SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
ความหมาย
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการ
ทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ
1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
3.ส่วนแสดงผล (Output Unit)
4.หน่วยความจา (Memory Unit)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS
cycle) คือ
1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
3.ส่วนแสดงผล (Output Unit)
4.หน่วยความจา (Memory Unit)
1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์มากมายแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้
ดังนี้
Keyboard เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนาข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ มี
ลักษณะเป็นปุ่มตัวอักษรเหมือนปุ่มเครื่องพิมพ์ดีด เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีใน
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทาการเปลี่ยน เป็นรหัสเพื่อส่ง
ต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึ้น
ไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มีแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทาให้การป้อนข้อมูล
ตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น การวางตาแหน่งแป้นอักขระ จะเป็นไปตามมาตรฐาน
ของระบบพิมพ์สัมผัสของเครื่องพิมพ์ดีด ที่มีการใช้แป้นยกแคร่ (shift) เพื่อทาให้
สามารถใช้พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักษร
ที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็นรหัส7 หรือ 8 บิต กล่าวคือ เมื่อมีการกด
แป้นพิมพ์แผงแป้นอักขระจะส่งรหัสขนาด 7 หรือ 8 บิต นี้เข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์
คีย์บอร์ด
(KEYBORD)
Mouse เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็นการทางาน
โดยทั่วไปจะเป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งต่างๆ
บนจอภาพ เหมาะสาหรับใช้งานเมื่อต้องเลือก หรือเลื่อนวัตถุต่างๆ บน
จอ Mouse ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ได้2 แบบ ได้แก่ 9 Pin, Serial Port
และ PS/2 (Personal System Version2)
เมาส์
(MOUSE)
จอภาพ
(MONITOR)
จอภาพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อ
กับผู้ใช้โดยตรง เพราะเราสามารถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพของเรา
จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือจอแบบซีอาร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่ง
จอภาพ 2 แบบนี้มีลักษณะที่แตกต่างกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็คือจอแบบซีอาร์ที (CRT)
ส่วนใหญ่เป็นจอภาพที่นิยมใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนาดใหญ่คล้ายโทรทัศน์
เมื่อก่อนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่เมื่อจอภาพแบบแอลซีดี (LCD) เข้ามาแทน
จอภาพแบบซีอาร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนในปัจจุบันนี้เราแทบไม่เห็นร้านขายคอมพิวเตอร์มีจอ
แบบนี้วางขายอีกแล้ว ส่วนจอภาพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและ
ในแบบของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจากเป็นจอภาพที่มีขนาดรูปร่างที่บางทาให้สะดวกสาหรับการ
พกพาไปไหนมาไหน แต่จอภาพแบบแอลซีดีนี้ก็มีราคาที่แพงกว่าจอภาพแบบซีอาร์ที
การ์ดแสดงผล
(Display Card)
หลักการทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรม
ต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็
จะส่งข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น
การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ด
แสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็ว
การแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามาให้มากพอสมควร
โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบา
ภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้น
เร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง
ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะ
ช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นด้วย
เคส
(case)
คือ โครงหรือกล่องสาหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของ
คอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การเรียกชื่อ และขนาด ของเคสจะ
แตกต่างกันออกไป ซึ่งในปัจจุบันมีหลายแบบที่นิยมกัน
แล้วแต่ผู้ซื้อจะเลือกซื้อตามความเหมาะสม ของงาน และ
สถานที่นั้น
พาวเวอร์ซัพพลาย
(Power Supply)
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วน
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวง
เยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือก
พาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่าย
กระแสไฟได้เพียงพอ
ซีพียู
(CPU)
ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip)
นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลจาก
ข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้
งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ
1) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทา
หน้าที่เหมือนกับเครื่องคานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทาง
คณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคานวณ
ธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ
ตามเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คาตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง
หรือ เท็จ ได้
2) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมลาดับขั้นตอนการประมวลผล
รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจาสารอง
ด้วย ซีพียูที่มีจาหน่ายในท้องตลาด ได้แก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) ,
Celeron , Dulon , Athlon
แรม
(RAM)
RAM ย่อมาจากคาว่า Random-Access Memory เป็นหน่วยความจาหลัก
แต่ไม่ถาวร ซึ่งจะต้องมีไฟมาหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดในการทางาน โดยถ้า
เกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจาจะ
หายไปทันที โดยหลักการทางานคร่าวๆ ของแรมนั้นเริ่มต้นที่รับข้อมูล
จากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์ Input จากนั้นก็จะส่งข้อมูลไปยัง CPU ในการ
ประมวลผล เมื่อ CPUประมวลผลเสร็จแล้ว แรมจะรับข้อมูลที่ได้รับการ
ประมวลผลแล้วออกไปยังอุปกรณ์ Output ต่อไป โดยหน่วยความจาแรมที่
ใช้ในปัจจุบันมีหลายชนิด เช่น SDRAM, DDR-RAM, RDRAM
ฮาร์ดดิสก์
(Hard disk)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
โดยฮาร์ดดิสค์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง
และมีแผงวงจรสาหรับการควบคุมการทางานประกบอยู่ที่ด้านล่าง พร้อม
กับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง ส่วนประกอบภายในจะถูกปิด
ผนึกไว้อย่างมิดชิด โดยฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแผ่นจาน
แม่เหล็ก(platters) สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกนเดียวกัน
เรียก Spindle ทาให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อน
ของมอเตอร์ แต่ละหน้าของแผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจาเฉพาะ โดย
หัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี สามารถเคลื่อนเข้าออกระหว่าง
แทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว
CD-ROM / CD-RW / DVD / DVD-RW
เป็นไดรฟ์สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่น
จะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้คือ CD-RW หรือ DVD-RW โดยความเร็วของ ซีดีรอมจะเรียก
เป็น X เช่น 16X , 32X หรือ 52X โดยจะมี Interface เดียวกับ Hard การทางานของ CD-ROM ภายใน
ซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุก
เซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วย
ความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอมคงที่สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่า
จะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกกรือวงในก็ตาม จากนั้นแสงเลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูก
โฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้ โดยการทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอม
แล้วถูกสะท้อนกลับ ที่ผิวหน้าของซีดีรอมจะเป็น หลุมเป็นบ่อ ส่วนที่เป็นหลุมลงไปเรียก "แลนด์"
สาหรับบริเวณที่ไม่มีการเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิวสองรูปแบบนี้เราใช้แทนการเก็บข้อมูลในรูปแบบ
ของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไม่สะท้อนกลับ แต่เมื่อแสงถูกเลนส์จะสะท้อนกลับผ่านแท่ง
ปริซึม จากนั้นหักเหผ่านแท่งปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆช่วงของลาแสงที่กระทบตัว
ตรวจจับแสงจะกาเนิดแรงดันไฟฟ้ า หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ส่วนการ
บันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีรอมนั้นต้องใช้แสงเลเซอร์เช่นกัน โดยมีลาแสงเลเซอร์จากหัวบันทึกของเครื่อง
บันทึกข้อมูลส่องไปกระทบพื้นผิวหน้าของแผ่น ถ้าส่องไปกระทบบริเวณใดจะทาให้บริเวณนั้นเป็นหลุม
ขนาดเล็ก บริเวณทีไม่ถูกบันทึกจะมีลักษณะเป็นพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผ่นdisk
ฟล็อปปี้ดิสก์
(Floppy Disk)
เป็นอุปกรณ์ที่กาเนิดมาก่อนยุคของพีซีเสียอีก โดยเริ่มจากที่มีขนาด 8 นิ้ว
กลายมาเป็น 5.25 นิ้ว จนมาถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ที่ 3.5 นิ้ว ในส่วนของความจุ
เริ่มต้นตั้งแต่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 เมกะไบต์และ 2.88 เมกะไบต์
ตามลาดับ
ในปัจจุบันการใช้งานฟล็อปปี้ ดิสก์นั้นน้อยลงไปมากเพราะ เนื่องจากจุข้อมูล
ได้น้อยซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ฟล็อปปี้ ดิสก์ก็ยังคงเป็นมาตรฐาน
หนึ่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมี การพัฒนาฟล็อปปี้ ดิสก์ก็ไม่ได้
หยุดยั้งไปเสียทีเดียว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ระบบ Optical ทาให้
สามารถขยายความจุไปได้ถึง 120 เมกะไบต์ต่อแผ่น
นางสาวศตพร เกสรศิริ ม.5/4 เลขที่ 30 นางสาวเมทิกา หาญชิงชัย ม.5/4 เลขที่ 38
รายชื่อ

More Related Content

What's hot

หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น Nuttanun Wisetsumon
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)Araya Chiablaem
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4Kru Jhair
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์abdtaehng
 
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์Angkan Mahawan
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4kaimookCT
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Natchanan Mankhong
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3Araya Chiablaem
 
ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์janpen sinthagerd
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานNuttapoom Tossanut
 

What's hot (19)

หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 
1
11
1
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 

Similar to อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์chukiat008
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกChapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกPa'rig Prig
 
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg workหลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg workUthaiwan Suantai
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSupanut Boonlert
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24Ilhyna
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์วชรพล สาระศาลิน
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
Hardware
HardwareHardware
Hardwaresa
 
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์narongchai
 
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์narongchai
 

Similar to อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ (20)

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกChapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
 
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg workหลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
 
40981989 1-101109033419-phpapp01
40981989 1-101109033419-phpapp0140981989 1-101109033419-phpapp01
40981989 1-101109033419-phpapp01
 
40981989 1-101109033419-phpapp01
40981989 1-101109033419-phpapp0140981989 1-101109033419-phpapp01
40981989 1-101109033419-phpapp01
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์

  • 2. ความหมาย ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการ ทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ 1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) 2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) 3.ส่วนแสดงผล (Output Unit) 4.หน่วยความจา (Memory Unit)
  • 3. อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ 1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) 2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) 3.ส่วนแสดงผล (Output Unit) 4.หน่วยความจา (Memory Unit) 1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์มากมายแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้ ดังนี้
  • 4. Keyboard เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนาข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ มี ลักษณะเป็นปุ่มตัวอักษรเหมือนปุ่มเครื่องพิมพ์ดีด เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีใน คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทาการเปลี่ยน เป็นรหัสเพื่อส่ง ต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึ้น ไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มีแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทาให้การป้อนข้อมูล ตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น การวางตาแหน่งแป้นอักขระ จะเป็นไปตามมาตรฐาน ของระบบพิมพ์สัมผัสของเครื่องพิมพ์ดีด ที่มีการใช้แป้นยกแคร่ (shift) เพื่อทาให้ สามารถใช้พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักษร ที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็นรหัส7 หรือ 8 บิต กล่าวคือ เมื่อมีการกด แป้นพิมพ์แผงแป้นอักขระจะส่งรหัสขนาด 7 หรือ 8 บิต นี้เข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด (KEYBORD)
  • 6. จอภาพ (MONITOR) จอภาพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อ กับผู้ใช้โดยตรง เพราะเราสามารถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพของเรา จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือจอแบบซีอาร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่ง จอภาพ 2 แบบนี้มีลักษณะที่แตกต่างกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็คือจอแบบซีอาร์ที (CRT) ส่วนใหญ่เป็นจอภาพที่นิยมใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนาดใหญ่คล้ายโทรทัศน์ เมื่อก่อนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่เมื่อจอภาพแบบแอลซีดี (LCD) เข้ามาแทน จอภาพแบบซีอาร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนในปัจจุบันนี้เราแทบไม่เห็นร้านขายคอมพิวเตอร์มีจอ แบบนี้วางขายอีกแล้ว ส่วนจอภาพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและ ในแบบของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจากเป็นจอภาพที่มีขนาดรูปร่างที่บางทาให้สะดวกสาหรับการ พกพาไปไหนมาไหน แต่จอภาพแบบแอลซีดีนี้ก็มีราคาที่แพงกว่าจอภาพแบบซีอาร์ที
  • 7. การ์ดแสดงผล (Display Card) หลักการทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรม ต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็ จะส่งข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ด แสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็ว การแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามาให้มากพอสมควร โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบา ภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้น เร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะ ช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นด้วย
  • 8. เคส (case) คือ โครงหรือกล่องสาหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของ คอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การเรียกชื่อ และขนาด ของเคสจะ แตกต่างกันออกไป ซึ่งในปัจจุบันมีหลายแบบที่นิยมกัน แล้วแต่ผู้ซื้อจะเลือกซื้อตามความเหมาะสม ของงาน และ สถานที่นั้น
  • 9. พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวง เยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือก พาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่าย กระแสไฟได้เพียงพอ
  • 10. ซีพียู (CPU) ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลจาก ข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้ งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ 1) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทา หน้าที่เหมือนกับเครื่องคานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทาง คณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคานวณ ธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ ตามเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คาตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ ได้ 2) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมลาดับขั้นตอนการประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจาสารอง ด้วย ซีพียูที่มีจาหน่ายในท้องตลาด ได้แก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon
  • 11. แรม (RAM) RAM ย่อมาจากคาว่า Random-Access Memory เป็นหน่วยความจาหลัก แต่ไม่ถาวร ซึ่งจะต้องมีไฟมาหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดในการทางาน โดยถ้า เกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจาจะ หายไปทันที โดยหลักการทางานคร่าวๆ ของแรมนั้นเริ่มต้นที่รับข้อมูล จากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์ Input จากนั้นก็จะส่งข้อมูลไปยัง CPU ในการ ประมวลผล เมื่อ CPUประมวลผลเสร็จแล้ว แรมจะรับข้อมูลที่ได้รับการ ประมวลผลแล้วออกไปยังอุปกรณ์ Output ต่อไป โดยหน่วยความจาแรมที่ ใช้ในปัจจุบันมีหลายชนิด เช่น SDRAM, DDR-RAM, RDRAM
  • 12. ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ โดยฮาร์ดดิสค์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง และมีแผงวงจรสาหรับการควบคุมการทางานประกบอยู่ที่ด้านล่าง พร้อม กับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง ส่วนประกอบภายในจะถูกปิด ผนึกไว้อย่างมิดชิด โดยฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแผ่นจาน แม่เหล็ก(platters) สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกนเดียวกัน เรียก Spindle ทาให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อน ของมอเตอร์ แต่ละหน้าของแผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจาเฉพาะ โดย หัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี สามารถเคลื่อนเข้าออกระหว่าง แทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว
  • 13. CD-ROM / CD-RW / DVD / DVD-RW เป็นไดรฟ์สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่น จะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้คือ CD-RW หรือ DVD-RW โดยความเร็วของ ซีดีรอมจะเรียก เป็น X เช่น 16X , 32X หรือ 52X โดยจะมี Interface เดียวกับ Hard การทางานของ CD-ROM ภายใน ซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุก เซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วย ความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอมคงที่สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่า จะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกกรือวงในก็ตาม จากนั้นแสงเลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูก โฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้ โดยการทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอม แล้วถูกสะท้อนกลับ ที่ผิวหน้าของซีดีรอมจะเป็น หลุมเป็นบ่อ ส่วนที่เป็นหลุมลงไปเรียก "แลนด์" สาหรับบริเวณที่ไม่มีการเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิวสองรูปแบบนี้เราใช้แทนการเก็บข้อมูลในรูปแบบ ของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไม่สะท้อนกลับ แต่เมื่อแสงถูกเลนส์จะสะท้อนกลับผ่านแท่ง ปริซึม จากนั้นหักเหผ่านแท่งปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆช่วงของลาแสงที่กระทบตัว ตรวจจับแสงจะกาเนิดแรงดันไฟฟ้ า หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ส่วนการ บันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีรอมนั้นต้องใช้แสงเลเซอร์เช่นกัน โดยมีลาแสงเลเซอร์จากหัวบันทึกของเครื่อง บันทึกข้อมูลส่องไปกระทบพื้นผิวหน้าของแผ่น ถ้าส่องไปกระทบบริเวณใดจะทาให้บริเวณนั้นเป็นหลุม ขนาดเล็ก บริเวณทีไม่ถูกบันทึกจะมีลักษณะเป็นพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผ่นdisk
  • 14. ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์ที่กาเนิดมาก่อนยุคของพีซีเสียอีก โดยเริ่มจากที่มีขนาด 8 นิ้ว กลายมาเป็น 5.25 นิ้ว จนมาถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ที่ 3.5 นิ้ว ในส่วนของความจุ เริ่มต้นตั้งแต่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 เมกะไบต์และ 2.88 เมกะไบต์ ตามลาดับ ในปัจจุบันการใช้งานฟล็อปปี้ ดิสก์นั้นน้อยลงไปมากเพราะ เนื่องจากจุข้อมูล ได้น้อยซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ฟล็อปปี้ ดิสก์ก็ยังคงเป็นมาตรฐาน หนึ่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมี การพัฒนาฟล็อปปี้ ดิสก์ก็ไม่ได้ หยุดยั้งไปเสียทีเดียว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ระบบ Optical ทาให้ สามารถขยายความจุไปได้ถึง 120 เมกะไบต์ต่อแผ่น
  • 15.
  • 16. นางสาวศตพร เกสรศิริ ม.5/4 เลขที่ 30 นางสาวเมทิกา หาญชิงชัย ม.5/4 เลขที่ 38 รายชื่อ