SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Kingdom Monera
อาณาจักรมอเนอรา
สารบัญ
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
การจาแนกแบคทีเรีย
อาณาจักรย่อยอาเคียแบคทีเรีย
อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย บรรณานุกรม
โครงสร้างของแบคทีเรีย
โครงสร้างอื่นๆ
การสืบพันธุ์ประโยชน์ของแบคทีเรีย
โทษของแบคทีเรีย
ผู้จัดทา ครูผู้สอน
ผู้จัดทา
นางสาวมุกดา เพียรสูงเนิน เลขที่14 ชั้น ม.6 ห้อง 7
นางสาวอาภัสรา มาแก้ว เลขที่21 ชั้น ม.6ห้อง 7
เสนอ
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา
1. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบโพรแคริติก (Prokaryotic cell) โดยไม่มี
นิวเคลียสแต่จะเรียกว่านิวคลีออยด์ (nucleoid) เพราะไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
และไม่มีออร์แกเนลล์ชนิดที่มีเยื่อหุ้ม
2. โบโซมมีขนาดเล็ก
3. ร่างกายประกอบด้วยเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ แต่ไม่ทาหน้าที่ร่วมกันเป็น
เนื้อเยื่อ
4. ไม่มีระยะเอ็มบริโอ ก่อนที่จะพัฒนาเป็นตัวเต็มวัย
5. ผนังเซลล์ (cell wall) ประกอบไปด้วยสารเพปทิโดไกลแคน
(peptidoglycan) ไม่มี
6. เซลลูโลส
7. ไม่มีการแบ่งเซลล์ที่มีการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิส (meiosis)
8. ไม่มีไซโทสเกเลตัน (cytoskeleton)
9. โครโมโซมมีลักษณะเป็นวง (Circular DNA) โดยไม่มีโปรตีนฮิสโตน
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา
โครงสร้างของแบคทีเรีย
1. เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กประมาณ 1- 5 ไมโครเมตร
โครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) มีผนังเซลล์เป็น
สารประกอบเพปทิโดไกลแคน
2. ภายในเซลล์ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรมและโครงสร้างอื่นหลายชนิด เช่น
ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลาสต์ มีเฉพาะ
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม คือ ไรโบโซม
3. แบคทีเรียที่พบส่วนใหญ่ เซลล์เดียวหรืออาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็น
สาย
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา
ได้แก่ แบคทีเรีย(Bacteria)
ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ
1. รูปร่างกลม เรียกว่า coccus (coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน์)
แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลม มีการเรียงตัวหลายแบบ
- เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก diplococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก streptococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียก
staphylococci
- เซลล์ 8 เซลล์ เรียงเป็นลูกบาศก์เรียก sarcina
3.1 ทรงกลม
2. รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus (bacillus = เอกพจน์
bacilliพหูพจน์) ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นชัดเท่าทรงกลม แต่
อาจมีการเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจากระยะการเจริญเติบโตหรือขึ้นกับ
สภาพของการเพาะเลี้ยงในอาหาร
3. รูปร่างเกลียว เรียกว่า spirillum (spirillum = เอกพจน์
spirillum = พหูพจน์) มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละชนิดมีความ
แตกต่างกันทั้งทางด้านความยาว จานวนเกลียว ความโค้ง
3.2 ทรงท่อน
3.3 ทรงเกลียว
โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ
1. แบคทีเรียมี ribosome ชนิด 70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNA โดย (single circular DNA)
2. ผนังเซลล์ (cell wall) ทาหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ ป้ องกันเซลล์แตกประกอบด้วย
peptidoglycan ซึ่งประกอบด้วยน้าตาล 2 ชนิด คือ N-actyl glucosamine (NAG) และN-acytyl
muramic acid (NAM) และ มี amino acid หลายชนิด และ lipoprotein lipopolysac teichoic
acid
3. Capsule เป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และทนต่อ
การทาลายของเม็ดเลือดขาว พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อ
โรครุนแรง
4. pilil มีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็ก มีลักษณเป็นท่อกลวง ไม่มีหน้าที่ในการ
เคลื่อนที่แต่ช่วยให้เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex pilli ช่วยในการถ่ายทอด DNA ใน Conjugation
6. Flagella เป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่ แบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นพวกที่เคลื่อนที่ได้ แฟลกเจล
ลาประกอบด้วยเส้นใยเส้นเดี่ยว ๆ ซึ่งต่างจากแฟลกเจลลาของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ แบคทีเรียอาจมีแฟล
มีแฟลกเจลลา 1 เส้นจนถึงหลายร้อยเส้น และอยู่ได้หลายตาแหน่ง ส่วนของแฟลกเจลลา
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ basal body , hook และ filament
7. Plasmid เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรีย ลักษณะของพลาสมิดเป็น DNA วง
แหวน และเป็นเกลียวคู่ สามารถจาลองตัวเองได้และสามารถถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้
ได้พลาสมิดมีหลายชนิด บางชนิดควบคุมการสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์ บางชนิดควบคุมการดื้อ
การดื้อต่อยาปฏิชีวนะต่าง
8. endospore เป็นโครงสร้างที่พบในแบคทีเรียบางชนิด เป็นโครงสร้างที่ทาให้แบคทีเรียมีความ
ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้เอนโดสปอร์เกิดขึ้นภายในเซลล์และสร้างได้ 1 สปอร์
สปอร์ต่อ 1 เซลล์จะไม่ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ แต่ถือว่าเป็นการดารงชีพ
การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย
ส่วนใหญ่แบคทีเรียสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่า Transverse Binary Fission
บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้ 3 รูปแบบคือ
1. Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งด้วยการ
จับคู่สัมผัสกันโดยตรง
2. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ DNA อิสระ
จากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
3. Transduction คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งโดย
อาศัยไวรัสหรือ Bacteriophage
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้มีความสาคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ..
กลุ่มแบคทีเรียทาหน้าที่เป็นผู้ย่อยอินทรีย์สารก่อให้เกิดการหมุนเวียน
สารอนินทรีย์และอินทรีย์สารต่างๆ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงินทาหน้าที่เป็น
ผู้ผลิตในระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิต 2 กลุ่มนี้ยังมีความสาคัญในแง่
เทคโนโลยีชีวภาพซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มมากขึ้น เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ใน
ด้านการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษา
พันธุศาสตร์ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดียิ่งขึ้น
การจาแนก Bacteria
อาศัยลักษณะดังนี้
1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง
2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น
2.1 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้
2.2 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองไม่ได้
3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] แบ่งเป็น
3.1 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต
3.2 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน
4. การหายใจ ความต้องการใช้อากาศหรือ O2
5. ลักษณะการเลี้ยงเชื้อ : อาหาร สภาพแวดล้อม
6. ลักษณะทางแอนติเจน
อาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย
การจัดจาแนกแบคทีเรีย
จาแนกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่
1. อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria)
2.อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria)
1. อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria)
เป็นแบคทีเรียที่ผนังเซลล์ไม่มีสารเพปทิโดไกลแคน สามารถดารงชีวิต
ในสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นอาจไม่สามารถดารงอยู่ได้เช่น ในแหล่ง
น้าพุร้อน ทะเลที่มีน้าเค็มจัด ในบริเวณที่มีความเป็นกรดสูงและบริเวณทะเล
ลึกเป็นต้น
แบ่งได้ออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
1.1 กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา ซึ่งสร้างมีเทนและชอบความเค็มจัด
1.2 กลุ่มครีนาร์เคียโอตา ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด
กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา
กลุ่มครีนาร์เคียโอตา
2.อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria)
ยูแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียที่สามารถพบได้ทั้งในดิน น้า อากาศ อาหาร
นม และในร่างกายของสิ่งมีชีวิตอื่น สามารถพบได้ทั้ง ในน้าเค็ม น้าจืด น้า
กร่อย ในธารน้าแข็ง หรือแม้กระทั่งแหล่งน้าพุร้อน เป็นต้น นอกจากนี้ยู
แบคทีเรียมีกระบวนการเมแทบอลิซีมในการดารงชีวิตที่หลากหลาย จึงอาจ
กล่าวได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทสาคัญต่อระบบนิเวศ ยูแบคทีเรียแบ่งเป็น
กลุ่มใหญ่ๆ
2.1 กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเมแทบอลิซึมที่
หลากหลายบางกลุ่มสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้ายพืช บางกลุ่มสามารถดารงชีวืต
2.2 กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์และทาให้เกิดโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น
2.3 กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่มีรูปทรงเกลียว มีความยาวประมาณ 0.25 มิลลิเมตร ยู
มิลลิเมตร ยูแบคทีเรียในกลุ่มนี้มีทั้งดารงชีวิตแบบอิสระและบางสปีชีส์เป็นสาเหตุของ
ของ โรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู เป็นต้น
2.4 แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
เป็นยูแบคทีเรียที่พบแพร่กระจายทั่วไปในดิน อากาศ บางสปีชีส์
สามารถผลิตกรดแลกติกได้ เช่น Lactobacillus sp. จึงนามาใช้ใน
อุตสาหกรรมอาหารหลายชนิด เช่น การทาเนย ผักดอง และโยเกิร์ต เป็นต้น
เป็นต้น บางสปีชีส์ เช่น Streptomyces sp. ใช้ยาทาปฏิชีวนะ เช่น
ยาสเตร็บ โตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน เป็นต้น ยูแบคทีเรียกลุ่มนี้บางสปีชีส์
ยูแบคทีเรียแกรมบวกอีกกลุ่มหนึ่ง เป็นกลุ่มที่ไม่มีผนังเซลล์
มีเพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมันได้แก่
ไมโคพลาสมา (mycoplasms) เป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ประมาณ 0.2-0.3 ไมโครเมตร สามารถเจริญและสืบพันธุ์ได้นอกเซลล์
โฮสต์ ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่น แต่มีบางสปีชีส์ที่
เป็นสาเหตุให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว
2.5 ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ มีสารสีเช่น
คลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์ และโฟโคบิลินอยู่ภายในถุงแบนๆที่มีเยื่อหุ้ม
เซลล์ พบแพร่กระจายในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายทั้งในแหล่งน้าจืด
น้าเค็ม บางสปีชีส์พบในบ่อน้าพุร้อน และภายใต้น้าแข็งของมหาสมุทร เป็น
เป็นต้น จากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ทาให้นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนได้ว่าไซ
ว่าไซยาโนแบคทีเรียทาให้ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มขึ้น มากขึ้นในโลกยุค
ยุคนั้นและก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนใน
ในปัจจุบัน
ไซยาโนแบคทีเรียเป็นผู้ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศและบางชนิด
สามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศให้เป็นสารประกอบไนเตรต
เช่น แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอ
เรีย (Oscillatoria)
Anabaena
Nostoc
Oscillatoria
แบคทีเรียมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งในระบบนิเวศ เนื่องจากมีการ
ดารงชีวิตแบบภาวะย่อยสลายจึงทาให้เกิดการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ
มีการนาแบคทีเรียมาใช้กาจัดขยะที่มีมากในเมืองใหญ่ ใช้สลายคราบน้ามัน
บริเวณชายฝั่งและบริเวณทะเล รวมทั้งกาจัดสารเคมีที่ตกค้างจากการเกษตร
อีกด้วย นอกจากนี้อาร์เคียแบคทีเรียบางกลุ่มสามารถสลายกากของแข็งจาก
ขยะให้เป็นปุ๋ ยซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป ในด้านการหมุนเวียนสาร
ในระบบนิเวศพบว่าแบคทีเรียหลายกลุ่มที่สามารถตรึงไนโตรเจน เช่น
แบคทีเรียในกลุ่มไรโซเบียม อะโซโตแบคเตอร์และไซยาโนแบคทีเรียทางด้าน
อุตสาหกรรมได้นายูแบคทีเรียมาใช้ในการผลิตสารเคมี เช่น แอซีโตน กรดแล
คติก ยาปฏิชีวนะหลายชนิดและผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น น้าส้มสายชู ปลาร้า
ผักดอง ปลาส้ม นมเปรี้ยวและเนยแข็งเป็นต้น
ยูแบคทีเรียเป็นสาเหตุของโรคหลายชนิดที่พบในคนและสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น โรค
ปอดบวม วัณโรค อหิวาตกโรค โรคฉี่หนู และ โรคแอนแทรกซ์ เป็นต้น
ประโยชน์ของแบคทีเรีย
1. ด้านอุตสาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใช้ฟอกหนัง
2. ด้านการเกษตร เช่นใช้เป็นปุ๋ ย
อาหารหมัก
3. การทดสอบคุณภาพน้า
4. ทางด้านการแพทย์ เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ
5. ใช้ในเทคโนโลยีชีวภาพ โดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่มีลักษณะ
ต่าง ๆ
6. ช่วยย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นอาหารของพืช
ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลลิน
โทษของแบคทีเรีย
1.ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย
2. ทาให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เช่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ
สัตว์ เช่น แอนแทรกซ์ บาดทะยัก และพืช เช่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
โรคบอดบวม
บรรณานุกรม
www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/568-00/
kmonera.blogspot.com/p/blog-page_03.html

More Related Content

What's hot

Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Choom' B't
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจphucharapun
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราsinchai jumpasuk
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1tarcharee1980
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 

What's hot (20)

Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Fungi kindom
Fungi kindomFungi kindom
Fungi kindom
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 

Similar to jjjjjjj

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพpeter dontoom
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
วิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยาวิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยาUnity' Toey
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Similar to jjjjjjj (20)

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพ
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
Diver plantae
Diver plantaeDiver plantae
Diver plantae
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
Mitochondria
MitochondriaMitochondria
Mitochondria
 
4
44
4
 
4
44
4
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
monera-new.pptx
monera-new.pptxmonera-new.pptx
monera-new.pptx
 
วิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยาวิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยา
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
เฉลยSci onet49
เฉลยSci onet49เฉลยSci onet49
เฉลยSci onet49
 
เฉลยSci onet49
เฉลยSci onet49เฉลยSci onet49
เฉลยSci onet49
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 

More from Mookda Phiansoongnern

More from Mookda Phiansoongnern (14)

7โครงงานประยุกต์
7โครงงานประยุกต์7โครงงานประยุกต์
7โครงงานประยุกต์
 
6จำลองทฤษฏี
6จำลองทฤษฏี6จำลองทฤษฏี
6จำลองทฤษฏี
 
5พัฒนาเครื่องมือ
5พัฒนาเครื่องมือ5พัฒนาเครื่องมือ
5พัฒนาเครื่องมือ
 
4เพื่อการศึกษา
4เพื่อการศึกษา4เพื่อการศึกษา
4เพื่อการศึกษา
 
3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท
 
2ความหมายและความสำคัญ
2ความหมายและความสำคัญ2ความหมายและความสำคัญ
2ความหมายและความสำคัญ
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
โจทย์วิท49
โจทย์วิท49โจทย์วิท49
โจทย์วิท49
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
Eng onet49
Eng onet49Eng onet49
Eng onet49
 
โจทย์อิ้ง49
โจทย์อิ้ง49โจทย์อิ้ง49
โจทย์อิ้ง49
 
Math onet49
Math onet49Math onet49
Math onet49
 
โจทย์คณิต49
โจทย์คณิต49โจทย์คณิต49
โจทย์คณิต49
 
12f56d1a539939978f604602183dc261
12f56d1a539939978f604602183dc26112f56d1a539939978f604602183dc261
12f56d1a539939978f604602183dc261
 

jjjjjjj