SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นางสาววิไลวรรณ สุขจันทร์
เลขที่ 22 ชั้น ม.6/11
เสนอ
คุณครูประกาศิต ศรีสะอาด
รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ง30206
โรงเรียนมัธยมตระการพืชผล
ปีการศึกษา 2/2560
2
สารบัญ
หน้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์...................................................................................................................................2
1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึง..................................................................................................................................................3
1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์....................................................................................................................................3
1.2.1 ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)..................................................................................................................3
1.2.2 ความเร็ว (Speed)...........................................................................................................................................3
1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable)..................................................................................................................................3
1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate).....................................................................................................................3
1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้(Store massive amounts of information)...........................................................3
1.2.6 ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information).....................................................3
1.2.7 ทางานซ้าๆได้(Repeatability).......................................................................................................................4
1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์..............................................................................................................................4
1.3.1 อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device)..............................................................................................................4
1.3.2 อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device)......................................................................................................5
1.3.3 หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Device)....................................................................................6
1.3.4 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device)................................................................................................................7
1.4 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ....................................................................................................................................8
1.4.1 งานธุรกิจ.......................................................................................................................................................8
1.4.2 งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์และงานสาธารณสุข..........................................................................................8
1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร...............................................................................................................................8
1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม..................................................................................................................8
1.4.5 งานราชการ....................................................................................................................................................8
1.4.6 การศึกษา.......................................................................................................................................................9
1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร์ ......................................................................................................................................9
1.5.1 ตามลักษณะการใช้งาน..................................................................................................................................9
1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ........................................................................................................................10
1.6 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ .............................................................................................................................11
1.6.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)..................................................................................................................................11
1.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software)..................................................................................................................................11
1.6.3 บุคลากร (People ware) ...............................................................................................................................12
3
1.6.4 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)........................................................................................................13
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึง
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงำนตำมชุดคำสั่งอย่ำงอัตโนมัติ โดยจะทำกำรคำนวณเปรียบเทียบ
ทำงตรรกกับข้อมูล และให้ผลลัพธ์ออกมำตำมต้องกำร โดยมนุษย์ไม่ต้องเข้ำไปเกี่ยวข้องในกำรประมวลผล
1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนำคอมพิวเตอร์มำใช้งำนต่ำง ๆ มำกมำย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่ำคอมพิวเตอร์
เป็นเครื่องมือที่สำมำรถทำงำนได้สำรพัด แต่ผู้ที่มีควำมรู้ทำงคอมพิวเตอร์จะทรำบว่ำ งำนที่เหมำะกับกำรนำ
คอมพิวเตอร์มำใช้อย่ำงยิ่งคือกำรสร้ำง สำรสนเทศ ซึ่งสำรสนเทศเหล่ำนั้นสำมำรถนำมำพิมพ์ออกทำงเครื่องพิมพ์
ส่งผ่ำนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนำคตก็ได้ เนื่องจำกคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติต่ำง ๆ คือ
1.2.1 ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์จะทำงำนแบบอัตโนมัติภำยใต้คำสั่งที่ได้
ถูกกำหนดไว้ ทำงำนดังกล่ำวจะเริ่มตั้งแต่กำรนำข้อมูลเข้ำสู่ระบบ กำรประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ออกมำให้อยู่ใน
รูปแบบที่มนุษย์เข้ำใจได้
1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สำมำรถทำงำนได้ถึงร้อยล้ำนคำสั่งในหนึ่งวินำที
1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทำงำนได้ทั้งกลำงวันและกลำงคืนอย่ำงไม่มีข้อผิดพลำด
และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของกำรคำนวณที่ถูกต้องเสมอหำกผล
ของกำรคำนวณผิดจำกที่ควรจะเป็น มักเกิดจำกควำมผิดพลำดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้ำสู่โปรแกรม
1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
จะมีที่เก็บข้อมูลสำรองที่มีควำมสูงมำกกว่ำหนึ่งพันล้ำนตัวอักษร และสำหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่จะสำมำรถ
เก็บข้อมูลได้มำกกว่ำหนึ่งล้ำน ๆ ตัวอักษร
1.2.6 ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information) โดยใช้กำรติดต่อสื่อสำรผ่ำน
ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ซึ่งสำมำรถส่งพจนำนุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลำเพียงไม่ถึงหนึ่งวินำที ทำให้มีกำรเรียกเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกัน ทั่วโลกในปัจจุบันว่ำ
ทำงด่วนสำรสนเทศ (Information Superhighway)
4
1.2.7 ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) ช่วยลดปัญหำเรื่องควำมอ่อนล้ำจำกกำรทำงำนของแรงงำนคน
นอกจำกนี้ยังลดควำมผิดพลำดต่ำงๆได้ดีกว่ำด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแม้จะยุ่งยำกหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตำม จะ
สำมำรถคำนวณและหำผลลัพธ์ได้อย่ำงรวดเร็ว
1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จำแนกหน้ำที่ของฮำร์ดแวร์ต่ำงๆ สำมำรถแบ่งเป็นส่วนสำคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้ำ (Input
Device) อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ์
แสดงผล (Output Device)
รูปที่ 1 แสดงวงจรกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์
1.3.1 อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device)
5
รูปที่ 2 อุปกรณ์นำเข้ำแบบต่ำงๆ ที่พบเห็นในปัจจุบัน
เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกำรนำเข้ำข้อมูลหรือชุดคำสั่งเข้ำมำยังระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อไปได้
ซึ่งอำจจะเป็น ตัวเลข ตัวอักษร ภำพนิ่ง ภำพเคลื่อนไหว เสียง เป็นต้น
1.3.2 อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device)
อุปกรณ์ประมวลผลหลักๆ มีดังนี้
1.3.2.1 ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลำงหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่ำ
โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีควำมสำคัญมำกที่สุดของฮำร์ดแวร์ เพรำะมีหน้ำที่ในกำร
ประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้ อนเข้ำมำทำงอุปกรณ์นำเข้ำข้อมูลตำมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องกำรใช้งำน หน่วย
ประมวลผลกลำง
1.3.2.2 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่ำ หน่วยควำมจำภำยใน (Internal
Memory) สำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยควำมจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว
สำมำรถเรียกออกมำใช้งำนได้แต่จะไม่สำมำรถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่ำจะไม่มีกระแสไฟฟ้ ำไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูล
ก็ไม่สูญหำยไป
- แรม (Random Access Memory) เป็ นหน่วยควำมจำที่สำมำรถเก็บข้อมูลได้เมื่อมี
กระแสไฟฟ้ ำหล่อเลี้ยงเท่ำนั้น เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ ำมำเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยควำมจำชนิดนี้จะหำยไปทันที
1.3.2.3 เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผงวงจรต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกำรทำงำนของ
คอมพิวเตอร์ทั้งหมด ถือได้ว่ำเป็นหัวใจหลักของ พีซีทุกเครื่อง เพรำะจะบอกควำมสำมำรถของเครื่องว่ำจะใช้ซีพียูอะไร
ได้บ้ำง มีประสิทธิภำพเพียงใด สำมำรถรองรับกับอุปกรณ์ใหม่ได้หรือไม่
6
รูปที่ 3 เมนบอร์ด หรือแผงวงจรหลัก
1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเป็นชิปจำนวนหนึ่งหรือหลำยตัวที่บรรจุวงจรสำคัญๆ ที่ช่วยกำร
ทำงำนของซีพียู และติดตั้งตำยตัวบนเมนบอร์ดถอดเปลี่ยนไม่ได้ ทำหน้ำที่เป็นตัวกลำงประสำนงำนและควบคุมกำร
ทำงำนของหน่วยควำมจำรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่ำงทั้งแบบภำยในหรือภำยนอกทุกชนิดตำมคำสั่งของซีพียู เช่น SiS,
Intel, VIA, AMD เป็นต้น
1.3.3 หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Device)
เนื่องจำกหน่วยควำมจำหลักมีพื้นที่ไม่เพียงพอในกำรเก็บข้อมูลจำนวนมำกๆ อีกทั้งข้อมูลจะหำยไปเมื่อปิด
เครื่อง ดังนั้นจำเป็นต้องหำอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีขนำดใหญ่ขึ้น เช่น
1.3.3.1 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮำร์ดแวร์ที่ทำหน้ำที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้ง
โปรแกรมใช้งำนต่ำงๆ ไฟล์เอกสำร รวมทั้งเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติกำรที่เป็นโปรแกรมควบคุมกำรทำงำนของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ด้วย
1.3.3.2 ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนำด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่น
กลมบำงทำจำกไมลำร์ (Mylar) สำมำรถบรรจุข้อมูลได้เพียง 1.44 เมกะไบต์ เท่ำนั้น ีี
1.3.3.3 ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนำดควำมจุสูง
เหมำะสำหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทำมำจำกแผ่นพลำสติกกลมบำงที่เคลือบด้วยสำรโพลีคำร์บอเนต
(Poly Carbonate) ทำให้ผิวหน้ำเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีกำรบันทึกข้อมูลเป็นสำยเดียว (Single Track) มีขนำด
เส้นผ่ำศูนย์กลำงประมำณ 120 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีซีดีอยู่หลำยประเภท ได้แก่ ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD -
VCD) ซีดี- อำร์ (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อำร์ดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวีดี (Digital Video
Disk - DVD)
สื่อเก็บข้อมูลอื่นๆ
1) รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สำมำรถ
พกพำไปไหนได้โดยต่อเข้ำกับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันควำมจุของรีมูฟเอเบิลไดร์ฟ มีตั้งแต่ 8 , 16 ,
32 , 64 , 128 จนถึง 1024 เมกะไบต์ ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออื่นๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive
, Flash Drive
2) ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่จะมำแทนแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ มีขนำดควำมจุ 100 เมกะไบต์
ซึ่งกำรใช้งำนซิปไดร์ฟจะต้องใช้งำนกับซิปดิสก์ (Zip Disk) ควำมสำมำรถในกำรเก็บข้อมูลของซิปดิสก์จะเก็บข้อมูลได้
มำกกว่ำฟล็อปปี้ดิสก์
7
3) Magnetic optical Disk Drive เป็ น สื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล ข น ำ ด 3.5 นิ้ว ซึ่ ง มี ข น ำ ด พ อ ๆ กั บ
ฟล็อบปี้ดิสก์ แต่ขนำดควำมจุมำกกว่ำ เพรำะว่ำ MO Disk drive 1 แผ่นสำมำรถบันทึกข้อมูลได้ตั้งแต่ 128 เมกะไบต์
จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต์
4) เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เป็นอุปกรณ์สำหรับกำรสำรองข้อมูล ซึ่งเหมำะกับกำรสำรองข้อมูลขนำด
ใหญ่มำกๆ ขนำดระดับ 10-100 กิกะไบต์
5) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนำดเล็ก พัฒนำขึ้น เพื่อนำไปใช้กับอุปกรณ์
เทคโนโลยีแบบต่ำงๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพท์มือถือ
1.3.4 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device)
คืออุปกรณ์สำหรับแสดงผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ส่งออก (Output
device) ทำหน้ำที่แสดงผลลัพธ์เมื่อซีพียูทำกำรประมวลผล
รูปที่ 4 แสดงอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลแบบต่ำงๆ
1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่เป็นภำพ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ จอภำพ
แบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภำพแบบ LCD (Liquid Crystal Display)
1.3.4.2 เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้ำที่แสดงผลลัพธ์ในรูปของอักขระหรือรูปภำพที่จะไป
ปรำกฏอยู่บนกระดำษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดอตเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบ
พ่นหมึก (Ink-Jet Printer) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) และพล็อตสเตอร์ (Plotter)
1.3.4.3 ลาโพง (Speaker) เป็ นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปของเสียง สำมำรถเชื่อมต่อกับ
คอมพิวเตอร์ผ่ำนแผงวงจรเกี่ยวกับเสียง (Sound card) ซึ่งมีหน้ำที่แปลงข้อมูลดิจิตอลไปเป็นเสียง
8
1.4 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
จำกกำรที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลำยประกำร ทำให้ถูกนำมำใช้ประโยชน์ต่อกำรดำเนินชีวิตประจำวันใน
สังคมเป็นอย่ำงมำก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ กำรใช้ในกำรพิมพ์เอกสำรต่ำงๆ เช่น พิมพ์จดหมำย รำยงำน เอกสำร
ต่ำงๆ ซึ่งเรียกว่ำงำนประมวลผล (Word processing) นอกจำกนี้ยังมีกำรประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้ำนต่ำงๆ อีก
หลำยด้ำน ดังต่อไปนี้
1.4.1 งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้ำนค้ำ ห้ำงสรรพสินค้ำ ตลอดจนโรงงำนต่ำงๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรทำบัญชี
งำนประมวลคำ และติดต่อกับหน่วยงำนภำยนอกผ่ำนระบบโทรคมนำคม นอกจำกนี้งำนอุตสำหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้
คอมพิวเตอร์มำช่วยในกำรควบคุมกำรผลิต และกำรประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่ำงๆ เช่น โรงงำนประกอบรถยนต์
ซึ่งทำให้กำรผลิตมีคุณภำพดีขึ้นบริษัทยังสำมำรถรับ หรืองำนธนำคำร ที่ให้บริกำรถอนเงินผ่ำนตู้ฝำกถอนเงินอัตโนมัติ
(ATM) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝำกเงิน และกำรโอนเงินระหว่ำงบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่ำย
1.4.2 งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สำมำรถนำคอมพิวเตอร์มำใช้ในนำมำใช้ในส่วน
ของกำรคำนวณที่ค่อนข้ำงซับซ้อน เช่น งำนศึกษำโมเลกุลสำรเคมี วิถีกำรโคจรของกำรส่งจรวดไปสู่อวกำศ หรืองำน
ทะเบียน กำรเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สำหรับกำรตรวจรักษำโรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยำกว่ำกำรตรวจด้วยวิธีเคมี
แบบเดิม และให้กำรรักษำได้รวดเร็วขึ้น
1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับกำรเดินทำง จะใช้คอมพิวเตอร์ในกำรจองวันเวลำ ที่นั่ง ซึ่งมี
กำรเชื่อมโยงไปยังทุกสถำนีหรือทุกสำยกำรบินได้ ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทำงที่ไม่ต้องเสียเวลำรอ อีกทั้งยังใช้ในกำร
ควบคุมระบบกำรจรำจร เช่น ไฟสัญญำณจรำจร และ กำรจรำจรทำงอำกำศ หรือในกำรสื่อสำรก็ใช้ควบคุมวงโคจรของ
ดำวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อกำรส่งสัญญำณให้ระบบกำรสื่อสำรมีควำมชัดเจน
1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถำปนิกและวิศวกรสำมำรถใช้คอมพิวเตอร์ในกำรออกแบบ หรือ
จำลองสภำวกำรณ์ ต่ำงๆ เช่น กำรรับแรงสั่นสะเทือนของอำคำรเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณและ
แสดงภำพสถำนกำรณ์ใกล้เคียงควำมจริง รวมทั้งกำรใช้ควบคุมและติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำรต่ำงๆ เช่น
คนงำน เครื่องมือ ผลกำรทำงำน
1.4.5 งานราชการ เป็นหน่วยงำนที่มีกำรใช้คอมพิวเตอร์มำกที่สุด โดยมีกำรใช้หลำยรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
บทบำทและหน้ำที่ของหน่วยงำนนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษำธิกำร มีกำรใช้ระบบประชุมทำงไกลผ่ำนคอมพิวเตอร์ ,
กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถำบันต่ำงๆ, กรมสรรพำกร
ใช้จัดในกำรจัดเก็บภำษี บันทึกกำรเสียภำษี เป็นต้น
9
1.4.6 การศึกษา ได้แก่ กำรใช้คอมพิวเตอร์ทำงด้ำนกำรเรียนกำรสอน ซึ่งมีกำรนำคอมพิวเตอร์มำช่วยกำรสอน
ในลักษณะบทเรียน CAI หรืองำนด้ำนทะเบียน ซึ่งทำให้สะดวกต่อกำรค้นหำข้อมูลนักเรียน กำรเก็บข้อมูลยืมและกำร
ส่งคืนหนังสือห้องสมุด
1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นหลำยประเภท ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในกำรแบ่ง
เกณฑ์ที่ใช้จาแนก ประเภทคอมพิวเตอร์
ตำมลักษณะกำรใช้งำน - แบบใช้งำนทั่วไป (General purpose computer)
- แบบใช้งำนเฉพำะ (Special purpose computer)
ตำมขนำดและควำมสำมำรถ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
- เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer)
- มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
- ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
- คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld computer)
1.5.1 ตามลักษณะการใช้งาน
1.5.1.1 แบบใช้งานทั่วไป (General Purpose Computer)
หมำยถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีควำมยืดหยุ่นในกำรทำงำน (Flexible) โดยได้รับกำรออกแบบให้สำมำรถ
ประยุกต์ใช้ในงำนประเภทต่ำงๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทำงำนตำมคำสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมำ และเมื่อผู้ใช้
ต้องกำรให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนอะไร ก็เพียงแต่ออกคำสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมำะสมเข้ำมำใช้งำน โดยเรำสำมำรถ
เก็บโปรแกรมไว้หลำยโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเรำอำจใช้เครื่องนี้ในงำนประมวลผลเกี่ยวกับระบบ
บัญชี และในขณะหนึ่งก็สำมำรถใช้ในกำรออกเช็คเงินเดือนได้ เป็นต้น
1.5.1.2 แบบใช้งานเฉพาะด้าน (Special Purpose Computer)
หมำยถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ให้ทำงำนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเป็น
กำรเฉพำะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงำนควบคุม หรืองำนอุตสำหกรรมที่เน้นกำรประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญำณไฟจรำจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟต์ หรือคอมพิวเตอร์ควบคุมระบบอัตโนมัติใน
รถยนต์ เป็นต้น
10
1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ
เป็นกำรจำแนกประเภทของคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นได้มำกที่สุดในปัจจุบัน ซึ่งสำมำรถแบ่งออกได้ดังนี้
1.5.2.1 ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
หมำยถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีควำมสำมำรถในกำรประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้ำงขึ้นเป็นกำรเฉพำะ
เพื่องำนด้ำนวิทยำศำสตร์ที่ต้องกำรกำรประมวลผลซับซ้อน และต้องกำรควำมเร็วสูง เช่น งำนวิจัยขีปนำวุธ งำน
โครงกำรอวกำศสหรัฐ (NASA) งำนสื่อสำรดำวเทียม หรืองำนพยำกรณ์อำกำศ เป็นต้น
1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer)
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่ ทำงำนร่วมกับอุปกรณ์หลำยๆ อย่ำงด้วยควำมเร็วสูง
ใช้ในงำนธุรกิจขนำดใหญ่ มหำวิทยำลัยธนำคำรและโรงพยำบำลเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ สำมำรถเก็บข้อมูลที่มีปริมำณ
มำก ๆ เช่น ในกำรสั่งจองที่นั่งของสำยกำรบินที่บริษัททัวร์รับจองในแต่ละวัน นอกจำกนี้ยังสำมำรถเชื่อมโยงใช้งำนกับ
เครื่องเทอร์มินัล (Terminal) หลำย ๆ เครื่อง ในระยะทำงไกลกันได้ เช่น ระบบเอที่เอ็ม (ATM) กำรประมวลผลข้อมูลของ
ระบบเมนเฟรมนี้มีผู้ใช้หลำย ๆ คนในเวลำเดียวกัน (Multi-user) สำมำรถประมวลผลโดยแบ่งเวลำกำรใช้ซีพียู (CPU)
โดยผ่ำนเครื่องเทอร์มินัล กำรประมวลผลแบบแบ่งเวลำนี้เรียกว่ำ Time sharing
1.5.2.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
ธุรกิจและหน่วยงำนที่มีขนำดเล็กไม่จำเป็ นต้องใช้ คอมพิวเตอร์ขนำดเมนเฟรมซึ่งมีรำคำแพง
ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนำคอมพิวเตอร์ให้มีขนำดเล็กและมีรำคำถูกลง เรียกว่ำ เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะ
พิเศษในกำรทำงำนร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้ำงที่มีควำมเร็วสูงได้ มีกำรใช้แผ่นจำนแม่เหล็กควำมจุสูงชนิดแข็ง
(Harddisk) ในกำรเก็บรักษำข้อมูล สำมำรถอ่ำนเขียนข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็ว หน่วยงำนและบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์
ขนำดนี้ได้แก่ กรม กอง มหำวิทยำลัย ห้ำงสรรพสินค้ำ โรงแรม โรงพยำบำล และโรงงำนอุตสำหกรรมต่ำงๆ
1.5.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดเล็กที่สุด รำคำถูกที่สุด ใช้งำนง่ำย และนิยมมำกที่สุดรำคำของเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์จะอยู่ในช่วงประมำณหมื่นกว่ำ ถึง แสนกว่ำบำท ในวงกำรธุรกิจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กับงำนทุก ๆ
อย่ำง ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนำดเล็กพอที่จะตั้งบนโต๊ะ (Desktop) หรือ ใส่ลงในกระเป๋ ำเอกสำร เช่น คอมพิวเตอร์วำง
บนตัก (Lap top) หรือโน้ตบุ๊ก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอร์สำมำรถทำงำนในลักษณะประมวลผลได้ด้วยตนเอง
โดยไม่ต้องเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นเรียกว่ำระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไว้สำหรับใช้งำนส่วนตัว
จึงเรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้อีกชื่อหนึ่งว่ำ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือเครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และ
สำมำรถนำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มำเชื่อมต่อกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ หรือเชื่อมต่อกับเครื่อง
เมนเฟรม เพื่อขยำยประสิทธิภำพเพิ่มขึ้น ทำให้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลำยอย่ำงรวดเร็ว
1.5.2.5 คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)
11
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ อีกทั้งสำมำรถพกพำไปยังที่ต่ำงๆ ได้
ง่ำยกว่ำ เหมำะกับกำรจัดกำรข้อมูลประจำวัน กำรสร้ำงปฏิทินนัดหมำย กำรดูหนังฟังเพลงรวมถึงกำรรับส่งอีเมล์ บำง
รุ่นอำจมีควำมสำมำรถเทียบเคียงได้กับไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปำล์ม พ็อกเก็ตพีซี เป็นต้น นอกจำกนี้โทรศัพท์มือถือ
บำงรุ่นก็มีควำมสำมำรถใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์มือถือในกลุ่มนี้ในแง่ของกำรรันโปรแกรมจัดกำรกับข้อมูลทั่วไปโดยใช้
ระบบปฏิบัติกำร Symbian หรือไม่ก็ Linux
1.6 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรำเห็นๆ กันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เท่ำนั้น แต่ถ้ำ
ต้องกำรให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสำมำรถทำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพตำมที่เรำต้องกำรนั้น จำเป็นต้องอำศัย
องค์ประกอบพื้นฐำน 4 ประกำรมำทำงำนร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐำนของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย
ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลำกร (People ware) ข้อมูล / สำรสนเทศ (Data/Information)
1.6.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมำยถึง อุปกรณ์ต่ำงๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่ำงสำมำรถมองเห็นด้วยตำ
และสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภำพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมำส์ เป็นต้น ซึ่งสำมำรถแบ่งออกเป็นส่วนต่ำงๆ ตำม
ลักษณะกำรทำงำน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit:
CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้ำที่
กำรทำงำนแตกต่ำงกัน
1.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software)
หมำยถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นำมธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทำงำน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่ำงผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้ำไม่มี
ซอฟต์แวร์เรำก็ไม่สำมำรถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สำมำรถแบ่งได้ ดังนี้
1.6.2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป
ซึ่งจะทำงำนใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มำกที่สุด เพื่อคอยควบคุมกำรทำงำนของฮำร์ดแวร์ทุกอย่ำง และอำนวยควำม
สะดวกให้กับผู้ใช้ในกำรใช้งำน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทั้ง
โปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภำษำระดับสูง เช่น ภำษำ Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เป็นต้น นอกจำกนี้
โปรแกรมที่ใช้ในกำรตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
12
1.6.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่สั่งคอมพิวเตอร์
ทำงำนต่ำงๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร ไม่ว่ำจะด้ำนเอกสำร บัญชี กำรจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำมำรถ
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
- ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อกำรทำงำนเฉพำะอย่ำงที่เรำต้องกำร
บำงที่เรียกว่ำ User’s Program เช่น โปรแกรมกำรทำบัญชีจ่ำยเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่ำซื้อ โปรแกรมกำรทำสินค้ำ
คงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่ำงกันออกไปตำมควำมต้องกำร หรือกฎเกณฑ์
ของแต่ละหน่วยงำนที่ใช้ ซึ่งสำมำรถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบำงส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับ
ควำมต้องกำรของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภำษำระดับสูงเป็นตัวพัฒนำ
- ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในกำรทำงำนประเภทต่ำงๆ
ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สำมำรถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สำมำรถทำกำรดัดแปลง หรือ
แก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นกำรประหยัดเวลำ แรงงำน และค่ำใช้จ่ำยในกำรเขียน
โปรแกรม นอกจำกนี้ยังไม่ต้องใช้เวลำมำกในกำรฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้มักจะมีกำรใช้งำนในหน่วยงำน
ที่ขำดบุคลำกรที่มีควำมชำนำญเป็นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ดังนั้น กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวย
ควำมสะดวกและเป็นประโยชน์อย่ำงยิ่ง ตัวอย่ำงโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe
Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่ำงๆ เป็นต้น
1.6.3 บุคลากร (People ware)
หมำยถึง บุคลำกรในงำนด้ำนคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีควำมรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สำมำรถใช้งำน สั่งงำนเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทำงำนตำมที่ต้องกำร แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1.6.3.1 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตำม
เป้ ำหมำยของหน่วยงำน
1.6.3.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษำระบบงำนเดิมหรืองำนใหม่และทำกำร
วิเครำะห์ควำมเหมำะสม ควำมเป็นไปได้ในกำรใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงำน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรม
ให้กับระบบงำน
1.6.3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงำนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงำน
ตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ โดยเขียนตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์ระบบได้เขียนไว้
1.6.3.4 ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และวิธีกำรใช้งำน
โปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สำมำรถทำงำนได้ตำมที่ต้องกำร
เนื่องจำกเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งำนเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มี
ควำมน่ำเชื่อถือ เนื่องจำกคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในกำรประมวลผลได้รับจำกกำรกำหนดของมนุษย์ (People ware) ทั้งสิ้น
13
1.6.4 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่ำงหนึ่ง กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลตั้งแต่กำร
นำข้อมูลเข้ำจนกลำยเป็นข้อมูลที่สำมำรถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่ำ สารสนเทศ (Information) ซึ่งข้อมูลเหล่ำนี้
อำจจะเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น ภำพ เสียง เป็นต้น
ข้อมูลที่จะนำมำใช้กับคอมพิวเตอร์ได้นั้น โดยปกติจะต้องมีกำรแปลงรูปแบบหรือสถำนะให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจ
ก่อน จึงจะสำมำรถเอำมำใช้งำนในกำรประมวลผลต่ำงๆ ได้เรำเรียกสถำนะนี้ว่ำ สถานะแบบดิจิตอล ซึ่งมี 2 สถำนะ
เท่ำนั้น คือ เปิด(1) และ ปิด(0)
………………………………………………………………………………………………………………

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Soravit Wungseesiripetch
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์kruchanon2555
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์jatesada5803
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 

What's hot (15)

๊Unit1
๊Unit1๊Unit1
๊Unit1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Similar to รายงานคอมพิวเตอร์

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมphanujarin333
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมwarunya mobmit
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...ฐนกร คำเรือง
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...ฐนกร คำเรือง
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์napatson chaiyasan
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์krupan
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 

Similar to รายงานคอมพิวเตอร์ (20)

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอม
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Lab
LabLab
Lab
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

รายงานคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาววิไลวรรณ สุขจันทร์ เลขที่ 22 ชั้น ม.6/11 เสนอ คุณครูประกาศิต ศรีสะอาด รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ง30206 โรงเรียนมัธยมตระการพืชผล ปีการศึกษา 2/2560
  • 2. 2 สารบัญ หน้า ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์...................................................................................................................................2 1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึง..................................................................................................................................................3 1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์....................................................................................................................................3 1.2.1 ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)..................................................................................................................3 1.2.2 ความเร็ว (Speed)...........................................................................................................................................3 1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable)..................................................................................................................................3 1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate).....................................................................................................................3 1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้(Store massive amounts of information)...........................................................3 1.2.6 ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information).....................................................3 1.2.7 ทางานซ้าๆได้(Repeatability).......................................................................................................................4 1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์..............................................................................................................................4 1.3.1 อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device)..............................................................................................................4 1.3.2 อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device)......................................................................................................5 1.3.3 หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Device)....................................................................................6 1.3.4 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device)................................................................................................................7 1.4 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ....................................................................................................................................8 1.4.1 งานธุรกิจ.......................................................................................................................................................8 1.4.2 งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์และงานสาธารณสุข..........................................................................................8 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร...............................................................................................................................8 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม..................................................................................................................8 1.4.5 งานราชการ....................................................................................................................................................8 1.4.6 การศึกษา.......................................................................................................................................................9 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร์ ......................................................................................................................................9 1.5.1 ตามลักษณะการใช้งาน..................................................................................................................................9 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ........................................................................................................................10 1.6 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ .............................................................................................................................11 1.6.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)..................................................................................................................................11 1.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software)..................................................................................................................................11 1.6.3 บุคลากร (People ware) ...............................................................................................................................12
  • 3. 3 1.6.4 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)........................................................................................................13 บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงำนตำมชุดคำสั่งอย่ำงอัตโนมัติ โดยจะทำกำรคำนวณเปรียบเทียบ ทำงตรรกกับข้อมูล และให้ผลลัพธ์ออกมำตำมต้องกำร โดยมนุษย์ไม่ต้องเข้ำไปเกี่ยวข้องในกำรประมวลผล 1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนำคอมพิวเตอร์มำใช้งำนต่ำง ๆ มำกมำย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่ำคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่สำมำรถทำงำนได้สำรพัด แต่ผู้ที่มีควำมรู้ทำงคอมพิวเตอร์จะทรำบว่ำ งำนที่เหมำะกับกำรนำ คอมพิวเตอร์มำใช้อย่ำงยิ่งคือกำรสร้ำง สำรสนเทศ ซึ่งสำรสนเทศเหล่ำนั้นสำมำรถนำมำพิมพ์ออกทำงเครื่องพิมพ์ ส่งผ่ำนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนำคตก็ได้ เนื่องจำกคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติต่ำง ๆ คือ 1.2.1 ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์จะทำงำนแบบอัตโนมัติภำยใต้คำสั่งที่ได้ ถูกกำหนดไว้ ทำงำนดังกล่ำวจะเริ่มตั้งแต่กำรนำข้อมูลเข้ำสู่ระบบ กำรประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ออกมำให้อยู่ใน รูปแบบที่มนุษย์เข้ำใจได้ 1.2.2 ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สำมำรถทำงำนได้ถึงร้อยล้ำนคำสั่งในหนึ่งวินำที 1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทำงำนได้ทั้งกลำงวันและกลำงคืนอย่ำงไม่มีข้อผิดพลำด และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย 1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของกำรคำนวณที่ถูกต้องเสมอหำกผล ของกำรคำนวณผิดจำกที่ควรจะเป็น มักเกิดจำกควำมผิดพลำดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้ำสู่โปรแกรม 1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสำรองที่มีควำมสูงมำกกว่ำหนึ่งพันล้ำนตัวอักษร และสำหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่จะสำมำรถ เก็บข้อมูลได้มำกกว่ำหนึ่งล้ำน ๆ ตัวอักษร 1.2.6 ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information) โดยใช้กำรติดต่อสื่อสำรผ่ำน ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ซึ่งสำมำรถส่งพจนำนุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลำเพียงไม่ถึงหนึ่งวินำที ทำให้มีกำรเรียกเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกัน ทั่วโลกในปัจจุบันว่ำ ทำงด่วนสำรสนเทศ (Information Superhighway)
  • 4. 4 1.2.7 ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) ช่วยลดปัญหำเรื่องควำมอ่อนล้ำจำกกำรทำงำนของแรงงำนคน นอกจำกนี้ยังลดควำมผิดพลำดต่ำงๆได้ดีกว่ำด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแม้จะยุ่งยำกหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตำม จะ สำมำรถคำนวณและหำผลลัพธ์ได้อย่ำงรวดเร็ว 1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ จำแนกหน้ำที่ของฮำร์ดแวร์ต่ำงๆ สำมำรถแบ่งเป็นส่วนสำคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้ำ (Input Device) อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ์ แสดงผล (Output Device) รูปที่ 1 แสดงวงจรกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ 1.3.1 อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device)
  • 5. 5 รูปที่ 2 อุปกรณ์นำเข้ำแบบต่ำงๆ ที่พบเห็นในปัจจุบัน เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกำรนำเข้ำข้อมูลหรือชุดคำสั่งเข้ำมำยังระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อไปได้ ซึ่งอำจจะเป็น ตัวเลข ตัวอักษร ภำพนิ่ง ภำพเคลื่อนไหว เสียง เป็นต้น 1.3.2 อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) อุปกรณ์ประมวลผลหลักๆ มีดังนี้ 1.3.2.1 ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลำงหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่ำ โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีควำมสำคัญมำกที่สุดของฮำร์ดแวร์ เพรำะมีหน้ำที่ในกำร ประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้ อนเข้ำมำทำงอุปกรณ์นำเข้ำข้อมูลตำมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องกำรใช้งำน หน่วย ประมวลผลกลำง 1.3.2.2 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่ำ หน่วยควำมจำภำยใน (Internal Memory) สำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ - รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยควำมจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สำมำรถเรียกออกมำใช้งำนได้แต่จะไม่สำมำรถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่ำจะไม่มีกระแสไฟฟ้ ำไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูล ก็ไม่สูญหำยไป - แรม (Random Access Memory) เป็ นหน่วยควำมจำที่สำมำรถเก็บข้อมูลได้เมื่อมี กระแสไฟฟ้ ำหล่อเลี้ยงเท่ำนั้น เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ ำมำเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยควำมจำชนิดนี้จะหำยไปทันที 1.3.2.3 เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผงวงจรต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกำรทำงำนของ คอมพิวเตอร์ทั้งหมด ถือได้ว่ำเป็นหัวใจหลักของ พีซีทุกเครื่อง เพรำะจะบอกควำมสำมำรถของเครื่องว่ำจะใช้ซีพียูอะไร ได้บ้ำง มีประสิทธิภำพเพียงใด สำมำรถรองรับกับอุปกรณ์ใหม่ได้หรือไม่
  • 6. 6 รูปที่ 3 เมนบอร์ด หรือแผงวงจรหลัก 1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเป็นชิปจำนวนหนึ่งหรือหลำยตัวที่บรรจุวงจรสำคัญๆ ที่ช่วยกำร ทำงำนของซีพียู และติดตั้งตำยตัวบนเมนบอร์ดถอดเปลี่ยนไม่ได้ ทำหน้ำที่เป็นตัวกลำงประสำนงำนและควบคุมกำร ทำงำนของหน่วยควำมจำรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่ำงทั้งแบบภำยในหรือภำยนอกทุกชนิดตำมคำสั่งของซีพียู เช่น SiS, Intel, VIA, AMD เป็นต้น 1.3.3 หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Device) เนื่องจำกหน่วยควำมจำหลักมีพื้นที่ไม่เพียงพอในกำรเก็บข้อมูลจำนวนมำกๆ อีกทั้งข้อมูลจะหำยไปเมื่อปิด เครื่อง ดังนั้นจำเป็นต้องหำอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีขนำดใหญ่ขึ้น เช่น 1.3.3.1 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮำร์ดแวร์ที่ทำหน้ำที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้ง โปรแกรมใช้งำนต่ำงๆ ไฟล์เอกสำร รวมทั้งเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติกำรที่เป็นโปรแกรมควบคุมกำรทำงำนของเครื่อง คอมพิวเตอร์ด้วย 1.3.3.2 ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนำด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่น กลมบำงทำจำกไมลำร์ (Mylar) สำมำรถบรรจุข้อมูลได้เพียง 1.44 เมกะไบต์ เท่ำนั้น ีี 1.3.3.3 ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนำดควำมจุสูง เหมำะสำหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทำมำจำกแผ่นพลำสติกกลมบำงที่เคลือบด้วยสำรโพลีคำร์บอเนต (Poly Carbonate) ทำให้ผิวหน้ำเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีกำรบันทึกข้อมูลเป็นสำยเดียว (Single Track) มีขนำด เส้นผ่ำศูนย์กลำงประมำณ 120 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีซีดีอยู่หลำยประเภท ได้แก่ ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD) ซีดี- อำร์ (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อำร์ดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวีดี (Digital Video Disk - DVD) สื่อเก็บข้อมูลอื่นๆ 1) รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สำมำรถ พกพำไปไหนได้โดยต่อเข้ำกับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันควำมจุของรีมูฟเอเบิลไดร์ฟ มีตั้งแต่ 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถึง 1024 เมกะไบต์ ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออื่นๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive 2) ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่จะมำแทนแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ มีขนำดควำมจุ 100 เมกะไบต์ ซึ่งกำรใช้งำนซิปไดร์ฟจะต้องใช้งำนกับซิปดิสก์ (Zip Disk) ควำมสำมำรถในกำรเก็บข้อมูลของซิปดิสก์จะเก็บข้อมูลได้ มำกกว่ำฟล็อปปี้ดิสก์
  • 7. 7 3) Magnetic optical Disk Drive เป็ น สื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล ข น ำ ด 3.5 นิ้ว ซึ่ ง มี ข น ำ ด พ อ ๆ กั บ ฟล็อบปี้ดิสก์ แต่ขนำดควำมจุมำกกว่ำ เพรำะว่ำ MO Disk drive 1 แผ่นสำมำรถบันทึกข้อมูลได้ตั้งแต่ 128 เมกะไบต์ จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต์ 4) เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เป็นอุปกรณ์สำหรับกำรสำรองข้อมูล ซึ่งเหมำะกับกำรสำรองข้อมูลขนำด ใหญ่มำกๆ ขนำดระดับ 10-100 กิกะไบต์ 5) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนำดเล็ก พัฒนำขึ้น เพื่อนำไปใช้กับอุปกรณ์ เทคโนโลยีแบบต่ำงๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพท์มือถือ 1.3.4 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device) คืออุปกรณ์สำหรับแสดงผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ส่งออก (Output device) ทำหน้ำที่แสดงผลลัพธ์เมื่อซีพียูทำกำรประมวลผล รูปที่ 4 แสดงอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลแบบต่ำงๆ 1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่เป็นภำพ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ จอภำพ แบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภำพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 1.3.4.2 เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้ำที่แสดงผลลัพธ์ในรูปของอักขระหรือรูปภำพที่จะไป ปรำกฏอยู่บนกระดำษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดอตเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบ พ่นหมึก (Ink-Jet Printer) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) และพล็อตสเตอร์ (Plotter) 1.3.4.3 ลาโพง (Speaker) เป็ นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปของเสียง สำมำรถเชื่อมต่อกับ คอมพิวเตอร์ผ่ำนแผงวงจรเกี่ยวกับเสียง (Sound card) ซึ่งมีหน้ำที่แปลงข้อมูลดิจิตอลไปเป็นเสียง
  • 8. 8 1.4 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จำกกำรที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลำยประกำร ทำให้ถูกนำมำใช้ประโยชน์ต่อกำรดำเนินชีวิตประจำวันใน สังคมเป็นอย่ำงมำก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ กำรใช้ในกำรพิมพ์เอกสำรต่ำงๆ เช่น พิมพ์จดหมำย รำยงำน เอกสำร ต่ำงๆ ซึ่งเรียกว่ำงำนประมวลผล (Word processing) นอกจำกนี้ยังมีกำรประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้ำนต่ำงๆ อีก หลำยด้ำน ดังต่อไปนี้ 1.4.1 งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้ำนค้ำ ห้ำงสรรพสินค้ำ ตลอดจนโรงงำนต่ำงๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรทำบัญชี งำนประมวลคำ และติดต่อกับหน่วยงำนภำยนอกผ่ำนระบบโทรคมนำคม นอกจำกนี้งำนอุตสำหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้ คอมพิวเตอร์มำช่วยในกำรควบคุมกำรผลิต และกำรประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่ำงๆ เช่น โรงงำนประกอบรถยนต์ ซึ่งทำให้กำรผลิตมีคุณภำพดีขึ้นบริษัทยังสำมำรถรับ หรืองำนธนำคำร ที่ให้บริกำรถอนเงินผ่ำนตู้ฝำกถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝำกเงิน และกำรโอนเงินระหว่ำงบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่ำย 1.4.2 งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สำมำรถนำคอมพิวเตอร์มำใช้ในนำมำใช้ในส่วน ของกำรคำนวณที่ค่อนข้ำงซับซ้อน เช่น งำนศึกษำโมเลกุลสำรเคมี วิถีกำรโคจรของกำรส่งจรวดไปสู่อวกำศ หรืองำน ทะเบียน กำรเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สำหรับกำรตรวจรักษำโรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยำกว่ำกำรตรวจด้วยวิธีเคมี แบบเดิม และให้กำรรักษำได้รวดเร็วขึ้น 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับกำรเดินทำง จะใช้คอมพิวเตอร์ในกำรจองวันเวลำ ที่นั่ง ซึ่งมี กำรเชื่อมโยงไปยังทุกสถำนีหรือทุกสำยกำรบินได้ ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทำงที่ไม่ต้องเสียเวลำรอ อีกทั้งยังใช้ในกำร ควบคุมระบบกำรจรำจร เช่น ไฟสัญญำณจรำจร และ กำรจรำจรทำงอำกำศ หรือในกำรสื่อสำรก็ใช้ควบคุมวงโคจรของ ดำวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อกำรส่งสัญญำณให้ระบบกำรสื่อสำรมีควำมชัดเจน 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถำปนิกและวิศวกรสำมำรถใช้คอมพิวเตอร์ในกำรออกแบบ หรือ จำลองสภำวกำรณ์ ต่ำงๆ เช่น กำรรับแรงสั่นสะเทือนของอำคำรเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณและ แสดงภำพสถำนกำรณ์ใกล้เคียงควำมจริง รวมทั้งกำรใช้ควบคุมและติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำรต่ำงๆ เช่น คนงำน เครื่องมือ ผลกำรทำงำน 1.4.5 งานราชการ เป็นหน่วยงำนที่มีกำรใช้คอมพิวเตอร์มำกที่สุด โดยมีกำรใช้หลำยรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ บทบำทและหน้ำที่ของหน่วยงำนนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษำธิกำร มีกำรใช้ระบบประชุมทำงไกลผ่ำนคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถำบันต่ำงๆ, กรมสรรพำกร ใช้จัดในกำรจัดเก็บภำษี บันทึกกำรเสียภำษี เป็นต้น
  • 9. 9 1.4.6 การศึกษา ได้แก่ กำรใช้คอมพิวเตอร์ทำงด้ำนกำรเรียนกำรสอน ซึ่งมีกำรนำคอมพิวเตอร์มำช่วยกำรสอน ในลักษณะบทเรียน CAI หรืองำนด้ำนทะเบียน ซึ่งทำให้สะดวกต่อกำรค้นหำข้อมูลนักเรียน กำรเก็บข้อมูลยืมและกำร ส่งคืนหนังสือห้องสมุด 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นหลำยประเภท ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในกำรแบ่ง เกณฑ์ที่ใช้จาแนก ประเภทคอมพิวเตอร์ ตำมลักษณะกำรใช้งำน - แบบใช้งำนทั่วไป (General purpose computer) - แบบใช้งำนเฉพำะ (Special purpose computer) ตำมขนำดและควำมสำมำรถ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) - เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer) - มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) - ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) - คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld computer) 1.5.1 ตามลักษณะการใช้งาน 1.5.1.1 แบบใช้งานทั่วไป (General Purpose Computer) หมำยถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีควำมยืดหยุ่นในกำรทำงำน (Flexible) โดยได้รับกำรออกแบบให้สำมำรถ ประยุกต์ใช้ในงำนประเภทต่ำงๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทำงำนตำมคำสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมำ และเมื่อผู้ใช้ ต้องกำรให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนอะไร ก็เพียงแต่ออกคำสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมำะสมเข้ำมำใช้งำน โดยเรำสำมำรถ เก็บโปรแกรมไว้หลำยโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเรำอำจใช้เครื่องนี้ในงำนประมวลผลเกี่ยวกับระบบ บัญชี และในขณะหนึ่งก็สำมำรถใช้ในกำรออกเช็คเงินเดือนได้ เป็นต้น 1.5.1.2 แบบใช้งานเฉพาะด้าน (Special Purpose Computer) หมำยถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ให้ทำงำนอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเป็น กำรเฉพำะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงำนควบคุม หรืองำนอุตสำหกรรมที่เน้นกำรประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญำณไฟจรำจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟต์ หรือคอมพิวเตอร์ควบคุมระบบอัตโนมัติใน รถยนต์ เป็นต้น
  • 10. 10 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ เป็นกำรจำแนกประเภทของคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นได้มำกที่สุดในปัจจุบัน ซึ่งสำมำรถแบ่งออกได้ดังนี้ 1.5.2.1 ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมำยถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีควำมสำมำรถในกำรประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้ำงขึ้นเป็นกำรเฉพำะ เพื่องำนด้ำนวิทยำศำสตร์ที่ต้องกำรกำรประมวลผลซับซ้อน และต้องกำรควำมเร็วสูง เช่น งำนวิจัยขีปนำวุธ งำน โครงกำรอวกำศสหรัฐ (NASA) งำนสื่อสำรดำวเทียม หรืองำนพยำกรณ์อำกำศ เป็นต้น 1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่ ทำงำนร่วมกับอุปกรณ์หลำยๆ อย่ำงด้วยควำมเร็วสูง ใช้ในงำนธุรกิจขนำดใหญ่ มหำวิทยำลัยธนำคำรและโรงพยำบำลเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ สำมำรถเก็บข้อมูลที่มีปริมำณ มำก ๆ เช่น ในกำรสั่งจองที่นั่งของสำยกำรบินที่บริษัททัวร์รับจองในแต่ละวัน นอกจำกนี้ยังสำมำรถเชื่อมโยงใช้งำนกับ เครื่องเทอร์มินัล (Terminal) หลำย ๆ เครื่อง ในระยะทำงไกลกันได้ เช่น ระบบเอที่เอ็ม (ATM) กำรประมวลผลข้อมูลของ ระบบเมนเฟรมนี้มีผู้ใช้หลำย ๆ คนในเวลำเดียวกัน (Multi-user) สำมำรถประมวลผลโดยแบ่งเวลำกำรใช้ซีพียู (CPU) โดยผ่ำนเครื่องเทอร์มินัล กำรประมวลผลแบบแบ่งเวลำนี้เรียกว่ำ Time sharing 1.5.2.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) ธุรกิจและหน่วยงำนที่มีขนำดเล็กไม่จำเป็ นต้องใช้ คอมพิวเตอร์ขนำดเมนเฟรมซึ่งมีรำคำแพง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนำคอมพิวเตอร์ให้มีขนำดเล็กและมีรำคำถูกลง เรียกว่ำ เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะ พิเศษในกำรทำงำนร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้ำงที่มีควำมเร็วสูงได้ มีกำรใช้แผ่นจำนแม่เหล็กควำมจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในกำรเก็บรักษำข้อมูล สำมำรถอ่ำนเขียนข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็ว หน่วยงำนและบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ ขนำดนี้ได้แก่ กรม กอง มหำวิทยำลัย ห้ำงสรรพสินค้ำ โรงแรม โรงพยำบำล และโรงงำนอุตสำหกรรมต่ำงๆ 1.5.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดเล็กที่สุด รำคำถูกที่สุด ใช้งำนง่ำย และนิยมมำกที่สุดรำคำของเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์จะอยู่ในช่วงประมำณหมื่นกว่ำ ถึง แสนกว่ำบำท ในวงกำรธุรกิจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กับงำนทุก ๆ อย่ำง ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนำดเล็กพอที่จะตั้งบนโต๊ะ (Desktop) หรือ ใส่ลงในกระเป๋ ำเอกสำร เช่น คอมพิวเตอร์วำง บนตัก (Lap top) หรือโน้ตบุ๊ก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอร์สำมำรถทำงำนในลักษณะประมวลผลได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นเรียกว่ำระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไว้สำหรับใช้งำนส่วนตัว จึงเรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้อีกชื่อหนึ่งว่ำ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือเครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และ สำมำรถนำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มำเชื่อมต่อกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ หรือเชื่อมต่อกับเครื่อง เมนเฟรม เพื่อขยำยประสิทธิภำพเพิ่มขึ้น ทำให้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลำยอย่ำงรวดเร็ว 1.5.2.5 คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)
  • 11. 11 เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ อีกทั้งสำมำรถพกพำไปยังที่ต่ำงๆ ได้ ง่ำยกว่ำ เหมำะกับกำรจัดกำรข้อมูลประจำวัน กำรสร้ำงปฏิทินนัดหมำย กำรดูหนังฟังเพลงรวมถึงกำรรับส่งอีเมล์ บำง รุ่นอำจมีควำมสำมำรถเทียบเคียงได้กับไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปำล์ม พ็อกเก็ตพีซี เป็นต้น นอกจำกนี้โทรศัพท์มือถือ บำงรุ่นก็มีควำมสำมำรถใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์มือถือในกลุ่มนี้ในแง่ของกำรรันโปรแกรมจัดกำรกับข้อมูลทั่วไปโดยใช้ ระบบปฏิบัติกำร Symbian หรือไม่ก็ Linux 1.6 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรำเห็นๆ กันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เท่ำนั้น แต่ถ้ำ ต้องกำรให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสำมำรถทำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพตำมที่เรำต้องกำรนั้น จำเป็นต้องอำศัย องค์ประกอบพื้นฐำน 4 ประกำรมำทำงำนร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐำนของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย ฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลำกร (People ware) ข้อมูล / สำรสนเทศ (Data/Information) 1.6.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมำยถึง อุปกรณ์ต่ำงๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่ำงสำมำรถมองเห็นด้วยตำ และสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภำพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมำส์ เป็นต้น ซึ่งสำมำรถแบ่งออกเป็นส่วนต่ำงๆ ตำม ลักษณะกำรทำงำน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit: CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้ำที่ กำรทำงำนแตกต่ำงกัน 1.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software) หมำยถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นำมธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทำงำน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่ำงผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้ำไม่มี ซอฟต์แวร์เรำก็ไม่สำมำรถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สำมำรถแบ่งได้ ดังนี้ 1.6.2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงำนใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มำกที่สุด เพื่อคอยควบคุมกำรทำงำนของฮำร์ดแวร์ทุกอย่ำง และอำนวยควำม สะดวกให้กับผู้ใช้ในกำรใช้งำน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทั้ง โปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภำษำระดับสูง เช่น ภำษำ Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เป็นต้น นอกจำกนี้ โปรแกรมที่ใช้ในกำรตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
  • 12. 12 1.6.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่สั่งคอมพิวเตอร์ ทำงำนต่ำงๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร ไม่ว่ำจะด้ำนเอกสำร บัญชี กำรจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำมำรถ จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ - ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อกำรทำงำนเฉพำะอย่ำงที่เรำต้องกำร บำงที่เรียกว่ำ User’s Program เช่น โปรแกรมกำรทำบัญชีจ่ำยเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่ำซื้อ โปรแกรมกำรทำสินค้ำ คงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่ำงกันออกไปตำมควำมต้องกำร หรือกฎเกณฑ์ ของแต่ละหน่วยงำนที่ใช้ ซึ่งสำมำรถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบำงส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับ ควำมต้องกำรของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภำษำระดับสูงเป็นตัวพัฒนำ - ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในกำรทำงำนประเภทต่ำงๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สำมำรถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สำมำรถทำกำรดัดแปลง หรือ แก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นกำรประหยัดเวลำ แรงงำน และค่ำใช้จ่ำยในกำรเขียน โปรแกรม นอกจำกนี้ยังไม่ต้องใช้เวลำมำกในกำรฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้มักจะมีกำรใช้งำนในหน่วยงำน ที่ขำดบุคลำกรที่มีควำมชำนำญเป็นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ดังนั้น กำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวย ควำมสะดวกและเป็นประโยชน์อย่ำงยิ่ง ตัวอย่ำงโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่ำงๆ เป็นต้น 1.6.3 บุคลากร (People ware) หมำยถึง บุคลำกรในงำนด้ำนคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีควำมรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สำมำรถใช้งำน สั่งงำนเพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทำงำนตำมที่ต้องกำร แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้ 1.6.3.1 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตำม เป้ ำหมำยของหน่วยงำน 1.6.3.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษำระบบงำนเดิมหรืองำนใหม่และทำกำร วิเครำะห์ควำมเหมำะสม ควำมเป็นไปได้ในกำรใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงำน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรม ให้กับระบบงำน 1.6.3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงำนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงำน ตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ โดยเขียนตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์ระบบได้เขียนไว้ 1.6.3.4 ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และวิธีกำรใช้งำน โปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สำมำรถทำงำนได้ตำมที่ต้องกำร เนื่องจำกเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งำนเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มี ควำมน่ำเชื่อถือ เนื่องจำกคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในกำรประมวลผลได้รับจำกกำรกำหนดของมนุษย์ (People ware) ทั้งสิ้น
  • 13. 13 1.6.4 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่ำงหนึ่ง กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลตั้งแต่กำร นำข้อมูลเข้ำจนกลำยเป็นข้อมูลที่สำมำรถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่ำ สารสนเทศ (Information) ซึ่งข้อมูลเหล่ำนี้ อำจจะเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น ภำพ เสียง เป็นต้น ข้อมูลที่จะนำมำใช้กับคอมพิวเตอร์ได้นั้น โดยปกติจะต้องมีกำรแปลงรูปแบบหรือสถำนะให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจ ก่อน จึงจะสำมำรถเอำมำใช้งำนในกำรประมวลผลต่ำงๆ ได้เรำเรียกสถำนะนี้ว่ำ สถานะแบบดิจิตอล ซึ่งมี 2 สถำนะ เท่ำนั้น คือ เปิด(1) และ ปิด(0) ………………………………………………………………………………………………………………