SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
บทที่ 1
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
2

สารบัญ
หนา
บทที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ....................................................................................................................... 1
1.1 คอมพิวเตอร หมายถึง .................................................................................................................................................. 3
1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร....................................................................................................................................3
1.2.1 ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting)..................................................................................................................3
1.2.2 ความเร็ว (Speed)...........................................................................................................................................3
1.2.3 ความเชือถือ (Reliable)..................................................................................................................................3
่
1.2.4 ความถูกตองแมนยํา (Accurate).....................................................................................................................3
1.2.5 เก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ได (Store massive amounts of information)...........................................................3
1.2.6 ยายขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งไดอยางรวดเร็ว (Move information) .....................................................3
1.2.7 ทํางานซ้ําๆได (Repeatability) .......................................................................................................................4
1.3 สวนประกอบของคอมพิวเตอร..............................................................................................................................4
1.3.1 อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device)..............................................................................................................4
1.3.2 อุปกรณประมวลผล (Processing Device)......................................................................................................5
1.3.3 หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device)....................................................................................6
1.3.4 อุปกรณแสดงผล (Output Device)................................................................................................................7
1.4 ประโยชนของคอมพิวเตอร ....................................................................................................................................7
1.4.1 งานธุรกิจ .......................................................................................................................................................8
1.4.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข ..........................................................................................8
1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ...............................................................................................................................8
1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม ..................................................................................................................8
1.4.5 งานราชการ....................................................................................................................................................8
1.4.6 การศึกษา .......................................................................................................................................................8
1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร ......................................................................................................................................8
1.5.1 ตามลักษณะการใชงาน..................................................................................................................................9
1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ..........................................................................................................................9
1.6 องคประกอบของคอมพิวเตอร .............................................................................................................................10
1.6.1 ฮารดแวร (Hardware)..................................................................................................................................11
1.6.2 ซอฟตแวร (Software)..................................................................................................................................11
1.6.3 บุคลากร (People ware) ...............................................................................................................................12
1.6.4 ขอมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ........................................................................................................12
3

บทที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
1.1 คอมพิวเตอร หมายถึง
คอมพิวเตอร คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ทางานตามชุดคําสั่งอยางอัตโนมัติ โดยจะทําการคํานวณเปรียบเทียบ
ํ
ทางตรรกกับขอมูล และใหผลลัพธออกมาตามตองการ โดยมนุษยไมตองเขาไปเกี่ยวของในการประมวลผล
1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร
ปจจุบันนี้คนสวนใหญนิยมนําคอมพิวเตอรมาใชงานตาง ๆ มากมาย ซึ่งผูใชสวนใหญมักจะคิดวาคอมพิวเตอร
เปนเครื่องมือที่สามารถทํางานไดสารพัด แตผูที่มีความรูทางคอมพิวเตอรจะทราบวา งานที่เหมาะกับการนํา
คอมพิวเตอรมาใชอยางยิ่งคือการสราง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหลานั้นสามารถนํามาพิมพออกทางเครื่องพิมพ
สงผานเครือขายคอมพิวเตอร หรือจัดเก็บไวใชในอนาคตก็ได เนื่องจากคอมพิวเตอรจะมีคุณสมบัติตาง ๆ คือ
1.2.1 ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting) การทํางานของคอมพิวเตอรจะทํางานแบบอัตโนมัติภายใตคําสั่งที่ได
ถูกกําหนดไว ทํางานดังกลาวจะเริ่มตั้งแตการนําขอมูลเขาสูระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธออกมาใหอยูใน
รูปแบบที่มนุษยเขาใจได
1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอรในปจจุบันนี้สามารถทํางานไดถึงรอยลานคําสั่งในหนึ่งวินาที
1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable) คอมพิวเตอรทุกวันนี้จะทํางานไดทั้งกลางวันและกลางคืนอยางไมมีขอผิดพลาด
และไมรูจักเหน็ดเหนื่อย
1.2.4 ความถูกตองแมนยํา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอรนั้นจะใหผลของการคํานวณที่ถูกตองเสมอหากผล
ของการคํานวณผิดจากที่ควรจะเปน มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือขอมูลที่เขาสูโปรแกรม
1.2.5 เก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ได (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอรในปจจุบัน
จะมีที่เก็บขอมูลสํารองที่มีความสูงมากกวาหนึ่งพันลานตัวอักษร และสําหรับระบบคอมพิวเตอรขนาดใหญจะสามารถ
เก็บขอมูลไดมากกวาหนึ่งลาน ๆ ตัวอักษร
1.2.6 ยายขอมูลจากที่หนึงไปยังอีกทีหนึ่งไดอยางรวดเร็ว (Move information) โดยใชการติดตอสื่อสารผาน
่
ระบบเครือขายคอมพิวเตอรซึ่งสามารถสงพจนานุกรมหนึ่งเลมในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกส ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรที่
อยูไกลคนซีกโลกไดในเวลาเพียงไมถึงหนึ่งวินาที ทําใหมการเรียกเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมกัน ทั่วโลกในปจจุบันวา
ี
ทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway)
4

1.2.7 ทํางานซ้ําๆได (Repeatability)
ชวยลดปญหาเรื่องความออนลาจากการทํางานของแรงงานคน
นอกจากนี้ยังลดความผิดพลาดตางๆไดดีกวาดวย ขอมูลที่ประมวลผลแมจะยุงยากหรือซับซอนเพียงใดก็ตาม จะ
สามารถคํานวณและหาผลลัพธไดอยางรวดเร็ว
1.3 สวนประกอบของคอมพิวเตอร
จําแนกหนาที่ของฮารดแวรตางๆ สามารถแบงเปนสวนสําคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณนําขอมูลเขา (Input
Device) อุปกรณประมวลผล (Processing Device) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ
แสดงผล (Output Device)

รูปที่ 1 แสดงวงจรการทํางานของคอมพิวเตอร

1.3.1 อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device)

รูปที่ 2 อุปกรณนําเขาแบบตางๆ ที่พบเห็นในปจจุบัน
5

เปนอุปกรณที่เกี่ยวของกับการนําเขาขอมูลหรือชุดคําสั่งเขามายังระบบเพื่อใหคอมพิวเตอรประมวลผลตอไปได
ซึ่งอาจจะเปน ตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง เปนตน
1.3.2 อุปกรณประมวลผล (Processing Device)
อุปกรณประมวลผลหลักๆ มีดังนี้
1.3.2.1 ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หนวยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งวา
โปรเซสเซอร (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเปนอุปกรณที่มีความสําคัญมากที่สุดของฮารดแวร เพราะมีหนาทีในการ
่
ประมวลผลขอมูลที่ผูใชปอนเขามาทางอุปกรณนําเขาขอมูลตามชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ผูใชตองการใชงาน หนวย
ประมวลผลกลาง
1.3.2.2 หนวยความจําหลัก (Main Memory) หรือเรียกวา หนวยความจําภายใน (Internal
Memory) สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก
- รอม (Read Only Memory - ROM) เปนหนวยความจําที่มีโปรแกรมหรือขอมูลอยูแลว
สามารถเรียกออกมาใชงานไดแตจะไมสามารถเขียนเพิ่มเติมได และแมวาจะไมมีกระแสไฟฟาไปเลี้ยงใหแกระบบขอมูล
ก็ไมสูญหายไป
- แรม (Random Access Memory) เปนหนวยความจําที่สามารถเก็บขอมูลไดเมื่อมี
กระแสไฟฟาหลอเลี้ยงเทานั้น เมื่อใดไมมีกระแสไฟฟามาเลี้ยงขอมูลที่อยูในหนวยความจําชนิดนี้จะหายไปทันที
1.3.2.3 เมนบอรด (Main board) เปนแผงวงจรตอเชื่อมอุปกรณที่เกี่ยวของกับการทํางานของ
คอมพิวเตอรทั้งหมด ถือไดวาเปนหัวใจหลักของ พีซีทุกเครื่อง เพราะจะบอกความสามารถของเครื่องวาจะใชซีพียูอะไร
ไดบาง มีประสิทธิภาพเพียงใด สามารถรองรับกับอุปกรณใหมไดหรือไม

รูปที่ 3 เมนบอรด หรือแผงวงจรหลัก
6

1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเปนชิปจํานวนหนึ่งหรือหลายตัวที่บรรจุวงจรสําคัญๆ ที่ชวยการ
ทํางานของซีพียู และติดตั้งตายตัวบนเมนบอรดถอดเปลี่ยนไมได ทําหนาที่เปนตัวกลางประสานงานและควบคุมการ
ทํางานของหนวยความจํารวมถึงอุปกรณตอพวงตางทั้งแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตามคําสั่งของซีพียู เชน SiS,
Intel, VIA, AMD เปนตน
1.3.3 หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device)
เนื่องจากหนวยความจําหลักมีพื้นที่ไมเพียงพอในการเก็บขอมูลจํานวนมากๆ อีกทั้งขอมูลจะหายไปเมื่อปด
เครื่อง ดังนั้นจําเปนตองหาอุปกรณเก็บขอมูลที่มีขนาดใหญขึ้น เชน
1.3.3.1 ฮารดดิสก (Hard Disk) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอร ทั้ง
โปรแกรมใชงานตางๆ ไฟลเอกสาร รวมทั้งเปนที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เปนโปรแกรมควบคุมการทํางานของเครื่อง
คอมพิวเตอรดวย
1.3.3.2 ฟล็อบปดิสก (Floppy Disk) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเปนแผน
กลมบางทําจากไมลาร (Mylar) สามารถบรรจุขอมูลไดเพียง 1.44 เมกะไบต เทานั้น ี
1.3.3.3 ซีดี (Compact Disk - CD) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลแบบดิจิทล เปนสื่อที่มีขนาดความจุสง
ั
ู
เหมาะสําหรับบันทึกขอมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทํามาจากแผนพลาสติกกลมบางที่เคลือบดวยสารโพลีคารบอเนต
(Poly Carbonate) ทําใหผิวหนาเปนมันสะทอนแสง โดยมีการบันทึกขอมูลเปนสายเดียว (Single Track) มีขนาด
เสนผาศูนยกลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปจจุบันมีซีดอยูหลายประเภท ไดแก ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD ี
VCD) ซีดี- อาร (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อารดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวดี (Digital Video
ี
Disk - DVD)
สื่อเก็บขอมูลอื่นๆ
่
1) รีมูฟเอเบิลไดรฟ (Removable Drive) เปนอุปกรณเก็บขอมูลทีไมตองมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถ
พกพาไปไหนไดโดยตอเขากับเครื่องคอมพิวเตอรดวย Port USB ปจจุบันความจุของรีมูฟเอเบิลไดรฟ มีตงแต 8 , 16 ,
ั้
32 , 64 , 128 จนถึง 1024 เมกะไบต ทังนียังมีไดรฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออืนๆ ไดแก Pen Drive , Thump Drive
้ ้
่
, Flash Drive
2) ซิบไดรฟ (Zip Drive) เปนสื่อบันทึกขอมูลที่จะมาแทนแผนฟล็อปปดิสก มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต
ซึ่งการใชงานซิปไดรฟจะตองใชงานกับซิปดิสก (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บขอมูลของซิปดิสกจะเก็บขอมูลได
มากกวาฟล็อปปดิสก
3) Magnetic optical Disk Drive เปนสื่อเก็บขอมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมีขนาดพอๆ กับ
ฟล็อบปดิสก แตขนาดความจุมากกวา เพราะวา MO Disk drive 1 แผนสามารถบันทึกขอมูลไดตั้งแต 128 เมกะไบต
จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต
7

4) เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เปนอุปกรณสําหรับการสํารองขอมูล ซึ่งเหมาะกับการสํารองขอมูลขนาด
ใหญมากๆ ขนาดระดับ 10-100 กิกะไบต
5) การดเมมโมรี (Memory Card) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้น เพื่อนําไปใชกับอุปกรณ
เทคโนโลยีแบบตางๆ เชน กลองดิจิทัล คอมพิวเตอรมือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพทมือถือ
1.3.4 อุปกรณแสดงผล (Output Device)
คืออุปกรณสําหรับแสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลของคอมพิวเตอร และเปนอุปกรณสงออก (Output
device) ทําหนาที่แสดงผลลัพธเมื่อซีพียูทําการประมวลผล

รูปที่ 4 แสดงอุปกรณแสดงผลขอมูลแบบตางๆ

1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เปนอุปกรณแสดงผลลัพธที่เปนภาพ ปจจุบันแบงออกเปน 2 ชนิด คือ จอภาพ
แบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display)
1.3.4.2 เครื่องพิมพ (Printer) เปนอุปกรณที่ทาหนาที่แสดงผลลัพธในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไป
ํ
ปรากฏอยูบนกระดาษ แบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก เครื่องพิมพดอตเมตริกซ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพแบบ
พนหมึก (Ink-Jet Printer) เครื่องพิมพแบบเลเซอร (Laser Printer) และพล็อตสเตอร (Plotter)
1.3.4.3 ลําโพง (Speaker) เปนอุปกรณแสดงผลลัพธที่อยูในรูปของเสียง สามารถเชื่อมตอกับ
คอมพิวเตอรผานแผงวงจรเกี่ยวกับเสียง (Sound card) ซึ่งมีหนาที่แปลงขอมูลดิจิตอลไปเปนเสียง
1.4 ประโยชนของคอมพิวเตอร
จากการที่คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํามาใชประโยชนตอการดําเนินชีวิตประจําวันใน
สังคมเปนอยางมาก ที่พบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชในการพิมพเอกสารตางๆ เชน พิมพจดหมาย รายงาน เอกสาร
ตางๆ ซึ่งเรียกวางานประมวลผล (Word processing) นอกจากนี้ยังมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานตางๆ อีก
หลายดาน ดังตอไปนี้
8

1.4.1 งานธุรกิจ เชน บริษท รานคา หางสรรพสินคา ตลอดจนโรงงานตางๆ ใชคอมพิวเตอรในการทําบัญชี
ั
งานประมวลคํา และติดตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากนีงานอุตสาหกรรม สวนใหญกใช
้
็
คอมพิวเตอรมาชวยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นสวนของอุปกรณตางๆ เชน โรงงานประกอบรถยนต
ซึ่งทําใหการผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ใหบริการถอนเงินผานตูฝากถอนเงินอัตโนมัติ
(ATM) และใชคอมพิวเตอรคิดดอกเบี้ยใหกบผูฝากเงิน และการโอนเงินระหวางบัญชี เชื่อมโยงกันเปนระบบเครือขาย
ั
1.4.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในนํามาใชในสวน
ของการคํานวณที่คอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการสงจรวดไปสูอวกาศ หรืองาน
ทะเบียน การเงิน สถิติ และเปนอุปกรณสําหรับการตรวจรักษาโรคได ซึ่งจะใหผลที่แมนยํากวาการตรวจดวยวิธีเคมี
แบบเดิม และใหการรักษาไดรวดเร็วขึ้น
1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ในสวนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใชคอมพิวเตอรในการจองวันเวลา ทีนง ซึงมี
่ ั่ ่
การเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได ทําใหสะดวกตอผูเดินทางที่ไมตองเสียเวลารอ อีกทั้งยังใชในการ
ควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใชควบคุมวงโคจรของ
ดาวเทียมเพื่อใหอยูในวงโคจร ซึ่งจะชวยสงผลตอการสงสัญญาณใหระบบการสื่อสารมีความชัดเจน
1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการออกแบบ หรือ
จําลองสภาวการณ ตางๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผนดินไหว โดยคอมพิวเตอรจะคํานวณและ
แสดงภาพสถานการณใกลเคียงความจริง รวมทั้งการใชควบคุมและติดตามความกาวหนาของโครงการตางๆ เชน
คนงาน เครื่องมือ ผลการทํางาน
1.4.5 งานราชการ เปนหนวยงานที่มการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด โดยมีการใชหลายรูปแบบ ทังนีขึ้นอยูกับ
ี
้ ้
บทบาทและหนาที่ของหนวยงานนั้นๆ เชน กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกลผานคอมพิวเตอร ,
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันตางๆ, กรมสรรพากร
ใชจัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เปนตน
1.4.6 การศึกษา ไดแก การใชคอมพิวเตอรทางดานการเรียนการสอน ซึ่งมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยการสอน
ในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซึ่งทําใหสะดวกตอการคนหาขอมูลนักเรียน การเก็บขอมูลยืมและการ
สงคืนหนังสือหองสมุด
1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร
เครื่องคอมพิวเตอร แบงออกเปนหลายประเภท ขึ้นอยูกับเกณฑที่ใชในการแบง
9

เกณฑที่ใชจาแนก
ํ
ตามลักษณะการใชงาน
ตามขนาดและความสามารถ

ประเภทคอมพิวเตอร
- แบบใชงานทั่วไป (General purpose computer)
- แบบใชงานเฉพาะ (Special purpose computer)
- ซูเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer)
- เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe computer)
- มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer)
- ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer)
- คอมพิวเตอรมือถือ (Handheld computer)

1.5.1 ตามลักษณะการใชงาน
1.5.1.1 แบบใชงานทัวไป (General Purpose Computer)
่
หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับการออกแบบใหสามารถ
ประยุกตใชในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก โดยระบบจะทํางานตามคําสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผูใช
ตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานอะไร ก็เพียงแตออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเขามาใชงาน โดยเราสามารถ
เก็บโปรแกรมไวหลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได เชน ในขณะหนึ่งเราอาจใชเครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบ
บัญชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใชในการออกเช็คเงินเดือนได เปนตน
1.5.1.2 แบบใชงานเฉพาะดาน (Special Purpose Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่ถกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ใหทํางานอยางใดอยางหนึ่งเปน
ู
การเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่เนนการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชน
เครื่องคอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรควบคุมลิฟต หรือคอมพิวเตอรควบคุมระบบอัตโนมัติใน
รถยนต เปนตน
1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ
เปนการจําแนกประเภทของคอมพิวเตอรที่พบเห็นไดมากที่สุดในปจจุบัน ซึ่งสามารถแบงออกไดดังนี้
1.5.2.1 ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Super Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสรางขึ้นเปนการเฉพาะ
เพื่องานดานวิทยาศาสตรที่ตองการการประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูง เชน งานวิจัยขีปนาวุธ งาน
โครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณอากาศ เปนตน
1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe computer)
10

เมนเฟรมคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ ทํางานรวมกับอุปกรณหลายๆ อยางดวยความเร็วสูง
ใชในงานธุรกิจขนาดใหญ มหาวิทยาลัยธนาคารและโรงพยาบาลเมนเฟรมคอมพิวเตอร สามารถเก็บขอมูลทีมีปริมาณ
่
มาก ๆ เชน ในการสั่งจองทีนงของสายการบินที่บริษททัวรรับจองในแตละวัน นอกจากนี้ยงสามารถเชื่อมโยงใชงานกับ
่ ั่
ั
ั
เครื่องเทอรมินล (Terminal) หลาย ๆ เครื่อง ในระยะทางไกลกันได เชน ระบบเอที่เอ็ม (ATM) การประมวลผลขอมูลของ
ั
ระบบเมนเฟรมนี้มีผูใชหลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน (Multi-user) สามารถประมวลผลโดยแบงเวลาการใชซพียู (CPU)
ี
โดยผานเครื่องเทอรมนัล การประมวลผลแบบแบงเวลานีเ้ รียกวา Time sharing
ิ
1.5.2.3 มินิคอมพิวเตอร (Mini Computer)
ธุ ร กิ จ และหน ว ยงานที่ มี ข นาดเล็ ก ไม จํ า เป น ต อ งใช ค อมพิ ว เตอร ข นาดเมนเฟรมซึ่ ง มี ร าคาแพง
ผูผลิตคอมพิวเตอรจึงพัฒนาคอมพิวเตอรใหมีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกวา เครื่องมินิคอมพิวเตอร โดยมีลักษณะ
พิเศษในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขางที่มีความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูงชนิดแข็ง
(Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล สามารถอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงานและบริษัทที่ใชคอมพิวเตอร
ขนาดนี้ ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัย หางสรรพสินคา โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ
1.5.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer)
เปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด ใชงานงาย และนิยมมากที่สุดราคาของเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอรจะอยูในชวงประมาณหมื่นกวา ถึง แสนกวาบาท ในวงการธุรกิจใชไมโครคอมพิวเตอรกับงานทุก ๆ
อยาง ไมโครคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กพอที่จะตั้งบนโตะ (Desktop) หรือ ใสลงในกระเปาเอกสาร เชน คอมพิวเตอรวาง
บนตัก (Lap top) หรือโนตบุก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอรสามารถทํางานในลักษณะประมวลผลไดดวยตนเอง
โดยไมตองเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอรเครื่องอื่นเรียกวาระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไวสําหรับใชงานสวนตัว
จึงเรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอรไดอีกชื่อหนึ่งวา คอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือเครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และ
สามารถนําเครื่องไมโครคอมพิวเตอรมาเชื่อมตอกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ หรือเชื่อมตอกับเครื่อง
เมนเฟรม เพื่อขยายประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทําใหเครื่องไมโครคอมพิวเตอรเปนที่นิยมใชกันแพรหลายอยางรวดเร็ว
1.5.2.5 คอมพิวเตอรมือถือ (Handheld Computer)
เปนคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอรประเภทอื่นๆ อีกทั้งสามารถพกพาไปยังที่ตางๆ ได
งายกวา เหมาะกับการจัดการขอมูลประจําวัน การสรางปฏิทินนัดหมาย การดูหนังฟงเพลงรวมถึงการรับสงอีเมล บาง
รุนอาจมีความสามารถเทียบเคียงไดกับไมโครคอมพิวเตอร เชน ปาลม พ็อกเก็ตพีซี เปนตน นอกจากนี้โทรศัพทมือถือ
บางรุนก็มีความสามารถใกลเคียงกับคอมพิวเตอรมือถือในกลุมนี้ในแงของการรันโปรแกรมจัดการกับขอมูลทั่วไปโดยใช
ระบบปฏิบัติการ Symbian หรือไมก็ Linux
1.6 องคประกอบของคอมพิวเตอร
เครื่องคอมพิวเตอรที่เราเห็นๆ กันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอรเทานั้น แตถา
ตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพตามที่เราตองการนั้น จําเปนตองอาศัย
11

องคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานรวมกัน ซึ่งองคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรประกอบไปดวย
ฮารดแวร (Hardware) ซอฟตแวร (Software) บุคลากร (People ware) ขอมูล / สารสนเทศ (Data/Information)
1.6.1 ฮารดแวร (Hardware)
หมายถึง อุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะเปนโครงรางสามารถมองเห็นดวยตา
และสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส เปนตน ซึ่งสามารถแบงออกเปนสวนตางๆ ตาม
ลักษณะการทํางาน ได 4 หนวย คือ หนวยรับขอมูล (Input Unit) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit:
CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณแตละหนวยมีหนาที่
การทํางานแตกตางกัน
1.6.2 ซอฟตแวร (Software)
หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่อง
คอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องคอมพิวเตอร ถาไมมี
ซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลย ซอฟตแวรสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรสามารถแบงได ดังนี้
1.6.2.1 ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคําสั่งที่เขียนไวเปนคําสั่งสําเร็จรูป
ซึ่งจะทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากทีสุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยาง และอํานวยความ
่
สะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรหรือโปรแกรมระบบที่รูจักกันดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทั้ง
โปรแกรมแปลคําสั่งทีเ่ ขียนในภาษาระดับสูง เชน ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เปนตน นอกจากนี้
โปรแกรมที่ใชในการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities ก็นับเปนโปรแกรมสําหรับระบบดวยเชนกัน
1.6.2.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่สั่งคอมพิวเตอร
ทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ไมวาจะดานเอกสาร บัญชี การจัดเก็บขอมูล เปนตน ซอฟตแวรประยุกตสามารถ
จําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ
- ซอฟตแวรสาหรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่เราตองการ
ํ
บางที่เรียกวา User’s Program เชน โปรแกรมการทําบัญชีจายเงินเดือน โปรแกรมระบบเชาซื้อ โปรแกรมการทําสินคา
คงคลัง เปนตน ซึงแตละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความตองการ หรือกฎเกณฑ
่
ของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมได เพื่อใหตรงกับ
ความตองการของผูใช และซอฟตแวรประยุกตที่เขียนขึนนี้โดยสวนใหญมักใชภาษาระดับสูงเปนตัวพัฒนา
้
- ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป เปนโปรแกรมประยุกตที่มีผจัดทําไว เพื่อใชในการทํางานประเภทตางๆ
ู
ทั่วไป โดยผูใชคนอื่นๆ สามารถนําโปรแกรมนี้ไปประยุกตใชกับขอมูลของตนได แตจะไมสามารถทําการดัดแปลง หรือ
แกไขโปรแกรมได ผูใชไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเปนการประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายในการเขียน
โปรแกรม นอกจากนี้ ยังไมตองใชเวลามากในการฝกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสําเร็จรูปนี้ มักจะมีการใชงานในหนวยงาน
12

ที่ขาดบุคลากรที่มีความชํานาญเปนพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใชโปรแกรมสําเร็จรูปจึงเปนสิ่งที่อานวย
ํ
ความสะดวกและเปนประโยชนอยางยิ่ง ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปที่นยมใชไดแก MS-Office, Lotus, Adobe
ิ
Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมสตางๆ เปนตน
1.6.3 บุคลากร (People ware)
หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกียวกับคอมพิวเตอร สามารถใชงาน สังงานเพื่อให
่
่
คอมพิวเตอรทางานตามที่ตองการ แบงออกได 4 ระดับ ดังนี้
ํ

1.6.3.1 ผูจัดการระบบ (System Manager) คือ ผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอรใหเปนไปตาม
เปาหมายของหนวยงาน
1.6.3.2 นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) คือ ผูทศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมและทําการ
ี่
วิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพิวเตอรกับระบบงาน เพื่อใหโปรแกรมเมอรเปนผูเขียนโปรแกรม
ใหกับระบบงาน
1.6.3.3 โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใหทางาน
ํ
ตามความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะหระบบไดเขียนไว
1.6.3.4 ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซึ่งตองเรียนรูวธการใชเครื่อง และวิธีการใชงาน
ิี
โปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมทีมีอยูสามารถทํางานไดตามที่ตองการ
่
เนื่องจากเปนผูกําหนดโปรแกรมและใชงานเครื่องคอมพิวเตอร มนุษยจึงเปนตัวแปรสําคัญในอันทีจะทําใหผลลัพธมี
่
ความนาเชื่อถือ เนื่องจากคําสั่งและขอมูลที่ใชในการประมวลผลไดรบจากการกําหนดของมนุษย (People ware) ทั้งสิน
ั
้
1.6.4 ขอมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
ขอมูล (Data) เปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่ง การทํางานของคอมพิวเตอรจะเกี่ยวของกับขอมูลตั้งแตการ
นําขอมูลเขาจนกลายเปนขอมูลที่สามารถใชประโยชนตอไดหรือที่เรียกวา สารสนเทศ (Information) ซึ่งขอมูลเหลานี้
อาจจะเปนไดทั้งตัวเลข ตัวอักษร และขอมูลในรูปแบบอื่นๆ เชน ภาพ เสียง เปนตน
ขอมูลที่จะนํามาใชกับคอมพิวเตอรไดนั้น โดยปกติจะตองมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะใหคอมพิวเตอรเขาใจ
กอน จึงจะสามารถเอามาใชงานในการประมวลผลตางๆ ไดเราเรียกสถานะนี้วา สถานะแบบดิจิตอล ซึ่งมี 2 สถานะ
เทานั้น คือ เปด(1) และ ปด(0)
………………………………………………………………………………………………………………

More Related Content

What's hot

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
pui3327
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
Mevenwen Singollo
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Thidarat Hiruntho
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Noppakhun Suebloei
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
konkamon
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
kaimookCT
 

What's hot (16)

๊Unit1
๊Unit1๊Unit1
๊Unit1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
5บท
5บท5บท
5บท
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 

Viewers also liked

Viewers also liked (14)

2) elaboracion de pruebas
2) elaboracion de pruebas2) elaboracion de pruebas
2) elaboracion de pruebas
 
Naskah soal uas 2015
Naskah soal uas 2015Naskah soal uas 2015
Naskah soal uas 2015
 
Where is the demand for ‘Beyond GDP’ indicators?
Where is the demand for ‘Beyond GDP’ indicators?Where is the demand for ‘Beyond GDP’ indicators?
Where is the demand for ‘Beyond GDP’ indicators?
 
The Creed of Muslims pdf
The Creed of Muslims pdfThe Creed of Muslims pdf
The Creed of Muslims pdf
 
Umubanotours
UmubanotoursUmubanotours
Umubanotours
 
калініченко 47
калініченко 47калініченко 47
калініченко 47
 
Validebağ korusu
Validebağ korusuValidebağ korusu
Validebağ korusu
 
тарас шевченко
тарас шевченкотарас шевченко
тарас шевченко
 
Todos los documentos
Todos los documentosTodos los documentos
Todos los documentos
 
Las posturas divergentes de los vencedores: Wilson
Las posturas divergentes de los vencedores: WilsonLas posturas divergentes de los vencedores: Wilson
Las posturas divergentes de los vencedores: Wilson
 
Rådets årsrapport 2015
Rådets årsrapport 2015Rådets årsrapport 2015
Rådets årsrapport 2015
 
El curtido de pieles
El curtido de pielesEl curtido de pieles
El curtido de pieles
 
8° giornata
8° giornata8° giornata
8° giornata
 
Propuesta de valor como elemento clave para el posicionamiento
Propuesta de valor como elemento clave para el posicionamientoPropuesta de valor como elemento clave para el posicionamiento
Propuesta de valor como elemento clave para el posicionamiento
 

Similar to งานคอม

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
phanujarin333
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
NOiy Ka
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
shadowrbac
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Tay Chaloeykrai
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
jatesada5803
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Sukanya Burana
 
ใบงานประวัติ 3
ใบงานประวัติ 3ใบงานประวัติ 3
ใบงานประวัติ 3
poomarin
 
Computer
ComputerComputer
Computer
nuting
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
Nattakan Wuttipisan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
Nattakan Wuttipisan
 

Similar to งานคอม (20)

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Js unit 1
Js unit 1Js unit 1
Js unit 1
 
Computer12
Computer12Computer12
Computer12
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 
Lab
LabLab
Lab
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบงานประวัติ 3
ใบงานประวัติ 3ใบงานประวัติ 3
ใบงานประวัติ 3
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 

งานคอม

  • 2. 2 สารบัญ หนา บทที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ....................................................................................................................... 1 1.1 คอมพิวเตอร หมายถึง .................................................................................................................................................. 3 1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร....................................................................................................................................3 1.2.1 ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting)..................................................................................................................3 1.2.2 ความเร็ว (Speed)...........................................................................................................................................3 1.2.3 ความเชือถือ (Reliable)..................................................................................................................................3 ่ 1.2.4 ความถูกตองแมนยํา (Accurate).....................................................................................................................3 1.2.5 เก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ได (Store massive amounts of information)...........................................................3 1.2.6 ยายขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งไดอยางรวดเร็ว (Move information) .....................................................3 1.2.7 ทํางานซ้ําๆได (Repeatability) .......................................................................................................................4 1.3 สวนประกอบของคอมพิวเตอร..............................................................................................................................4 1.3.1 อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device)..............................................................................................................4 1.3.2 อุปกรณประมวลผล (Processing Device)......................................................................................................5 1.3.3 หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device)....................................................................................6 1.3.4 อุปกรณแสดงผล (Output Device)................................................................................................................7 1.4 ประโยชนของคอมพิวเตอร ....................................................................................................................................7 1.4.1 งานธุรกิจ .......................................................................................................................................................8 1.4.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข ..........................................................................................8 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ...............................................................................................................................8 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม ..................................................................................................................8 1.4.5 งานราชการ....................................................................................................................................................8 1.4.6 การศึกษา .......................................................................................................................................................8 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร ......................................................................................................................................8 1.5.1 ตามลักษณะการใชงาน..................................................................................................................................9 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ..........................................................................................................................9 1.6 องคประกอบของคอมพิวเตอร .............................................................................................................................10 1.6.1 ฮารดแวร (Hardware)..................................................................................................................................11 1.6.2 ซอฟตแวร (Software)..................................................................................................................................11 1.6.3 บุคลากร (People ware) ...............................................................................................................................12 1.6.4 ขอมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ........................................................................................................12
  • 3. 3 บทที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 1.1 คอมพิวเตอร หมายถึง คอมพิวเตอร คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ทางานตามชุดคําสั่งอยางอัตโนมัติ โดยจะทําการคํานวณเปรียบเทียบ ํ ทางตรรกกับขอมูล และใหผลลัพธออกมาตามตองการ โดยมนุษยไมตองเขาไปเกี่ยวของในการประมวลผล 1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร ปจจุบันนี้คนสวนใหญนิยมนําคอมพิวเตอรมาใชงานตาง ๆ มากมาย ซึ่งผูใชสวนใหญมักจะคิดวาคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือที่สามารถทํางานไดสารพัด แตผูที่มีความรูทางคอมพิวเตอรจะทราบวา งานที่เหมาะกับการนํา คอมพิวเตอรมาใชอยางยิ่งคือการสราง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหลานั้นสามารถนํามาพิมพออกทางเครื่องพิมพ สงผานเครือขายคอมพิวเตอร หรือจัดเก็บไวใชในอนาคตก็ได เนื่องจากคอมพิวเตอรจะมีคุณสมบัติตาง ๆ คือ 1.2.1 ความเปนอัตโนมัติ (Self Acting) การทํางานของคอมพิวเตอรจะทํางานแบบอัตโนมัติภายใตคําสั่งที่ได ถูกกําหนดไว ทํางานดังกลาวจะเริ่มตั้งแตการนําขอมูลเขาสูระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธออกมาใหอยูใน รูปแบบที่มนุษยเขาใจได 1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอรในปจจุบันนี้สามารถทํางานไดถึงรอยลานคําสั่งในหนึ่งวินาที 1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable) คอมพิวเตอรทุกวันนี้จะทํางานไดทั้งกลางวันและกลางคืนอยางไมมีขอผิดพลาด และไมรูจักเหน็ดเหนื่อย 1.2.4 ความถูกตองแมนยํา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอรนั้นจะใหผลของการคํานวณที่ถูกตองเสมอหากผล ของการคํานวณผิดจากที่ควรจะเปน มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือขอมูลที่เขาสูโปรแกรม 1.2.5 เก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ได (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอรในปจจุบัน จะมีที่เก็บขอมูลสํารองที่มีความสูงมากกวาหนึ่งพันลานตัวอักษร และสําหรับระบบคอมพิวเตอรขนาดใหญจะสามารถ เก็บขอมูลไดมากกวาหนึ่งลาน ๆ ตัวอักษร 1.2.6 ยายขอมูลจากที่หนึงไปยังอีกทีหนึ่งไดอยางรวดเร็ว (Move information) โดยใชการติดตอสื่อสารผาน ่ ระบบเครือขายคอมพิวเตอรซึ่งสามารถสงพจนานุกรมหนึ่งเลมในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกส ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรที่ อยูไกลคนซีกโลกไดในเวลาเพียงไมถึงหนึ่งวินาที ทําใหมการเรียกเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมกัน ทั่วโลกในปจจุบันวา ี ทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway)
  • 4. 4 1.2.7 ทํางานซ้ําๆได (Repeatability) ชวยลดปญหาเรื่องความออนลาจากการทํางานของแรงงานคน นอกจากนี้ยังลดความผิดพลาดตางๆไดดีกวาดวย ขอมูลที่ประมวลผลแมจะยุงยากหรือซับซอนเพียงใดก็ตาม จะ สามารถคํานวณและหาผลลัพธไดอยางรวดเร็ว 1.3 สวนประกอบของคอมพิวเตอร จําแนกหนาที่ของฮารดแวรตางๆ สามารถแบงเปนสวนสําคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device) อุปกรณประมวลผล (Processing Device) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ แสดงผล (Output Device) รูปที่ 1 แสดงวงจรการทํางานของคอมพิวเตอร 1.3.1 อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device) รูปที่ 2 อุปกรณนําเขาแบบตางๆ ที่พบเห็นในปจจุบัน
  • 5. 5 เปนอุปกรณที่เกี่ยวของกับการนําเขาขอมูลหรือชุดคําสั่งเขามายังระบบเพื่อใหคอมพิวเตอรประมวลผลตอไปได ซึ่งอาจจะเปน ตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง เปนตน 1.3.2 อุปกรณประมวลผล (Processing Device) อุปกรณประมวลผลหลักๆ มีดังนี้ 1.3.2.1 ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หนวยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งวา โปรเซสเซอร (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเปนอุปกรณที่มีความสําคัญมากที่สุดของฮารดแวร เพราะมีหนาทีในการ ่ ประมวลผลขอมูลที่ผูใชปอนเขามาทางอุปกรณนําเขาขอมูลตามชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ผูใชตองการใชงาน หนวย ประมวลผลกลาง 1.3.2.2 หนวยความจําหลัก (Main Memory) หรือเรียกวา หนวยความจําภายใน (Internal Memory) สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก - รอม (Read Only Memory - ROM) เปนหนวยความจําที่มีโปรแกรมหรือขอมูลอยูแลว สามารถเรียกออกมาใชงานไดแตจะไมสามารถเขียนเพิ่มเติมได และแมวาจะไมมีกระแสไฟฟาไปเลี้ยงใหแกระบบขอมูล ก็ไมสูญหายไป - แรม (Random Access Memory) เปนหนวยความจําที่สามารถเก็บขอมูลไดเมื่อมี กระแสไฟฟาหลอเลี้ยงเทานั้น เมื่อใดไมมีกระแสไฟฟามาเลี้ยงขอมูลที่อยูในหนวยความจําชนิดนี้จะหายไปทันที 1.3.2.3 เมนบอรด (Main board) เปนแผงวงจรตอเชื่อมอุปกรณที่เกี่ยวของกับการทํางานของ คอมพิวเตอรทั้งหมด ถือไดวาเปนหัวใจหลักของ พีซีทุกเครื่อง เพราะจะบอกความสามารถของเครื่องวาจะใชซีพียูอะไร ไดบาง มีประสิทธิภาพเพียงใด สามารถรองรับกับอุปกรณใหมไดหรือไม รูปที่ 3 เมนบอรด หรือแผงวงจรหลัก
  • 6. 6 1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเปนชิปจํานวนหนึ่งหรือหลายตัวที่บรรจุวงจรสําคัญๆ ที่ชวยการ ทํางานของซีพียู และติดตั้งตายตัวบนเมนบอรดถอดเปลี่ยนไมได ทําหนาที่เปนตัวกลางประสานงานและควบคุมการ ทํางานของหนวยความจํารวมถึงอุปกรณตอพวงตางทั้งแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตามคําสั่งของซีพียู เชน SiS, Intel, VIA, AMD เปนตน 1.3.3 หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device) เนื่องจากหนวยความจําหลักมีพื้นที่ไมเพียงพอในการเก็บขอมูลจํานวนมากๆ อีกทั้งขอมูลจะหายไปเมื่อปด เครื่อง ดังนั้นจําเปนตองหาอุปกรณเก็บขอมูลที่มีขนาดใหญขึ้น เชน 1.3.3.1 ฮารดดิสก (Hard Disk) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอร ทั้ง โปรแกรมใชงานตางๆ ไฟลเอกสาร รวมทั้งเปนที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เปนโปรแกรมควบคุมการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอรดวย 1.3.3.2 ฟล็อบปดิสก (Floppy Disk) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเปนแผน กลมบางทําจากไมลาร (Mylar) สามารถบรรจุขอมูลไดเพียง 1.44 เมกะไบต เทานั้น ี 1.3.3.3 ซีดี (Compact Disk - CD) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลแบบดิจิทล เปนสื่อที่มีขนาดความจุสง ั ู เหมาะสําหรับบันทึกขอมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทํามาจากแผนพลาสติกกลมบางที่เคลือบดวยสารโพลีคารบอเนต (Poly Carbonate) ทําใหผิวหนาเปนมันสะทอนแสง โดยมีการบันทึกขอมูลเปนสายเดียว (Single Track) มีขนาด เสนผาศูนยกลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปจจุบันมีซีดอยูหลายประเภท ไดแก ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD ี VCD) ซีดี- อาร (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อารดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวดี (Digital Video ี Disk - DVD) สื่อเก็บขอมูลอื่นๆ ่ 1) รีมูฟเอเบิลไดรฟ (Removable Drive) เปนอุปกรณเก็บขอมูลทีไมตองมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถ พกพาไปไหนไดโดยตอเขากับเครื่องคอมพิวเตอรดวย Port USB ปจจุบันความจุของรีมูฟเอเบิลไดรฟ มีตงแต 8 , 16 , ั้ 32 , 64 , 128 จนถึง 1024 เมกะไบต ทังนียังมีไดรฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออืนๆ ไดแก Pen Drive , Thump Drive ้ ้ ่ , Flash Drive 2) ซิบไดรฟ (Zip Drive) เปนสื่อบันทึกขอมูลที่จะมาแทนแผนฟล็อปปดิสก มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต ซึ่งการใชงานซิปไดรฟจะตองใชงานกับซิปดิสก (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บขอมูลของซิปดิสกจะเก็บขอมูลได มากกวาฟล็อปปดิสก 3) Magnetic optical Disk Drive เปนสื่อเก็บขอมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมีขนาดพอๆ กับ ฟล็อบปดิสก แตขนาดความจุมากกวา เพราะวา MO Disk drive 1 แผนสามารถบันทึกขอมูลไดตั้งแต 128 เมกะไบต จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต
  • 7. 7 4) เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เปนอุปกรณสําหรับการสํารองขอมูล ซึ่งเหมาะกับการสํารองขอมูลขนาด ใหญมากๆ ขนาดระดับ 10-100 กิกะไบต 5) การดเมมโมรี (Memory Card) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้น เพื่อนําไปใชกับอุปกรณ เทคโนโลยีแบบตางๆ เชน กลองดิจิทัล คอมพิวเตอรมือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพทมือถือ 1.3.4 อุปกรณแสดงผล (Output Device) คืออุปกรณสําหรับแสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลของคอมพิวเตอร และเปนอุปกรณสงออก (Output device) ทําหนาที่แสดงผลลัพธเมื่อซีพียูทําการประมวลผล รูปที่ 4 แสดงอุปกรณแสดงผลขอมูลแบบตางๆ 1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เปนอุปกรณแสดงผลลัพธที่เปนภาพ ปจจุบันแบงออกเปน 2 ชนิด คือ จอภาพ แบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 1.3.4.2 เครื่องพิมพ (Printer) เปนอุปกรณที่ทาหนาที่แสดงผลลัพธในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไป ํ ปรากฏอยูบนกระดาษ แบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก เครื่องพิมพดอตเมตริกซ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพแบบ พนหมึก (Ink-Jet Printer) เครื่องพิมพแบบเลเซอร (Laser Printer) และพล็อตสเตอร (Plotter) 1.3.4.3 ลําโพง (Speaker) เปนอุปกรณแสดงผลลัพธที่อยูในรูปของเสียง สามารถเชื่อมตอกับ คอมพิวเตอรผานแผงวงจรเกี่ยวกับเสียง (Sound card) ซึ่งมีหนาที่แปลงขอมูลดิจิตอลไปเปนเสียง 1.4 ประโยชนของคอมพิวเตอร จากการที่คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํามาใชประโยชนตอการดําเนินชีวิตประจําวันใน สังคมเปนอยางมาก ที่พบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชในการพิมพเอกสารตางๆ เชน พิมพจดหมาย รายงาน เอกสาร ตางๆ ซึ่งเรียกวางานประมวลผล (Word processing) นอกจากนี้ยังมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานตางๆ อีก หลายดาน ดังตอไปนี้
  • 8. 8 1.4.1 งานธุรกิจ เชน บริษท รานคา หางสรรพสินคา ตลอดจนโรงงานตางๆ ใชคอมพิวเตอรในการทําบัญชี ั งานประมวลคํา และติดตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากนีงานอุตสาหกรรม สวนใหญกใช ้ ็ คอมพิวเตอรมาชวยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นสวนของอุปกรณตางๆ เชน โรงงานประกอบรถยนต ซึ่งทําใหการผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ใหบริการถอนเงินผานตูฝากถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) และใชคอมพิวเตอรคิดดอกเบี้ยใหกบผูฝากเงิน และการโอนเงินระหวางบัญชี เชื่อมโยงกันเปนระบบเครือขาย ั 1.4.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในนํามาใชในสวน ของการคํานวณที่คอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการสงจรวดไปสูอวกาศ หรืองาน ทะเบียน การเงิน สถิติ และเปนอุปกรณสําหรับการตรวจรักษาโรคได ซึ่งจะใหผลที่แมนยํากวาการตรวจดวยวิธีเคมี แบบเดิม และใหการรักษาไดรวดเร็วขึ้น 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ในสวนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใชคอมพิวเตอรในการจองวันเวลา ทีนง ซึงมี ่ ั่ ่ การเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได ทําใหสะดวกตอผูเดินทางที่ไมตองเสียเวลารอ อีกทั้งยังใชในการ ควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใชควบคุมวงโคจรของ ดาวเทียมเพื่อใหอยูในวงโคจร ซึ่งจะชวยสงผลตอการสงสัญญาณใหระบบการสื่อสารมีความชัดเจน 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการออกแบบ หรือ จําลองสภาวการณ ตางๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผนดินไหว โดยคอมพิวเตอรจะคํานวณและ แสดงภาพสถานการณใกลเคียงความจริง รวมทั้งการใชควบคุมและติดตามความกาวหนาของโครงการตางๆ เชน คนงาน เครื่องมือ ผลการทํางาน 1.4.5 งานราชการ เปนหนวยงานที่มการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด โดยมีการใชหลายรูปแบบ ทังนีขึ้นอยูกับ ี ้ ้ บทบาทและหนาที่ของหนวยงานนั้นๆ เชน กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกลผานคอมพิวเตอร , กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันตางๆ, กรมสรรพากร ใชจัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เปนตน 1.4.6 การศึกษา ไดแก การใชคอมพิวเตอรทางดานการเรียนการสอน ซึ่งมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยการสอน ในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซึ่งทําใหสะดวกตอการคนหาขอมูลนักเรียน การเก็บขอมูลยืมและการ สงคืนหนังสือหองสมุด 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอร แบงออกเปนหลายประเภท ขึ้นอยูกับเกณฑที่ใชในการแบง
  • 9. 9 เกณฑที่ใชจาแนก ํ ตามลักษณะการใชงาน ตามขนาดและความสามารถ ประเภทคอมพิวเตอร - แบบใชงานทั่วไป (General purpose computer) - แบบใชงานเฉพาะ (Special purpose computer) - ซูเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer) - เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe computer) - มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer) - ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) - คอมพิวเตอรมือถือ (Handheld computer) 1.5.1 ตามลักษณะการใชงาน 1.5.1.1 แบบใชงานทัวไป (General Purpose Computer) ่ หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับการออกแบบใหสามารถ ประยุกตใชในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก โดยระบบจะทํางานตามคําสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผูใช ตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานอะไร ก็เพียงแตออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเขามาใชงาน โดยเราสามารถ เก็บโปรแกรมไวหลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได เชน ในขณะหนึ่งเราอาจใชเครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบ บัญชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใชในการออกเช็คเงินเดือนได เปนตน 1.5.1.2 แบบใชงานเฉพาะดาน (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่ถกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ใหทํางานอยางใดอยางหนึ่งเปน ู การเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่เนนการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชน เครื่องคอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรควบคุมลิฟต หรือคอมพิวเตอรควบคุมระบบอัตโนมัติใน รถยนต เปนตน 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ เปนการจําแนกประเภทของคอมพิวเตอรที่พบเห็นไดมากที่สุดในปจจุบัน ซึ่งสามารถแบงออกไดดังนี้ 1.5.2.1 ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสรางขึ้นเปนการเฉพาะ เพื่องานดานวิทยาศาสตรที่ตองการการประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูง เชน งานวิจัยขีปนาวุธ งาน โครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณอากาศ เปนตน 1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe computer)
  • 10. 10 เมนเฟรมคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ ทํางานรวมกับอุปกรณหลายๆ อยางดวยความเร็วสูง ใชในงานธุรกิจขนาดใหญ มหาวิทยาลัยธนาคารและโรงพยาบาลเมนเฟรมคอมพิวเตอร สามารถเก็บขอมูลทีมีปริมาณ ่ มาก ๆ เชน ในการสั่งจองทีนงของสายการบินที่บริษททัวรรับจองในแตละวัน นอกจากนี้ยงสามารถเชื่อมโยงใชงานกับ ่ ั่ ั ั เครื่องเทอรมินล (Terminal) หลาย ๆ เครื่อง ในระยะทางไกลกันได เชน ระบบเอที่เอ็ม (ATM) การประมวลผลขอมูลของ ั ระบบเมนเฟรมนี้มีผูใชหลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน (Multi-user) สามารถประมวลผลโดยแบงเวลาการใชซพียู (CPU) ี โดยผานเครื่องเทอรมนัล การประมวลผลแบบแบงเวลานีเ้ รียกวา Time sharing ิ 1.5.2.3 มินิคอมพิวเตอร (Mini Computer) ธุ ร กิ จ และหน ว ยงานที่ มี ข นาดเล็ ก ไม จํ า เป น ต อ งใช ค อมพิ ว เตอร ข นาดเมนเฟรมซึ่ ง มี ร าคาแพง ผูผลิตคอมพิวเตอรจึงพัฒนาคอมพิวเตอรใหมีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกวา เครื่องมินิคอมพิวเตอร โดยมีลักษณะ พิเศษในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขางที่มีความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล สามารถอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงานและบริษัทที่ใชคอมพิวเตอร ขนาดนี้ ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัย หางสรรพสินคา โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ 1.5.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) เปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด ใชงานงาย และนิยมมากที่สุดราคาของเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอรจะอยูในชวงประมาณหมื่นกวา ถึง แสนกวาบาท ในวงการธุรกิจใชไมโครคอมพิวเตอรกับงานทุก ๆ อยาง ไมโครคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กพอที่จะตั้งบนโตะ (Desktop) หรือ ใสลงในกระเปาเอกสาร เชน คอมพิวเตอรวาง บนตัก (Lap top) หรือโนตบุก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอรสามารถทํางานในลักษณะประมวลผลไดดวยตนเอง โดยไมตองเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอรเครื่องอื่นเรียกวาระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไวสําหรับใชงานสวนตัว จึงเรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอรไดอีกชื่อหนึ่งวา คอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือเครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และ สามารถนําเครื่องไมโครคอมพิวเตอรมาเชื่อมตอกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ หรือเชื่อมตอกับเครื่อง เมนเฟรม เพื่อขยายประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทําใหเครื่องไมโครคอมพิวเตอรเปนที่นิยมใชกันแพรหลายอยางรวดเร็ว 1.5.2.5 คอมพิวเตอรมือถือ (Handheld Computer) เปนคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอรประเภทอื่นๆ อีกทั้งสามารถพกพาไปยังที่ตางๆ ได งายกวา เหมาะกับการจัดการขอมูลประจําวัน การสรางปฏิทินนัดหมาย การดูหนังฟงเพลงรวมถึงการรับสงอีเมล บาง รุนอาจมีความสามารถเทียบเคียงไดกับไมโครคอมพิวเตอร เชน ปาลม พ็อกเก็ตพีซี เปนตน นอกจากนี้โทรศัพทมือถือ บางรุนก็มีความสามารถใกลเคียงกับคอมพิวเตอรมือถือในกลุมนี้ในแงของการรันโปรแกรมจัดการกับขอมูลทั่วไปโดยใช ระบบปฏิบัติการ Symbian หรือไมก็ Linux 1.6 องคประกอบของคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอรที่เราเห็นๆ กันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอรเทานั้น แตถา ตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่องสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพตามที่เราตองการนั้น จําเปนตองอาศัย
  • 11. 11 องคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานรวมกัน ซึ่งองคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรประกอบไปดวย ฮารดแวร (Hardware) ซอฟตแวร (Software) บุคลากร (People ware) ขอมูล / สารสนเทศ (Data/Information) 1.6.1 ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะเปนโครงรางสามารถมองเห็นดวยตา และสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส เปนตน ซึ่งสามารถแบงออกเปนสวนตางๆ ตาม ลักษณะการทํางาน ได 4 หนวย คือ หนวยรับขอมูล (Input Unit) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณแตละหนวยมีหนาที่ การทํางานแตกตางกัน 1.6.2 ซอฟตแวร (Software) หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่อง คอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องคอมพิวเตอร ถาไมมี ซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลย ซอฟตแวรสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรสามารถแบงได ดังนี้ 1.6.2.1 ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคําสั่งที่เขียนไวเปนคําสั่งสําเร็จรูป ซึ่งจะทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากทีสุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยาง และอํานวยความ ่ สะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรหรือโปรแกรมระบบที่รูจักกันดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทั้ง โปรแกรมแปลคําสั่งทีเ่ ขียนในภาษาระดับสูง เชน ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เปนตน นอกจากนี้ โปรแกรมที่ใชในการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities ก็นับเปนโปรแกรมสําหรับระบบดวยเชนกัน 1.6.2.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่สั่งคอมพิวเตอร ทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ไมวาจะดานเอกสาร บัญชี การจัดเก็บขอมูล เปนตน ซอฟตแวรประยุกตสามารถ จําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ - ซอฟตแวรสาหรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่เราตองการ ํ บางที่เรียกวา User’s Program เชน โปรแกรมการทําบัญชีจายเงินเดือน โปรแกรมระบบเชาซื้อ โปรแกรมการทําสินคา คงคลัง เปนตน ซึงแตละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความตองการ หรือกฎเกณฑ ่ ของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมได เพื่อใหตรงกับ ความตองการของผูใช และซอฟตแวรประยุกตที่เขียนขึนนี้โดยสวนใหญมักใชภาษาระดับสูงเปนตัวพัฒนา ้ - ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป เปนโปรแกรมประยุกตที่มีผจัดทําไว เพื่อใชในการทํางานประเภทตางๆ ู ทั่วไป โดยผูใชคนอื่นๆ สามารถนําโปรแกรมนี้ไปประยุกตใชกับขอมูลของตนได แตจะไมสามารถทําการดัดแปลง หรือ แกไขโปรแกรมได ผูใชไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเปนการประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายในการเขียน โปรแกรม นอกจากนี้ ยังไมตองใชเวลามากในการฝกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสําเร็จรูปนี้ มักจะมีการใชงานในหนวยงาน
  • 12. 12 ที่ขาดบุคลากรที่มีความชํานาญเปนพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใชโปรแกรมสําเร็จรูปจึงเปนสิ่งที่อานวย ํ ความสะดวกและเปนประโยชนอยางยิ่ง ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปที่นยมใชไดแก MS-Office, Lotus, Adobe ิ Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมสตางๆ เปนตน 1.6.3 บุคลากร (People ware) หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกียวกับคอมพิวเตอร สามารถใชงาน สังงานเพื่อให ่ ่ คอมพิวเตอรทางานตามที่ตองการ แบงออกได 4 ระดับ ดังนี้ ํ  1.6.3.1 ผูจัดการระบบ (System Manager) คือ ผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอรใหเปนไปตาม เปาหมายของหนวยงาน 1.6.3.2 นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) คือ ผูทศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมและทําการ ี่ วิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพิวเตอรกับระบบงาน เพื่อใหโปรแกรมเมอรเปนผูเขียนโปรแกรม ใหกับระบบงาน 1.6.3.3 โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใหทางาน ํ ตามความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะหระบบไดเขียนไว 1.6.3.4 ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซึ่งตองเรียนรูวธการใชเครื่อง และวิธีการใชงาน ิี โปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมทีมีอยูสามารถทํางานไดตามที่ตองการ ่ เนื่องจากเปนผูกําหนดโปรแกรมและใชงานเครื่องคอมพิวเตอร มนุษยจึงเปนตัวแปรสําคัญในอันทีจะทําใหผลลัพธมี ่ ความนาเชื่อถือ เนื่องจากคําสั่งและขอมูลที่ใชในการประมวลผลไดรบจากการกําหนดของมนุษย (People ware) ทั้งสิน ั ้ 1.6.4 ขอมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ขอมูล (Data) เปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่ง การทํางานของคอมพิวเตอรจะเกี่ยวของกับขอมูลตั้งแตการ นําขอมูลเขาจนกลายเปนขอมูลที่สามารถใชประโยชนตอไดหรือที่เรียกวา สารสนเทศ (Information) ซึ่งขอมูลเหลานี้ อาจจะเปนไดทั้งตัวเลข ตัวอักษร และขอมูลในรูปแบบอื่นๆ เชน ภาพ เสียง เปนตน ขอมูลที่จะนํามาใชกับคอมพิวเตอรไดนั้น โดยปกติจะตองมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะใหคอมพิวเตอรเขาใจ กอน จึงจะสามารถเอามาใชงานในการประมวลผลตางๆ ไดเราเรียกสถานะนี้วา สถานะแบบดิจิตอล ซึ่งมี 2 สถานะ เทานั้น คือ เปด(1) และ ปด(0) ………………………………………………………………………………………………………………