์ที่แตกต่างกัน หรือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
  • 12. ของประชากรที่เพิ่มขึ้น (Patchiness) หรือการเพิ่มขึ้นของถิ่นที่อยู่ (habitat) อิทธิของพลวัตรด้านถิ่นที่อยู่(Habitat Patchiness) ไม่เพียงมีผลต่อองค์ประกอบหรือส่วนต่างๆของ สายพันธ์ในระบบนิเวศน์เท่านั้น แต่ยังมีผลต่อการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสายพันธ์ด้วย การรบกวนที่ทาให้เกิดผลกระทบเป็นระยะๆ(Periodic Disturbances)มีผลต่อการเพิ่มสภาพแวดล้อม เป็นหย่อมๆซึ่งกระตุ้นให้ประชากรของสายพันธ์ต่างๆเพิ่มขึ้น Geomorphology and oceanography creating habitat patchiness and limiting long dispersal, as well as past and ongoing human impact. แผนภาพที่ 9 ความหลากหลายของระบบนิเวศน์ แผนภาพที่ 10 ถิ่นที่ที่หลากหลาย (Habitat Patcheness)
  • 13. แผนภาพที่ 11 การทาลายระบบนิเวศน์ (Periodic Disturbances and disturbances in ecosystem ขนาดและการแบ่งแยกของถิ่นที่อยู่เป็นหย่อมๆ(Size and Isolation) มีอิทธิพลต่อการเพิ่มประชากร ของสายพันธ์ ขอบเขตของอาณาเขตที่มีการเชื่อมต่อ (Ecotone) มีอิทธิพลต่อการความอุดมสมบูรณ์ของสาย พันธ์ การเอื้อต่อสายพันธ์ดังกล่าวจะไม่ปรากฏในถิ่นที่อยู่ที่มีพื้นที่ ต่อเนื่อง ในพื้นที่ ที่แบ่งตามโซนอุณหภูมิ หรือพื้นที่ที่เป็นทุ่งหญ้าหรือป่าเตี้ยๆหรือป่าละเมาะ มักจะมีสายพันธ์มากกว่าถิ่นที่อยู่ที่มีพื้นที่ต่อเนื่อง แผนภาพที่ 12 เขตเชื่อมต่อขอบชายป่าที่ประกอบด้วยทุ่งหญ้าและไม้เตี้ยๆ (Transition Zones ;Ecotones) สายพันธ์บางสายพันธ์ มีอิทธิพลอย่างไม่เป็นสัดส่วนต่อลักษณะของระบบนิเวศน์สายพันธ์เหล่านี้ เรียกว่า Ketstone Species อันเป็นสายพันธ์ที่มีความสามารถกาหนดจานวนประชากร หรือรักษาโครงสร้าง ของประชากรของสายพันธ์ที่มีจานวนมากได้ เช่น สายพันธ์แมลง (Pollinators, สัตว์ที่แพร่กระจายเมล็ดและ เมล็ดพืชที่สามารถแพร่กระจาย (Seed dispresers) และสัตว์กินเนื้อ (Predators) Ketstone Species จะมีอิทธิพลต่อสภาวะแวดล้อมที่อาศัยอยู่อย่างมาก ถึงแม้ว่าบางครั้งจานวน ประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นอาจจะต่าก็ตาม หากสิ่งมีชีวิตคีย์สโตนหายไปจากระบบนิเวศหนึ่งๆ ระบบ นิเวศนั้นจะเสียสมดุลและพังทลายลง
  • 14. แผนภาพที่ 13 สายพันธ์ที่มีสาคัญต่อระบบนิเวศน์ (Ketstone Species) มาตรวัดความหลากหลายของยีนส์และสายพันธ์ มาตรวัดความหลากหลายของยีสน์ ได้จาก • ความหลากหลายของโครงสร้าง ของสัตว์และพืช(Morphological or Physiological traits) • ความหลากหลายของรูปแบบยีนส์(Allilic Diversity) วัดจาก ความแปรปรวนของยีนส์ที่คล้ายกัน, • ข้อมูลจากการวิเคราะห์โปรตีน, จานวนของยีนส์ที่มีมากเรียกว่า ความหลากหลายของยีนส์ มาตรวัดความหลากหลายของสายพันธ์ • ระดับ จานวนที่พบในชุมชน • แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม • มาตรวัดความหลากหลายของสายพันธ์ 3 กลุ่ม ตัวชี้วัดความมากชนิดของสายพันธ์ ; หน่วยตัวอย่างของจานวนของสายพันธ์จากการสุ่ม • ตัวเลขจานวนความมากชนิดของสายพันธ์(Species Richness) • จานวนของสายพันธ์ทั้งหมดต่อจานวนของแต่ละตัว • ความหนาแน่นของสายพันธ์เช่น จานวนของสายพันธ์ต่อพื้นที่ที่สุ่ม •
  • 15. ตัวแบบความชุกชุมของสายพันธ์ (Species Abundance Models) • ใช้อธิบายการกระจายตัวของสายพันธ์ที่ชุกชุม และวัดอย่างเท่าเทียมกัน เส้นตรง ตัวชี้วัดความหลากหลายของสายพันธ์ • ใช้แบ่งความมากชนิดของสายพันธ์และวัดอย่างเท่าเทียมเป็นเส้นตรง ○ ชานนอน-ไวน์เนอร์ อินเด็กซ์ (Shannon-Wiener Index) ○ ซิมสันอินเด็กซ์ (Simpsom Index) เป็นตัวชี้วัดที่ยากมาก เนื่องจากหน่วยของความ หลากหลายเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกัน • รูปแบบของถิ่นที่อยู่ในชุมชนนั้นๆ • รูปแบบของชุมชนบนพื้นดิน • โครงสร้างของประชากรในช่วงเวลาหรือยุคต่างๆ • ความเป็นพลวัตรของชิ้นส่วนต่างๆปกคลุมพื้นที่ ทั้งนี้ ได้รวมเอาวิธีการสร้างแผนที่ของถิ่นที่อยู่และชุมชน และรวมเอาการตรวจสอบจุดที่มีความ หลากหลายทางชีวภาพสูง(Biodiversity Hotspots) พื้นที่ Biodiversity Hotspot หมายถึงพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงกว่าจุดอื่นๆ ซึ่งส่วน ใหญ่แล้วจะเป็นป่าฝนเขตร้อน ซึ่งกาหนดขึ้นมาเพื่อจัดความสาคัญในการอนุรักษ์ในเชิงพื้นที่ ส่วนเกณฑ์หรือ เงื่อนไขของพื้นที่ที่จะจัดเป็น biodiversity hotspot คือ 1. ต้องเป็นพื้นที่ที่มีพืชที่มีท่อลาเลียง (vascular plant) และเป็นพืชประจาถิ่น (edemic species) มากกว่า 1500 ชนิดขึ้นไป 2. พื้นที่นั้นต้องถูกคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat change) ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 70% ของพื้นที่เดิม อย่างไรก็ตามแนวคิดนี้ยังไม่สมบูรณ์ เพราะยังไม่ได้นาส่วนของทรัพยากรชีวภาพทางทะเลและชายฝั่ง (Coastal and Marine resources) และ ความหลากหลายทางชีวภาพในมหาสมุทรมาพิจารณา เนื่องจาก ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลนั้นยังวัดได้ยากมาก
  • 16. ความหลากหลายทางชีวภาพ กับ พื้นที่และช่วงเวลา แนวคิดความหลากหลายทางชีวภาพกับพื้นที่ที่เป็นเกาะ เป็นความสัมพันธ์ ระหว่างจานวนสายพันธ์ กับปัจจัยด้านพื้นที่ (Spatial Parameter, Wilson, 1963) ผลกระทบของพื้นที่ (Area effect); เกาะที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ มีจานวนสายพันธ์มกกว่าเกาะที่มี ขนาดเล็ก ผลกระทบด้านความห่างไกล(Distance effect); เกาะที่มีที่ตั้งอยู่ใกล้ทวีปหรือเกาะอื่นๆ จะมีจานวน สายพันธ์มากกว่าเกาะที่อยู่ห่างไกลกว่า ความแตกต่างของจานวนสายพันธ์ระหว่างเกาะที่มีขนาดพื้นที่กว้างใหญ่และเกาะที่มีพื้นที่ขนาดเล็ก มี ความสัมพันธ์กับอัตราการเพิ่มจานวนประชากรและการสูญพันธ์ของสายพันธ์บนเกาะทั้งสองลักษณะพื้นที่; • การอพยพไปยังเกาะที่มีพื้นที่ว่าเปล่าจะมีอัตราสูง สายพันธ์ต่างๆจะกระจาย(Dispersal)ได้ดี และ สามารถเข้าครอบครองพื้นที่ที่ว่างเปล่านั้นได้อย่างรวดเร็ว และเมื่อพื้นที่ต่างๆได้ถูกใช้ประโยชน์และเมื่อ จานวนสายพันธ์เพิ่มมากขึ้น การอพยพจะลดลง • อัตราการสูญพันธ์จะเกิดขึ้นเมื่อสายพันธ์บนพื้นที่บนเกาะเพิ่มจานวนมากขึ้นการดารงชีวิตที่มีการ แข่งขันสูงจะทาให้สายพันธ์ต่างๆสูญพันธ์ไปในที่สุด • อัตราการยึดครองพื้นที่(Colonization)จะมีสูงในบริเวณเกาะใกล้เคียงและใกล้แหล่งประชากร จานวนสายพันธ์ต่างๆ ในพื้นที่ที่มีความห่างไกลน้อยจะกระจายตัวมากกว่า ในพื้นที่ที่มีความห่างไกลมาก • อัตราการสูญพันธ์ จะต่าในพื้นที่ของเกาะที่มีบริเวณกว้าง เนื่องจากพื้นที่ที่มีความใหญ่โต กว้างขวางจะมีความหลากหลายของระบบนิเวศน์ ขณะเดียวกัน พื้นที่ที่มีความใหญ่โตกว้างขวางจะสามารถ รองรับจานวนประชากรที่มากได้ อีกทั้งสภาพภูมิประเทศในสภาพที่สนองตอบความต้องการของสายพันธ์ที่ ต้องการแยกกลุ่มประชากรออกไปอยู่ เพียงลาพัง นอกจากนั้นยังนาไปสู่การดารงชีวิตและกระบวนการเพิ่ม สายพันธ์อีกด้วย
  • 17. แผนภาพที่ 12 อัตราการเพิ่มขึ้นของสายพันธ์ต่ออัตราการเพิ่มของแต่ละสายพันธ์ ž แผนภาพที่ 13 ร้อยละของสายพันธ์ในเขตชื้นแฉะที่ส่งเสริมสายพันธ์อื่นแต่ละสายพันธ์โดยพิจารณาขนาด ž จานวนสายพันธ์
  • 18. จานวนสายพันธ์จะถึงจุดสมดุลต่อเมื่อ อัตราการกระจายตัวของสายพันธ์(Colonization) เท่ากับ อัตราการสูญพันธ์ จานวนที่มีสมดุลของสายพันธ์ในเกาะที่มีขนาดกว้างใหญ่ใกล้แผ่นดินจะมีสูงกว่าเกาะที่มีพื้นที่ ขนาดเล็กและห่างไกลจากแผ่นดิน ถิ่นที่อยู่บนเกาะ(Habitat Island) ตัวแบบของความสัมพันธ์ระหว่างสายพันธ์กับพื้นที่ ; มีพื้นที่ที่ขยายออกไปจากพื้นที่เกาะเพื่อ ปกป้องพื้นที่รอบๆเกาะ แต่ไม่ได้หมายถึงการปกป้องถิ่นที่อยู่ของสายพันธ์ต่างๆ ภายใต้ฐานคติของความสัมพันธ์นี้ คือ หากบนเกาะมีจานวนสายพันธ์ที่แน่นอน การลดลงของพื้นที่เกาะมีผลต่อการลดจานวนลงของสายพันธ์ จะเห็นได้ว่า ความสัมพันธ์ในเชิงปริมาณของงานวิจัยด้านถิ่นที่อยู่ พบว่า 10%ของสายพันธ์ซึ่ง ปรากฏในถิ่นที่อยู่บนเกาะจะหายไป เมื่อพื้นที่ของเกาะถูกทาลายหรือลดลง 50% และจะสูญพันธ์ไปในที่สุด เมื่อเนื้อที่เกาะหายไปจานวน 90% ž แนวทางตามความคิดของถิ่นที่อยู่บนเกาะ สามารถนามาประยุกต์ เพื่ออธิบายในพื้นที่เขตร้อนชื้น ( Tropical Rain Forest) สายพันธ์มีนัยสาคัญที่จะหายไปจากเขตร้อนชื้น เมื่อป่าถูกทาลายและทาให้ถิ่นที่อยู่แตกออกเป็น เสี่ยงเสี้ยว(Fragmentation) หากพื้นที่ป่าในเขตร้อนร้อนชื้นของโลกถูกทาลายไปปีละเพียง 1% วิลสัน(Wilson,1989) ประมาณการว่า สายพันธ์จะหายไป 20,000-30,000 สายพันธ์/ปี หากคาณวนจากพื้นฐาน 10 mio สายพันธ์ หากเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ พบว่า การสูญหายของสายพันธ์อยู่ที่ 2% และ 11% ต่อรอบ 10ปี The greatest loss with the longest-lasting effects from the ongoing destruction of wilderness will be the mass extinction of species that provide Earth with biodiversity. Although great extinctions have occurred in the past, none has occurred as rapidly or has been so much the result of the actions of a single species. The extinction rate of today may be 1,000 to 10,000 times the biological normal, or background, extinction rate of 1-10 species extinctions per year. การแพร่กระจายของความหลากหลายทางชีวภาพในโลก ž กฎของแรบโพพอร์ท (Rappoport’s Rule, 1982) ใช้ในการแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านสภาพ อากาศ ระดับพื้นที่ซึ่งวัดจากระดับน้าทะเลเป็นต้น ); ความชุกชุมของสายพันธ์(Species Richness) ของพืช และสัตว์จะเพิ่มขึ้นตามสภาพของระดับความ สูงจากระดับพื้นราบ (altitudes) ความหลากหลายทางชีวภาพที่ระดับสูงกว่าจะได้รับการเกื้อกูลจากป่าร้อนชื้นในที่ราบ ซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุม 6-7% จากพื้นที่ทั้งหมด แต่อาจมีสายพันธ์มากกว่า 50% ของสายพันธ์ทั้งหมด สาเหตุที่ความหลากหลายทางชีวภาพมีการแพร่กระจายไม่เท่ากัน(Uneven Distribution)
  • 19. เวลา(Time); ช่วงเวลาของการวิวัฒนาการที่ยาวนาน และความรวดเร็วของการวิวัฒนาการ ภายใต้สภาวะค่อนข้างคงที่ และสภาพเงื่อนไขที่ดีอันเป็นสาเหตุเบื้องต้นที่ทาให้เกิดความหลากหลายของสาย พันธ์ในเขตร้อน ž ผลิตภาพหรือผลิตผล(Productivities); บนพื้นฐานของผลผลิตในเขตร้อนที่มีสูง ทาให้เกิดความ หลากหลายทางชีวภาพที่ กว้างขวาง ž ฤดูกาล (Seasonality); ,ไม่มีชัดเจนมากนักว่า ฤดูกาลเป็นเงื่อนไขของความหลากหลายของสาย พันธ์แต่มีผลที่ชัดเจนต่อการครอบครองพื้นที่ของสายพันธ์ต่างๆและวิถีการดารงชีวิต(Niches) ของสายพันธ์ ณ ระดับของพื้นที่ทู่งกว่า สายพันธ์จะมีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลได้ดีกว่า และสามารถ ครอบครองและอาศัย(Occupying) ในถิ่นที่อยู่อย่างกว้างขวาง ž การรบกวนหรือภาวะผิดปกติ(Disturbances) สภาวะการรบกวนหรือชงักงัน จากกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติเช่น ไฟป่า น้าท่วม ไม่ได้ทาให้สายพันธ์ต่างๆชงักงัน แต่ยังคงเกิดความหลากหลาย ในระดับสูง การจัดกระทาต่อความหลากหลายทางชีวภาพ(Threats to Biodiversity) การจัดกระทาต่อการสูญพันธ์ การเกิดสภาวะตึงเครียดต่อสายพันธ์ที่กาลังสูญพันธ์ ทาเกิดการสูญเสียสภาวะความหลากหลาย ทางชีวภาพ แม้ว่า ความหลากหลายของชุมชนหรือระบบนิเวศน์ จะถูกทาลาย แต่ในระยะยาว ต้นกาเนิดสาย พันธ์ยังคงดารงอยู่ ระบบนิเวศน์ยังมีศักยภาพในการกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ การเปลี่ยนแปลงภายในสายพันธ์ทา ให้จานวนประชากรลดต่าลง แต่สายพันธ์สามารถเปลี่ยนแปลงกลับคืนมาได้ เมื่อสายพันธ์หนึ่งสูญพันธ์ ชุมชนอ่อนแอ สารสนเทศทางยีนส์หายไป และมีศักยภาพเชิงคุณค่าต่อ มนุษย์ ซึ่งมนุษย์ไม่เคยสานึกในคุณค่าเหล่านี้ การสูญพันธ์ในรูปแบบต่างๆ (Types of Extinction) การสูญพันธ์ที่เกิดขึ้นระดับโลก เป็นการสูญพันธ์ของสายพันธ์ที่ไม่มีจานวนสายพันธ์ดารงอยู่เลยในโลกการสูญพันธ์ในระดับภูมิภาค เป็นการสูญพันธ์ของสายพันธ์ในที่หนึ่งแต่อาจพบเห็นในอีกพื้นที่หนึ่งของภูมิภาคโลก การสูญพันธ์ในระบบนิเวศน์ สายพันธ์สามารถอดทนและยืนหยัดอยู่ได้แต่มีจานวนลดลง ซึ่งมีผลต่อชุมชนที่เล็กมากๆในระบบ นิเวศน์ มนุษย์เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการสูญพันธ์ 1 ถึง10 ล้านปีมาแล้ว มีสายพันธ์ที่สูญหายไป และมีสายพันธ์ที่กาเนินขึ้นมาใหม่ 10 ล้านสายพันธ์ เกิดขึ้นบนโลก 1ใน10 ของสายพันธ์บนโลกสูญหายไปเพราะผลจากสภาพธรรมชาติ ส่วนหนึ่ง อัตราการสูญ พันธ์เพิ่มมากขึ้น จากการกรทาของมนุษย์ ทุกๆ 10 ปี การสูญพันธ์ของสายพันธ์สัตว์ปีก และแมมมอส จะ เกิดขึ้น อัตราการสูญเสีย คือ 1สายพันธ์ ใน ค.ศ. 1600 ถึง 1700 และสูญเสียสายพันธ์พืช กุหลาบ 1 สาย พันธ์ทุกๆ 10 ปีเช่นเดียวกัน นับจากค.ศ. 1850 -1950
  • 20. E.O. Willson,( 2007) ประมาณการว่า การสูญเสียสายพันธ์ ในเขตร้อนชื้นหรือป่าฝน ถึง 27000 สายพันธ์ต่อปี หรือ 74 สายพันธ์ต่อวัน และ 3 ชั่วโมง หลายๆสายพันธ์ยังคงไม่มีการสูญพันธ์แต่มีจานวนที่ ลดลง เนื่องจากการสูญเสียระบบนิเวศน์ ซึ่งในปัจจุบันเป็นสิ่งที่ชี้แสดงถึงสภาวะการสูญเสียในอนาคตอันสั้น สภาวะความอ่อนไหวต่อการสูญพันธ์ เมื่อสภาพแวดล้อมถูกทาลาย ด้วยฝีมือของมนุษย์ จานวนประชากรจะลดขนาดลง หลายๆสายพันธ์ กาลังสูญพันธ์ บางสายพันธ์อยู่ในสภาวะอ่อนไหวหรือเสี่ยงมากได้แก่ สายพันธ์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณสภาพ ภูมิศาสตร์ที่คับแคบ สายพันธ์ที่เหลือเพียงสายพันธ์เดียวหรือมีจานวนประชากรน้อย สายพันธ์ที่มีประชากร ขนาดเล็ก สายพันธ์ที่ต้องการบริเวณพื้นที่ที่อาศัยขนาดกว้างใหญ่ สายพันธ์ที่มีขนาดรูปร่างใหญ่โต สายพันธ์ที่มี อัตราการเพิ่มของประชากรต่า สายพันธ์ที่ไม่มีศักยภาพในการแพร่พันธ์ได้ สายพันธ์ซึ่งย้ายถิ่นฐาน สายพันธ์ที่ ต้องการเงื่อนไขเฉพาะในการดารงชีวิต( Species with Specialized Niche) สายพันธ์ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม ที่คงที่ สายพันธ์ที่มาจากถิ่นกาเนิดถาวรหรือชั่วคราว สายพันธ์ที่ถูกล่าโดยมนุษย์ สาเหตุการสูญพันธ์: การใช้ประโยชน์ส่วนตัว (Exploitation) กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ เช่น การล่าเพื่ออุตสาหกรรมการค้า การขยายพื้นที่การเกษตร การ ล่าเพื่อเป็นอาหาร หรือเพื่อสนุกทาให้เกิดการลดน้อยลงของสายพันธ์ การสูญพันธ์ด้วยน้ามือมนุษย์ ทาให้เกิดการสูญพันธ์เป็นจานวนมาก 73 % ของสายพันธ์ที่เลี้ยงลูก ด้วยนม(Mammal) ซึ่งอาศัยอยู่ในอเมริกาเหนือ (80% ในอเมริกากลาง) ในยุค ไพลสโตซีน(Pleistocene) สูญพันธ์ ในขณะที่มนุษย์มาจากเอเชียเมื่อ 10,000ปีมาแล้ว ในออสเตเรีย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสูญพันธ์ด้วย อัตราเดียวกัน สายพันธ์นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่มีเหลืออยู่ในเกาะมาดากาสก้า หลังจากที่มนุษย์อพยพ จากแหลมมาลายา และบริเวณรอบๆแหลมมาลายาเข้าไปอาศัยอยู่เมื่อ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช การสูญพันธ์ที่เกาะนิวซีแลนด์ก็มีลักษณะคล้ายกันเกิดขึ้นเมื่อ 1000 ปีก่อนคริสต์ศักราช จานวนสาย พันธ์อยู่ในสภาพที่มีปัญหา เนื่องจากการล่าและการเก็บเกี่ยวประโยชน์ของมนุษย์ที่มีมากเกินความจาเป็น สาเหตุอื่นๆได้แก่ • การพัฒนาเครื่องมือการในการล่าสัตว์(อาวุธ) • การล่าเพื่อวัตถุประสงค์ด้านการตลาด • การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน • ความยากจน ตัวอย่าง เช่น การล่าตัวบีเวอร์ มาทาอาหารในอเมริกาและยุโรป • การล่าปลาวาฬ เพื่ออุตสาหกรรมและการค้าโดยเฉพาะในญี่ปุ่น
  • 21. แผนภาพที่ 14 การล่าปลาวาฬมาเป็นอาหารของมนุษย์ สาเหตุการสูญพันธ์จากการที่ถิ่นที่อยู่ถูกทาลาย (Habitat Destruction and Degradation) สาเหตุหลักของการสูญพันธ์เนื่องจากถิ่นที่อยู่ถูกทาลาย เช่น ผลกระทบด้านลบจากถิ่นที่อยู่ในเขตร้อนชื้น หรือป่าดิบชื้น (tropical Rain Forests) เช่น การตัดไม้ การรุกพื้นที่ป่าเพื่อการเกษตร น้าท่วม เขตป่าดิบชื้น อาจไม่มีฝนตกหลายเดือนติดต่อกันทาให้เกิดความแห้งแล้งของป่า(Tropical Dry Forest) ป่าชายเลน อันมี ระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์และอาจถูกทาลายจากมนุษย์(Mangroves) ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ส่วนใหญ่ถูกทาลายจาก การเข้าทาการเกษตรและเกิดการสูญเสียสายพันธ์อย่างถาวร(Temperate Grassland) เกาะต่างๆซึ่งเกาะ หลายแห่งถูกนาไปใช้ในเชิงเศรษฐกิจทาให้เกิดการทางายสายพันธ์ พื้นที่ชื้นแฉะและทะเลสาบ(Wetland and Lakes) ซึ่งมักจะนาไปใช้ในการสร้างเขื่อน และระบบชลประทาน ถิ่นที่อยู่ถูกแบ่งออกเป็นเสี่ยงเสี้ยว ทาให้สายพันธ์ถูกแยกออกจากกันซึ่งอาจมาจากสาเหตุ • ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ที่ใช้เป็นถิ่นที่อยู่(Edge Area) • ศูนย์กลางของถิ่นที่อยู่ ใกล้กับพื้นที่ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบของถิ่นที่อยู่ที่เป็นเสี่ยงเสี้ยว(Fragmentation) ผลด้านลบ; ขนาดของประชากร และการเคลื่อนย้ายของสายพันธ์ ถิ่นที่อยู่ที่เป็นเสี่ยงเสี้ยว ทาให้ ขนาดของประชากรลดลง ถิ่นที่อยู่ที่เป็นเสี่ยงเสี้ยวทาให้เกิดการแตกกระจายของสายพันธ์(Dispersal) การ ผสมพันธ์ในสายเลือดใกล้ชิดหรือข้ามสายพันธ์ (Mating) เกิดกระบวนการสร้างถิ่นที่อยู่ใหม่ (Colonization) ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่อยู่ (Edge Effect) การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ชายขอบป่าหรือพื้นที่ที่อยู่บริเวณแนวขอบป่าซึ่งเชื่อมโยงกับพื้นที่ป่าโดย ปกติจะเกิดกับพื้นที่ที่ถูกแบ่งแยกทาให้สภาพภูมิอากาศเฉพาะพื้นที่นั้น เกิดการเปลี่ยนแปลง(Microclimatic) เช่น ได้รับแสงแดดมากกว่าปกติ มีอุณหภูมิที่แตกต่างจากพื้นที่อื่นๆ ลมสามารถพัดเข้าสู่พื้นที่ที่เกิดผลกระทบนี้ได้ง่าย ทาให้เกิดการทาลาย และการระเหยของน้าบน พื้นผิวดินเกิดสภาวะความแห้งแล้ง และความแห้งของอากาศ
  • 22. การเกิดสิ่งดังกล่าว อุณหภูมิจะสูงขึ้น ความแห้งของอากาศทาให้เกิดไฟป่าได้ง่าย และอาจลุกลาม ไป ยังถิ่นที่อยู่ของสายพันธ์ต่างๆซึ่งอยู่รอบๆบริเวณพื้นที่นั้น และเกิดการรุกรานของสายพันธ์ในถิ่นอื่น หรือสาย พันธ์ผู้รุกราน หรือโรคติดต่อ การเสื่อมสลายของถิ่นที่อยู่และการเกิดมลภาวะ(Degradation and Pollution) การเสื่อมสลายของถิ่นที่อยู่ เช่น ทาให้เกิดสภาพทะเลทราย(Desertification) เกิดไฟป่าได้ง่าย เกิด การสูญเสียหน้าดิน (Erosion) ดินเสื่อมสภาพ (Soil Degradation) มลภาวะ เกิดพิษจากสารเคมีตกค้างเนื่องจากการทาการเกษตร เกิดมลภาวะของน้าที่ปนเปื้อน สารเคมี มลภาวะทางอากาศ สภาพอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลงไป สาเหตุแห่งการสูญพันธ์โดยการถูกย่ายีทางชีวภาพ (Biological Invasion) การแพร่กระจายจานวนของสายพันธ์ต่างๆจะถูกจากัดลงด้วยไม่สามารถที่จะข้ามอาณาเขตของ สภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นได้ จากผลของการเปลี่ยนแปลงแนวขอบชายป่า(Edge Effect) หรือการแยกถิ่นที่อยู่ ออกจากกัน การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเดินทางข้ามถิ่นที่อยู่ที่ถูกแยกออกจากกันของสายพันธ์โดยมนุษย์และการ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมเสียใหม่ การกระทาของมนุษย์โดยไม่เจตนา เป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดการสูญพันธ์ เช่น การปลูกพืชไร่และ การปลูกพืชไม้ประดับ(การเกษตร) การทาปศุสัตว์ การล่าสัตว์เป็นเกมกีฬา อุบัติเหตุจากการเดินทางไปมาหาสู่ กันของสายพันธ์ การทาถิ่นที่อยู่เสียใหม่ การสร้างแหล่งอพยพใหม่ สภาวะโลกร้อน
  • 23. คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ • คุณค่าต่อระบบนิเวศน์ (Ecological Value) • คุณค่าด้านจริยธรรม (Ethic Values) • คุณค่าของความเป็นศาสตร์(Science Values) • คุณค่าต่อเศรษฐกิจ (Ecolnomic Value) คุณค่าต่อระบบนิเวศน์ (Ecological Value) คุณค่าต่อระบบนิเวศน์ (Ecological Value) ก่อให้เกิดความหลากหลายของยีนส์ (Genetic Diversity) ดารงรักษายีนส์ของสายพันธ์ต่างๆและทาให้เกิดวิวัฒนาการที่ซับซ้อน โดย การถ่ายทอดทาง พันธุกรรม จากรุ่นสู่รุ่นในกรณีเกิดผลกระทบทางลบ การเลี่ยงการผสมในสายเลือดใกล้ชิด คุณค่าของระบบ นิเวศน์ต่อความหลากหลายของสายพันธ์ การดารงรักษาหน้าที่ของความหลากหลาย ในระบบนิเวศน์ ซึ่งใน ระบบนิเวศน์หนึ่งๆจะมีสายพันธ์ที่หลากหลายทาหน้าต่างกัน ในระบบนิเวศน์ที่มีความหลากหลายสูง เช่น ป่าดิบชื้น ความสัมพันธ์ของสายพันธ์ไม่สามารถทาหน้าที่ แทนกันได้ พืชดอกจะมีหน้าที่ในการถ่ายเกสรแก่พืชดอกในสายพันธ์เดียวกันเท่านั้น ความสัมพันธ์ภายในระหว่างสายพันธ์และความมีเสถียรภาพของระบบนิเวศน์ ขึ้นอยู่กับ จานวนที่คงที่ ของสายพันธ์หรือของจานวนสายพันธ์แต่ละสายพันธ์ ความสามารถของระบบนิเวศน์ต่อการดารงรักษาหรือ การกลับเข้าสู่การเริ่มต้นใหม่หลังจากถูกขัดขวางหรือถูกทาลาย แนวคิดที่สองถือว่า ระบบนิเวศน์ที่มีจานวนสายพันธ์ต่าสามารถจัดให้เป็นระบบนิเวศน์ที่มีเสถียรภาพ ได้ คุณค่าของระบบนิเวศน์ต่อ ประชากรหรือความหลากหลายของระบบนิเวศน์ ชุมชนหรือความหลากหลาย ของระบบนิเวศน์ เป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อการดารงรักษาสิ่งต่อไปนี้ในขอบเขตที่กว้าขวาง ความหลากหลายของยีนส์ (Genetic Diversity) และความหลากหลายของสายพันธ์ (Species Diversity) มีคุณค่าต่อระบบนิเวศน์ คือระบบนิเวศน์จะทาให้เกิดและดารงรักษา ความหลากหลายของยีนส์ และสายพันธ์ทั้งนี้ สายพันธ์ต่างๆ ต่างมีหน้าที่ในระบบนิเวศน์ ดังนั้น จึงจาเป็นต้องรักษาความหลากหลายของสายพันธ์ในระบบนิเวศน์และในกลุ่มประชากรของ สายพันธ์ให้นานที่สุด คุณค่าทางจริยธรรม (Ethical Values) จริยธรรมเป็น ปรัชญาของคุณธรรม; เป็นระบบหรือ ทฤษฎีของคุณค่าทางคุณธรรมหรือเป็นหลักการ จริยธรรมด้านสิ่งแวดล้อมจะเกี่ยวข้องกับคาถามที่ว่า การแสดงออกทางพฤติกรรมที่ผิดหรือถูก ต่อการเห็น คุณค่าต่อสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์และสิ่งแวดล้อม ข้อโต้แย้งด้านจริยธรรม ข้อโต้แย้งของ สตีเวิร์ดชิพ(Stewardship, 2014.Wikipedia, the free encyclopedia) ด้านการใช้ ทรัพยากรไม่ควรใช้ให้ทรัพยากรที่มีอยู่ไปในทางที่ไร้ประโยชน์ แต่ควรนามาใช้ประโยชน์โดยคานึงถึงอนาคต ข้างหน้า (ใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน) ข้อโต้แย้งของ เออเนส รีแนน(Ernest Renan,1982) ด้านสิทธิในการดารงอยู่ร่วมกัน(Right to Exist)
  • 24. สายพันธ์ต่างๆและระบบนิเวศน์ มีคุณค่าในตัวเอง ซึ่งมีอิสระสาหรับคุณค่าของการใช้ประโยชน์ที่คุ้มค่าของตน เพื่อมนุษย์ และนี่คือสิทธิการดารงอยู่ร่วมกัน (Deep Ecology, 2012. Wikipedia, the free encyclopedia) สายพันธ์และระบบนิเวศน์ ถูกสร้างโดยพระเจ้า ดังนั้นจึง มีความศักดิ์สิทธิ์และมีสิทธิในการดารงอยู่ คาว่า คุณค่าของธรรมชาติ คือ “ต้นกาเนิดอันบริสุทธิ์” ข้อโต้แย้งภายใต้แนวคิดนี้เสนอว่า ธรรมชาติทั้งมวล หรือ อย่างน้อยส่วนหนึ่งของธรรมชาติควรได้รับการถนุถนอมเนื่องจากแนวคิดต้นกาเนิดอันบริสุทธิ์ เห็นว่า เพราะสิ่ง ดังกล่าว มีคุณค่าทางจริยธรรม (Ethic Value) สิ่งดังกล่าว มีคุณค่าทางจิตวิญญาณเนื่องจาก เป็นการดลบันดาลจากสิ่งศักดิ์สิทธ์(Inspirational Value) ธรรมชาติก่อกาเนิดจากพระเจ้า (Embodiment of God) ธรรมชาติเป็นที่ๆซึ่งให้มนุษย์อาศัยอยู่ คุณค่าของความเป็นศาสตร์ (Science Values) ระบบนิเวศน์มีคุณค่าต่อการศึกษาด้านธรรมชาติ แนวคิดนี้ เกี่ยวข้องต่อการศึกษาและการเสนอ แนวทางในการปกป้องพื้นที่ทางธรรมชาติอย่างมาก เป็นคุณค่าที่สร้างจากความรู้สึก อารมณ์ และความงดงาม ซึ่งเป็นสุนทรียภาพ คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพต่อคุณค่าทางเศรษฐกิจ(Economic Values) มีคุณค่าต่อการให้เก็บเกี่ยวผลประโยชน์ คุณค่าทางการตลาดและการเป็นทรัพยากร มีคุณค่าด้าน ทรัพยากรในตัวมันเอง มีคุณค่าต่ออนาคตของทรัพยากร คุณค่าทางเศรษฐกิจแบ่งเป็น • คุณค่าโดยตรง หรือคุณค่าทางการค้า(Direct Values or Commodity Values) • คุณค่าโดยอ้อม(Indirect Values) คุณค่าโดยตรง หรือคุณค่าทางการค้า(Direct Values or Commodity Values) ทาให้เป็นผลผลิตซึ่ง ถือเป็นการเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ได้โดยตรงของมนุษย์ ได้แก่ คุณค่าในการใช้บริโภค แบ่งเป็น • การผลิตเพื่อการบริโภคเฉพาะในท้องถิ่น ไม่สามารถนาผลผลิตออกสู่ตลาดได้ เช่น ถ่านจากไม้ เนื้อสัตว์ป่า เป็นต้น • ผลิตเพื่อการบริโภคของผู้บริโภคทั่วไป ผลิตเพื่อออกสู่ตลาดผู้บริโภค ทั้งในท้องถิ่นและตลาดใน ระดับอื่นๆ คุณค่าด้านการใช้ผลผลิต (Productive Use Value) ผลผลิตจะเก็บเกี่ยวจากแหล่งต่างๆไปสู่ตลาด การค้า ผลผลิตจะมีคุณค่าในด้าน คุณค่าโดยอ้อม(Indirect Values) พิจารณาจากลักษณะของความหลากหลายที่เกิดจากระบบชีวภาพ เช่น กระบวนการของสิ่งแวดล้อม กระบวนการของระบบนิเวศน์ซึ่งให้ประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจ และประโยชน์ อื่นๆแก่มนุษย์ ได้แก่ • คุณค่าที่ไม่ใช่การบริโภค • การบาบัดน้าเสีย • การป้องการดินเสื่อม • การฟื้นฟูสภาพอากาศ • การขจัดคาร์บอนไดออกไซด์
  • 25. • การกาจัดของเสีย • การนาความสัมพันธ์ระหว่างสายพันธ์มาใช้ประโยชน์ เช่น การผสมเกสร การกระจายเมล็ดพันธ์ (Seed dispersers) การใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตในดิน เป็นต้น • การนาประโยชน์ของระบบนิเวศน์มาสร้างเป็นแหล่งท่องเที่ยว • การใช้คุณค่าเพื่อการศึกษา ทางเลือกของคุณค่า (Option Values) เป็นการนาศักยภาพของสายพันธ์มาใช้ประโยชน์ ซึ่งแล่งเป็น ด้านเศรษฐกิจและประโยชน์ด้านอื่นๆ ในอนาคต ทางเลือกเชิงคุณค่าของสายพันธ์ดังกล่าว ได้จากการค้นพบ สิ่งที่เป็นผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกจากสายพันธ์ที่มีอยู่มากมาย โดยเฉพาะใช้ประโยชน์จากสายพันธ์แก่มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นด้าน อาหาร และยารักษาโรค และวัคซีนป้องกันโรค คุณค่าต่อการดารงอยู่ (Existence Values) เป็นจิตสานึกของมนุษย์ต่อการกระทาให้สายพันธ์ ชุมชน ภูมิทัศน์หรือภูมิประเทศที่สายพันธ์อาศัย ดารงอยู่ต่อไป ไม่ว่าจะมีการลงทุนด้านค่าใช้จ่ายเท่าใดก็แล้วแต่
  • 26. ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์ ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ที่มีต่อกันและมีต่อสภาพแวดล้อที่สิ่งมีชีวิเหล่านั้น ดารงอยู่ ทรัพยากรธรรมชาติ • เป็นของขวัญจากธรรมชาติทั้งที่เป็นสิ่งที่มีชีวิตและองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต • เป็นสิ่งที่สามารถใช้ได้อย่างไม่จากัดจานวน และบางสิ่งบางอย่างต้องจากัดการใช้ • เป็นสิ่งที่สามารถใช้ประโยชน์ และหรือไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ การมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติอาจมีรูปแบบต่างๆ • รูปแบบของการเป็นผู้ใช้ประโยชน์(การบริโภค เช่น นาไปเป็นผลผลิต และไม่ใช่พื่อการบริโภค เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การบันเทิง • การปกป้องรักษาเช่น การสร้างหรือจัดการเพื่อการปกป้องอนุรักษ์พื้นที่ • การปรับให้เกิดความเหมาะสม การจัดการให้เกิดความเหมาะสม เช่นการจัดการป่าไม้ เป็นต้น สองสานักคิดด้านการจัดการเพื่อการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ สานักคิด ซึ่งเน้นการ อนุรักษ์และปกป้องรักษา และสานักคิดซึ่งเน้น การเพิ่มปริมาณหรือโอกาสในการสูญพันธ์ แนวความคิดของสองสานักนี้มีความขัดแย้งกันอยู่ แต่ทว่า แนวคิดทั้งสองสามารถเชื่อมโยงเพื่อนาไปสู่ ความยั่งยืนในการก่อให้เกิดความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ ดังนั้น จึมีคาถามที่ว่า จะมีวิธีการจัดการอย่างไรจึงจะสามารถนาไปสู่ความยั่งยืนได้ ความยั่งยืนคือรูปแบบของการใช้ทรัพยากรที่มีความต่อเนื่องไม่ลดน้อยลง ข้อวิพากษ์ต่อความยั่งยืนซึ่ง ไม่เห็นด้วยกับความแตกต่างกันของทรัพยากร ความยั่งยืนสามารถมองจากมุมต่างๆได้แก่ ระบบนิเวศน์ เศรษฐศาสตร์การค้า และ มุมมองทางสังคม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบยั่งยืน จาเป็นต้องเข้าใจถึง กลไกที่นาไปสู่สิ่งที่ทาให้เกิดความเข้าใจว่า ทรัพยากรคือผลผลิต
  • 27. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติเน้นการจัดการเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างระบบนิเวศน์ที่สมดุล ทรัพยากร วัตถุประสงค์ของการ พัฒนา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบ นิเวศน์ คาถามในการจัดการ น้า(ชีวภาพ) น้าสะอาด การปกป้องแหล่งน้า สามารถจัดการเพื่อการ ปกป้องแหล่งน้าได้หรือ พืช(ผลผลิต ชีวภาพ) การสร้างความยั่งยืน ผลิตขึ้นมาใหม่ สร้างรุ่น ใหม่ๆ; การผสมเกสร ผู้ผสมเกสรดอกไม้ อัตราการเจริญเติบโต สุขภาวะ จะจัดการอย่างไรต่อปัจจัยที่ เป็นผลกระทบและทาให้เกิด ความสาเร็จ ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบนิเวศน์และการจัดการ สัตว์ (ชีวภาพ) การสร้างความ ยั่งยืนให้สายพันธ์ พลวัตรของประชากร, นิสัย, ความหนาแน่นในถิ่นที่ อยู่ จะจัดการกับปัจจัยที่มี ผลกระทบอย่างไร การอนุรักษ์ ระบบ นิเวศน์ กลไก ที่มีต่อการ สนับสนุนเพื่อการดารง ไว้ซึ่งความหลากหลาย ทางชีวภาพ อะไรคือผลกระทบของ การจัดการ ด้านกลไก ดังกล่าวและความ หลากหลาย
  • 28. แผนภาพที่ 15 วงจรการจัดการระบบนิเวศน์ การจัดการระบบนิเวศน์ กระบวนการที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศที่สาคัญและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ใน ขณะเดียวกัน สามารถสนองความต้องการทางเศรษฐกิจและสังคมการเมืองและวัฒนธรรมและของคนรุ่น ปัจจุบันและอนาคต วัตถุประสงค์หลักของการจัดการระบบนิเวศเป็นการบารุงรักษาที่มีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร มีวิธีการที่หลากหลายและเป็นแบบองค์รวมซึ่งเป็นวิธีการเพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ โดยวิธีในการบริหารจัดการระบบนิเวศจะต้องมีประสิทธิภาพ มีการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทั้งใน ระดับท้องถิ่นหรือแนวนอนและเกี่ยวข้องกับการจัดการเพื่อการปรับตัว การจัดการเชิงกลยุทธ์ การสั่งการและการควบคุม การจัดการเชิงกลยุทธ์ เป็นวิธีกาจัดการซึ่งเน้นรูปแบบเพื่อให้เกิดแนวทาง เป้าหมายที่ชัดเจนและ ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการ ซึ่งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์ การจัดการเชิงกลยุทธ์และการ สั่งการมีรูปแบบต่างๆ
  • 30. แผนภาพที่ 18 ตัวแบบการจัดการระบบนิเวศน์ แผนภาพที่ 19 การจัดการระบบนิเวศน์ซึ่งใช้ชุมชนเป็นฐาน
  • 31. แผนภาพที่ 20 กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนการจัดการระบบนิเวศน์ แผนภาพที่ 21 กรอบแนวคิดการจัดการระบบนิเวศน์เชิงบูรณาการ
  • 32. การกาหนดนิยามการจัดการระบบนิเวศน์(Formulations) มีหลักการหลายหลักการ กาหนดนิยามการดาเนินงานเพื่อจัดการระบบนิเวศน์ไว้หลายประการ การจัดการระบบนิเวศน์เป็น สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการของค่านิยมทางสังคมและการให้ ความสาคัญซึ่งไม่มีการเริ่มต้นหรือสิ้นสุด การจัดการระบบนิเวศน์เป็น การดาเนินงานทีชัดเจนและมีการกาหนดอย่างเป็นทางการ ไม่ว่าจะเป็น สถานที่ที่ใช้ และขอบเขตในการจัดการ การจัดการระบบนิเวศน์ควรเป็นการดารงไว้ซึ่งระบบนิเวศน์ตามเงื่อนไขที่เหมาะสมและก่อให้เกิด ความสาเร็จด้านผลประโยชน์ทางสังคม การจัดการระบบนิเวศน์ ควรใช้ประโยชน์จากความสามารถของระบบนิเวศน์เพื่อตอบสนองต่อสิ่งที่ทา ให้เกิดสภาพตึงเครียดต่างๆ ตอบสนองต่อธรรมชาติของมนุษย์และตอบสนองต่อสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่ ความสามารถของระบบนิเวศน์ทีข้อจากัดในการรองรับความตึงเครียดและมนุษย์ยังคงรักษาสถานะในสิ่งที่ มนุษย์ต้องการไว้ การจัดการระบบนิเวศน์อาจจะหรือไม่อาจจะเน้นถึงผลของความหลากหลายทางชีวภาพ คาจากัด ความของความยั่งยืน หากนามาใช้ในการจัดการระบบนิเวศน์ทั้งหมดควรมีความชัดเจนโดยเฉพาะ ความ เกี่ยวข้องด้านกรอบของเวลาต้นทุนและผลประโยชน์ที่ได้รับ รวมทั้งการ ความสัมพันธ์ของการจัดลาดับ ความสาคัญและต้นทุน การกาหนดอย่ามีระบบ มีความสาคัญอย่างมากต่อประสิทธิผลของการจัดการระบบนิเวศน์ แต่ยังคง เป็นองค์ประกอบหนึ่งในกระบวนการตัดสินใจอันเป็นพื้นฐานอย่างหนึ่งของสาธารณะและการเมือง ดังนั้น การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการระบบนิเวศน์ยังคงไม่มีความชัดเจนนัก และยังคงมี การโต้แย้ง ความขัดแย้งอยู่ เนื่องจากส่วนหนึ่งถูกกาหนดด้วยกระบวนการทางนโยบาย และแนวคิดด้านวิทยา ศาตร์ของนักวิทยาศาสตร์ ก็แสดงออกในเชิงดื้อรั้นในแนวคิดของตนรวมทั้งการแข่งขันชิงดีชิงเด่น การมีจุดยืนในแนวคิดเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการทรัพยากรและต่อกาจัดการระบบนิเวศน์ ผู้จัดการซึ่งดาเนินงานภายใต้นโยบายของรัฐและระบบราชการกับผู้จัดการซึ่งอยู่ในองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรรัฐ มักจะโต้แย้งและเกิดข้อขัดแย้งกันเสมอ ทั้งหมดคือวิวัฒนาการที่ผ่านมาของแนวทางการจัดการระบบนิเวศน์ และสิ่งแวดล้อม
  • 33. ž แผนภาพที่ 22 กระบวนการจัดการเพื่อการอนุรักษ์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders) เป็นบุคคลหรือกลุ่มคนที่ได้รับผลกระทบจากการตัดสินใจและการกระด้านสิ่งแวดล้อม แต่ อาจมีอานาจและอิทธิพลต่อผลลัพธ์ของการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบนิเวศ เป็นการตัดสินใจต่อการบริหารจัดการระบบนิเวศจากท้องถิ่นที่มีความซับซ้อน มีการชั่งน้าหนัก ความสาคัญระหว่างผู้มีส่วนร่วม หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความหลากหลายของความรู้ การรับรู้และค่านิยมต่อ ระบบนิเวศน์และทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย ผู้มีส่วนได้เสียมักจะมีความสนใจที่แตกต่างกันต่อประโยชน์ ที่ได้รับจากระบบนิเวศ ซึ่งหมายความว่าการจัดการที่มีประสิทธิภาพของระบบนิเวศ ต้องใช้ขั้นตอนการเจรจา ต่อรองที่พัฒนาไปสู่ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะในประเด็นที่สนใจร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างความร่วมมือและสานประโยชน์ร่วมกัน