SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รูปแบบ On hand และ On Demand ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 3 ชั่วโมง
จุดประสงค์การเรียนรู้
K
P
A
กระบวนการจัดการเรียนรู้
สาระสาคัญ
สื่อการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล
ขั้นนา
ขั้นสอน
ขั้นสรุป
ใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
ตามขั้นตอนที่ถูกต้องได้
ปฏิบัติตามขั้นตอนการใช้งานกล้องจุลทรรศน์
แบบใช้แสงได้
เซลล์ (cell) เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทั้งสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ซึ่งเซลล์แต่ละชนิดจะมีรูปร่าง
และลักษณะที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีขนาด
เล็ก ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงต้องใช้กล้องจุลทรรศน์
ในการศึกษารูปร่างและลักษณะของเซลล์
เนื่องจากสถานณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้โรงเรียนเปลี่ยนรูปแบบการสอนแบบ On site เป็น On hand และ
On demand ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์จึงจัดรูปแบบการสอนดังนี้
1. คุณครูจัดทาชุดกิจกรรม เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต เพื่อแจกให้นักเรียนในวันจันทร์ของทุกสัปดาห์ตลอดการจัดการเรียนการ
สอน แบบ On hand
2. นักเรียนที่ไม่สะดวกมารับใบงาน คุณครูดาเนินการจัดทาใบงาน แบบทดสอบ ผ่าน Google Form และจัดส่ง Link ผ่านกลุ่ม
Line กลุ่ม Facebook ที่จัดตั้งไว้
3. นักเรียนทาใบงาน แบบทดสอบ ได้ทุกช่องทาง และนาส่งครูทุกวันจันทร์ของทุกสัปดาห์และ รับใบงานชุดใหม่กลับไป
4. ในระหว่างการเรียนการสอน หากนักเรียนมีข้อสงสัย สามารถติดต่อคุณครูได้ทาง Line และ Facebook
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ครูผู้สอน
นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี
โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2
เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 1.2 ม.1/2 ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
ม.1/3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับการทาหน้าที่ของเซลล์
ม.1/4 อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเริ่มจากเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็นสิ่งมีชีวิต
นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรม เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งในชุดกิจกรรมประกอบด้วย ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบ qr code คลิปวีดีโอ
การสอนใน เรื่อง เซลล์ให้นักเรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม
คลิปวีดีโอ - การส่งชิ้นงาน
5 คะแนน
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์
ต่อการทาหน้าที่ของเซลล์ได้
ครูดาเนินการเก็บคะแนนตามงานที่มอบหมายโดยใช้วิธียืดหยุ่น ให้เหมาะกับสถานการณ์ เช่น การส่งงานตรงเวลา ความรับผิดชอบในงาน
ที่ได้รับมอบหมาย แบบทดสอบ ความเรียบร้อยของงาน เป็นต้น
- คุณภาพชิ้นงาน
ชุดกิจกรรมสาเร็จรูป
- ความรับผิดชอบ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
ลงชื่อ………………………………………………………………
(นายกฤษฎา ประเสริฐศรี)
ผู้อานวยการโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
บันทึกผลหลังสอน
ผลการจัดกิจกรรม
ปัญหาที่เกิดขึ้น
แนวทางการแก้ปัญหา
ข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ
(นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี)
ครูผู้ช่วยโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
วิชาวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ON HAND
ชื่อ – สกุล........................................................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เลขที่..........
ผู้สอน คุณครูคนางค์ เสียงเพราะดี
โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของ
โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต
ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ว 1.1 ม.1/1 สังเกต และอธิบายรูปร่างลักษณะของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
และเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ว 1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์
1.นักเรียนสามารถอธิบายส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์ได้ (K)
2.นักเรียนสามารถใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ
ภายในเซลล์ได้ (P)
ใบความรู้ ที่ 1
เรื่อง การศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์
qr cord โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=gHa4UT3yTuk
แบบฝึกหัด เรื่อง เซลล์พืช เซลล์สัตว์
เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล คลอโรพลาสต์
ผนังเซลล์ นิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย
ออร์แกเนลล์อื่นๆ
คำชี้แจง ให้นักเรียนนำชื่อส่วนประกอบสำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ไปเติมลงในช่องว่ำง
ให้ถูกต้อง
ใบงาน เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (8 คะแนน)
1.โครงสร้างพื้นฐานที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้แก่อะไรบ้าง (1 คะแนน)
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
2.ผนังเซลล์ (Cell Wall) ทาหน้าที่อะไร (1 คะแนน)
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
3.เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) ทาหน้าที่อะไร (1 คะแนน)
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
4.นิวเคลียส (Nucleus) ทาหน้าที่อะไร (1 คะแนน)
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
5.ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) มีลักษณะเป็นอย่างไรและพบได้ที่บริเวณใดของเซลล์ (1 คะแนน)
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
6.แวคิวโอล (Vacuole) ทาหน้าที่อะไร (1 คะแนน)
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมส่วนประกอบต่างๆ ของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงให้ถูกต้อง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รูปแบบ On hand และ On Demand ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 3 ชั่วโมง
จุดประสงค์การเรียนรู้
K
P
A
กระบวนการจัดการเรียนรู้
สาระสาคัญ
สื่อการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล
ขั้นนา
ขั้นสอน
ขั้นสรุป
คานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน
และกาลังได้
มีความใฝ่เรียนรู้และมีความมุ่งมั่นในการทางาน
งานเป็นการออกแรงกระทากระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วัตถุเกิดการ
เคลื่อนที่ไปในแนวเดียวกับทิศทาง หรือมีการกระจัดตามแนวแรง
นั้น งานจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของแรง และขนาด
ของการกระจัดในแนวเดียวกับแรง และกาลัง เป็นปริมาณที่ใช้บอก
ความสามารถในการทางานได้ต่อหนึ่งหน่วยเวลา
เนื่องจากสถานณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้โรงเรียนเปลี่ยนรูปแบบการสอนแบบ On site เป็น On hand และ
On demand ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์จึงจัดรูปแบบการสอนดังนี้
1. คุณครูจัดทาใบงาน เรื่อง งานและกาลัง เพื่อแจกให้นักเรียนในวันจันทร์ของทุกสัปดาห์ตลอดการจัดการเรียนการสอน แบบ
On hand และ ในการเรียนสอน เรื่อง งานและกาลัง เป็นการคานวณ มีสูตร ครูจึงแนะนาให้นักเรียนมารับเป็นใบงาน On hand จึงจะ
สะดวกต่อการเรียนมากกว่า การทาใน Link
2. นักเรียนที่ไม่สะดวกมารับใบงาน คุณครูดาเนินการจัดทาใบงาน แบบทดสอบ ผ่าน Google Form และจัดส่ง Link ผ่านกลุ่ม
Line กลุ่ม Facebook ที่จัดตั้งไว้
3. นักเรียนทาใบงาน แบบทดสอบ ได้ทุกช่องทาง และนาส่งครูทุกวันจันทร์ของทุกสัปดาห์และ รับใบงานชุดใหม่กลับไป
4. ในระหว่างการเรียนการสอน หากนักเรียนมีข้อสงสัย สามารถติดต่อคุณครูได้ทาง Line และ Facebook
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ครูผู้สอน
นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี
โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2
เรื่อง งานและกาลัง
นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง งานและกาลัง ซึ่งในเล่มประกอบด้วย ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด qr code คลิปวีดีโอการสอนใน เรื่อง
งานและกาลัง ให้นักเรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม
คลิปวีดีโอ - การส่งชิ้นงาน
5 คะแนน
อธิบายความหมายของงานและกาลังในทาง
วิทยาศาสตร์ได้
ครูดาเนินการเก็บคะแนนตามงานที่มอบหมายโดยใช้วิธียืดหยุ่น ให้เหมาะกับสถานการณ์ เช่น การส่งงานตรงเวลา ความรับผิดชอบในงาน
ที่ได้รับมอบหมาย แบบทดสอบ ความเรียบร้อยของงาน เป็นต้น
- คุณภาพชิ้นงาน
ชุดกิจกรรมสาเร็จรูป
- ความรับผิดชอบ
Fs
W =
t
W
P =
ว 2.3 ม.2/1 วิเคราะห์สถานการณ์และคานวณเกี่ยวกับงานและกาลังที่เกิดจากแรงที่กระทาต่อวัตถุ
โดยใช้สมการ จากข้อมูลที่รวบรวมได้
และ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
ลงชื่อ………………………………………………………………
(นายกฤษฎา ประเสริฐศรี)
ผู้อานวยการโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
บันทึกผลหลังสอน
ผลการจัดกิจกรรม
ปัญหาที่เกิดขึ้น
แนวทางการแก้ปัญหา
ข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ
(นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี)
ครูผู้ช่วยโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
ผู้สอน นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี
ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย
โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
ชื่อ………………….เลขที่ ……………….
22
มาตรฐานว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงานการเปลี่ยนแปลงและการ
ถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงานพลังงานในชีวิตประจาวัน
ธรรมชาติของคลื่นปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียงแสงและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ม.2/1 วิเคราะห์สถานการณ์และคานวณเกี่ยวกับงานและกาลังที่เกิดจากแรงที่
กระทาต่อวัตถุ โดยใช้สมการ W = Fs และ P =
W
t
จากข้อมูลที่
รวบรวมได้
ด้านพุทธิพิสัย
1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของงานและกาลังได้
2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับงานและกาลังได้
ด้านทักษะพิสัย
1. นักเรียนสามารถคานวณงานและกาลังได้
ด้านจิตพิสัย
1. นักเรียนสามารถอภิปรายงานและกาลังได้
ใบความรู้ ที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน
งาน (Work )
งาน ความหมายโดยทั่วไป เป็นการกระทากิจกรรมหรือสิ่งใด ๆ เพื่อที่จะ
ได้รับซึ่งผลตอบแทน เช่น การรดน้าต้นไม้ การเล่นฟุตบอล การวาดภาพ การ
ล้างรถ การล้างจาน
ความหมายของงานทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ผลจากการกระทาของแรงต่อ
วัตถุอย่างต่อเนื่อง และทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงกระทา แรงที่กระทาต่อ
วัตถุแล้วทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวราบแสดงว่าเกิดงาน ถ้าเราออกแรง
กระทาต่อวัตถุแล้ววัตถุไม่เคลื่อนที่ แสดงว่าไม่เกิดงาน
ดังนั้น การเกิดงานจะต้องมีแรงกระทาและระยะทางการเคลื่อนที่
เกี่ยวข้องเสมอ เช่น การออกแรงดันตู้เสื้อผ้าจากกลางห้องเลื่อนไปติดผนัง แต่
ถ้าออกแรงดันแล้วตู้ไม่ขยับหรือเคลื่อนที่จากเดิมถือว่าไม่เกิดงาน
ปริมาณของงานขึ้นอยู่กับ
1. ขนาดของแรงที่ใช้
2. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแนวแรง
3. ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวแรง
การหาค่าปริมาณงาน สามารถคานวณได้จาก สูตร
งาน = แรง  ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ตามทิศทางของแนวแรง
เขียนเป็นสมการจะได้ W = F  S
เมื่อ W คือ งาน มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร หรือ จูล (J)
F คือ แรง มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
S คือ ระยะทาง มีหน่วยเป็น เมตร (m)
ตัวอย่าง การคานวณหาค่างาน
1. เด็กชาย มิค ผลักก้อนหินให้เคลื่อนที่ไปตามพื้นด้วยแรง 20 นิวตัน ก้อน
หินเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงเป็นระยะทาง 3 เมตร จะมีงานเกิดขึ้นเท่าไหร่
วิธีทา
โจทย์ถาม งานที่เกิดจากการผลักก้อนหินของเด็กชายมิค
โจทย์บอก เด็กชายมิค ผลักก้อนหินให้เคลื่อนที่ไปตามพื้นด้วยแรง 20 นิวตัน
ก้อนหินเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงเป็นระยะทาง 3 เมตร
จากสูตร งาน = แรง  ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ตามทิศทางของแนวแรง
แทนค่าด้วยตัวเลขตามสูตร งาน = 20N 3m
งาน = 60 N.m
ตอบ งานที่เกิดจากการผลักก้อนหินของเด็กชายมิค มีค่าเท่ากับ 60 นิวตัน
เมตร
กาลัง (Power)
โดยทั่วไปการเปรียบเทียบสมรรถภาพของเครื่องยนต์ หรือ
ความสามารถในการทางานของคนเรา หรือเครื่องจักรจะไม่
สามารถพิจารณาได้โดยตรงจากงานที่ทาได้ แต่พิจารณาได้จาก
งานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วย เวลา ซึ่งเรียกทั่วๆไปว่า “กาลัง (Power)”
ถ้ามีแรงภายนอกกระทากับวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง และทาให้เกิด
งาน เรา สามารถหากาลังในช่วงเวลาดังกล่าวได้ จากสูตร
เขียนเป็นสมการจะได้ P= 𝐖𝐭
เมื่อ W คือ งาน มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร หรือ จูล (J)
t คือ เวลาที่ใช้ในการทางาน มีหน่วยเป็นวินาที (s)
P คือ กาลัง ระยะทาง มีหน่วยเป็น จูลต่อวินาที (J/s) หรือ วัตต์
(W)
***นอกจากนี้ หน่วยของกาลัง ที่นิยมใช้ในเครื่องจักรกล
เครื่องยนต์ ได้แก่ กาลังม้า (horsepower, hp)
โดยการเทียบคือ 1 แรงม้า = 745.7 watt (หรือประมาณ 746
วัตต์)
qr cord การสอนเรื่องงานและกาลัง
ที่มา: hthttps://www.youtube.com/
watch?v=qK366Gxz8dc
ตัวอย่าง การคานวณหาค่ากาลัง
ตัวอย่างที่ 1 เครื่องจักรเครื่องหนึ่งทางานได้ 2,000 จูล ในเวลา 10 วินาที
กาลังของเครื่องจักรเครื่องนี้มีค่าเท่าใด
วิธีทา
โจทย์ถาม กาลังของเครื่องจักรเครื่องนี้
โจทย์บอก เครื่องจักรเครื่องหนึ่งทางานได้ 2,000 จูล ในเวลา 10 วินาที
จากสูตร
แทนค่าด้วยตัวเลขตามสูตร กาลัง =
2,000𝐽
10𝑠
กาลัง = 200 J/s
ตอบ กาลังของเครื่องจักรเครื่องนี้ มีค่าเท่ากับ 200 จูลต่อวินาที หรือเท่ากับ
200 วัตต์
ตัวอย่างที่ 2 เด็กชายไมค์ยกของมวล 20 กิโลกรัม จากพื้นราบขึ้นวางบนโต๊ะ
สูง 2 เมตร ถ้าในการยกมวลครั้งนี้ใช้เวลาทั้งสิ้น 5 วินาที จงหากาลังที่เด็กชาย
ไมค์ใช้ในครั้งนี้
วิธีทา
โจทย์ถาม กาลังที่เด็กชายไมค์ ใช้ยกของ
โจทย์บอก เด็กชายไมค์ ยกของมวล 20 กิโลกรัม(คิดเป็นน้าหนัก 200 นิวตัน)
จากพื้นราบขึ้นวางบนโต๊ะสูง 2 เมตรเวลาทั้งสิ้น 5 วินาที
จากสูตร
แทนค่าด้วยตัวเลขตามสูตร กาลัง =
200N×2m
5s
กาลัง = 80 J/s
ตอบ กาลังที่เด็กชายไมค์ใช้ยกของ มีค่าเท่ากับ 80 จูลต่อวินาที หรือเท่ากับ 80
วัตต์
แบบฝึกหัด เรื่อง งานและกาลัง
1. งานเกิดขึ้นได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………….…
2. งานจะมีค่ามากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
3. คนดันลังไม้ให้เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยแรง 50 นิวตัน ได้
ขนาดของการกระจัด 2 เมตร งานเนื่องจากแรงที่คนดันลังไม้
เป็นเท่าใด
วิธีทา……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
4. คนดันกล่องให้เคลื่อนที่ไปทางขวาบนพื้นฝืดด้วยแรง 50
นิวตัน ได้ขนาดของการกระจัด 2 เมตร พื้นมีแรงเสียดทาน 10
นิวตัน งานเนื่องจากแรงลัพธ์ที่กระทาต่อกล่องเป็นเท่าใด
วิธีทา……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
5. คนหิ้วถุงขนมหนัก 5 นิวตัน เดินขึ้นบันไดไปชั้น 2 ซึ่งอยู่สูงจาก
ชั้น 1 ประมาณ 3 เมตร งานเนื่องจากแรงที่คนหิ้วถุงขนมเป็น
เท่าใด
วิธีทา……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
6. คนหิ้วถุงแกงหนัก 3 นิวตัน และเดินไปข้างหน้าได้ขนาดของ
การกระจัด 4 เมตร งานเนื่องจากแรงที่คนหิ้วถุงแกงเป็นเท่าใด
วิธีทา……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
7. คนลากกล่องด้วยแรง 20 นิวตัน ไปข้างหน้า 10 เมตร งานที่
ลากกล่องเป็นเท่าใด
วิธีทา……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
8.นักเรียนจัดห้องโดยเข็นตู้เก็บของด้วยแรง 50 นิวตัน จากมุม
ห้องด้านหนึ่งไปยังมุมห้องด้านตรงข้ามได้ ระยะทาง 6 เมตร
จากนั้นนักเรียนเปลี่ยนใจเข็นตู้เก็บของกลับมาไว้ที่มุมเดิมด้วยแรง
เท่าเดิม งานเนื่องจากแรงที่กระทาต่อตู้เก็บของเป็นเท่าใด
วิธีทา……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………….…
………………………………………………………………………………………………………………
9. กาลังเกิดขึ้นได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………….…
10.นักเรียนออกแรงลากกล่องในแนวระดับด้วยแรง 40 นิวตัน ทาให้
กล่องเคลื่อนที่ไปได้ขนาดของการกระจัด 6 เมตร ถ้านักเรียนใช้เวลา
ลากกล่อง 5 วินาที นักเรียนมีกาลังเท่าใด
วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………..…………..…
………………………………………………………………………………………………………………………………...…
…………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………..……
11. เครื่องยนต์เครื่องหนึ่งทาให้เครื่องจักรทางานได้ 360 กิโลจูล ใน
เวลา 1 นาที เครื่องยนต์เครื่องนี้ มีกาลังเท่าใด
วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………..…………..…
………………………………………………………………………………………………………………………………...…
…………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………..……
12. ชายคนหนึ่งดันรถที่จอดขวางให้เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 3 เมตร ใช้เวลา
10 วินาที ถ้าออกแรงดัน 100 นิวตัน ชายคนนั้นมีกาลังเท่าใด
วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………..…………..…
………………………………………………………………………………………………………………………………...…
…………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………..……
13. รถทดลองคันหนึ่งมีกาลัง 60 วัตต์ ถ้ารถทดลองคันนี้เคลื่อนที่ได้
ระยะทาง 3 เมตร ใช้เวลา 2 วินาที แรงขับเนื่องจากเครื่องยนต์ที่ทาให้
รถทดลองเคลื่อนที่เป็นเท่าใด
วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………..…………..…
………………………………………………………………………………………………………………………………...…
…………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………..……
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รูปแบบ On hand และ On Demand ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 3 ชั่วโมง
จุดประสงค์การเรียนรู้
K
P
A
กระบวนการจัดการเรียนรู้
สาระสาคัญ
สื่อการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล
ขั้นนา
ขั้นสอน
ขั้นสรุป
คานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องกับอัตราเร็ว ความยาวคลื่น
ความถี่ และแอมพลิจูดได้
เป็นคนช่างสังเกต ช่างคิด ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้
และมุ่งมั่นในการเสาะแสวงหาความรู้
คลื่น (wave) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรบกวนแหล่งกาเนิด
หรือตัวกลางเกิดการสั่นสะเทือนทาให้มีการแผ่หรือถ่ายโอน
พลังงานจากการสั่นสะเทือนไปยังจุดอื่น ๆ โดยที่ตัวกลางนั้นไม่มี
การเคลื่อนที่ไปกับคลื่น การเกิดคลื่นน้าเป็นการถ่ายโอนพลังงาน
โดยผ่านโมเลกุลของน้า ซึ่งโมเลกุลของน้าจะไม่เคลื่อนที่ไปกับคลื่น
เนื่องจากสถานณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้โรงเรียนเปลี่ยนรูปแบบการสอนแบบ On site เป็น On hand และ
On demand ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์จึงจัดรูปแบบการสอนดังนี้
1. คุณครูจัดทาชุดกิจกรรม เรื่อง คลื่นกล เพื่อแจกให้นักเรียนในวันจันทร์ของทุกสัปดาห์ตลอดการจัดการเรียนการสอน แบบ
On hand และ ในการเรียนสอน เรื่อง คลื่นกล เป็นการเรียนการสอนที่มีการทดลอง มีการคานวณ การทาในชุดกิจกรรมจะสะดวกกว่า
การในระบบ Google Form
2. นักเรียนทาใบงาน แบบทดสอบ ได้ทุกช่องทาง และนาส่งครูทุกวันจันทร์ของทุกสัปดาห์และ รับใบงานชุดใหม่กลับไป
3. ในระหว่างการเรียนการสอน หากนักเรียนมีข้อสงสัย สามารถติดต่อคุณครูได้ทาง Line และ Facebook
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ครูผู้สอน
นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี
โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2
เรื่อง คลื่นกล
นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรม เรื่อง คลื่นกล ซึ่งในเล่มประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด qr code คลิป
วีดีโอการสอนใน เรื่อง คลื่น คลิปการทดลอง คลิปการคานวณ ต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วน เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม
คลิปวีดีโอ - การส่งชิ้นงาน
5 คะแนน
อธิบายการเกิดคลื่นกลและบรรยายส่วนประกอบ
ของคลื่นได้
ครูดาเนินการเก็บคะแนนตามงานที่มอบหมายโดยใช้วิธียืดหยุ่น ให้เหมาะกับสถานการณ์ เช่น การส่งงานตรงเวลา ความรับผิดชอบในงาน
ที่ได้รับมอบหมาย แบบทดสอบ ความเรียบร้อยของงาน เป็นต้น
- คุณภาพชิ้นงาน
ชุดกิจกรรมสาเร็จรูป
- ความรับผิดชอบ
ม.3/10 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายส่วนประกอบของคลื่น
ม.3/11 อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากข้อมูลที่รวบรวมได้
ม.3/10 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายส่วนประกอบของคลื่น
ว 2.3
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
ลงชื่อ………………………………………………………………
(นายกฤษฎา ประเสริฐศรี)
ผู้อานวยการโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
บันทึกผลหลังสอน
ผลการจัดกิจกรรม
ปัญหาที่เกิดขึ้น
แนวทางการแก้ปัญหา
ข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ
(นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี)
ครูผู้ช่วยโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี
ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย
โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2
นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คลื่น ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
(5E) รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สาหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชุดนี้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ ของนักเรียนและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนให้สูงขึ้น ได้นาเสนอเนื้อหาสาระเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ตามมาตรฐานที่
กาหนดไว้ในหลักสูตร และมีลาดับขั้นตอนของกิจกรรมดังต่อไปนี้ คือ ขั้น
สร้างความสนใจ ขั้นสารวจและค้นหา ขั้นอธิบายและลงข้อสรุปขั้นขยาย
ความรู้ และขั้นประเมินผลผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้นาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชา
วิทยาศาสตร์ต่อไป
33

3

หน้า
คานา 2
สารบัญ 3
ผังมโนทัศน์ 4
คาชี้แจงสาหรับครู 5
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 6
มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์การเรียนรู้ 7
ขั้นสร้างความสนใจ 8
ขั้นสารวจและค้นหา 12
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 14
ขั้นขยายความรู้ 15
ขั้นประเมินผล 20
ภาคผนวก 26
เฉลย แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 27
เฉลย เฉลย แบบฝึกหัดที่ 1 29
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน / หลังเรียน 32
บรรณานุกรม 33
35
ว 2.3 ม.3/10 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยาย
ส่วนประกอบของคลื่น
ว 2.3 ม.3/11 อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
จากข้อมูลที่รวบรวมได้
ว 2.3 ม.3/10 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยาย
ส่วนประกอบของคลื่น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คลื่น ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E)
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีลาดับขั้นตอนของกิจกรรมดังต่อไปนี้ คือ ขั้นสร้างความสนใจ ขั้น
สารวจและค้นหา ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ และขั้นประเมินผล
โดยครูผู้สอนจะมีบทบาท ดังนี้
1. ครูควรศึกษาและทาความเข้าใจวิธีการใช้ชุดกิจกรรม ขั้นตอนการดาเนิน
กิจกรรม การใช้สื่อและอุปกรณ์ รวมทั้งวิธีวัดและประเมินผลของชุดกิจกรรมให้
ชัดเจน
2. ครูควรเตรียมการจัดกิจกรรมล่วงหน้า และเตรียมสถานที่ ตลอดจนสื่อต่าง ๆ
ให้พร้อมก่อนใช้ชุดการเรียนรู้
3. ครูควรตรวจวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุดกิจกรรมให้เรียบร้อยทั้งก่อน และ
หลังใช้ชุดกิจกรรมทุกครั้ง
4. ครูควรชี้แจงบทบาทของนักเรียน เวลาที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมแต่ละ
กิจกรรม หรือแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
5. การแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ควรแบ่งกลุ่มนักเรียน ให้
คละความสามารถ โดยพิจารณานักเรียนที่เรียนเก่ง ปานกลาง และเรียนอ่อน ใน
อัตราส่วน 1 : 2 : 1 เพื่อประโยชน์ในการช่วยเหลือและพึ่งพาอาศัยกันและกัน
6. ครูผู้สอน จะเป็นผู้ให้คาแนะนาสาหรับนักเรียนในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และคอยให้กาลังใจนักเรียนในการปฏิบัติกิจกรรม
36

37
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คลื่น ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) รายวิชา
วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี
ลาดับขั้นตอนของกิจกรรมดังต่อไปนี้ คือ ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นสารวจและค้นหา ขั้นอธิบาย
และลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ และขั้นประเมินผล
1. นักเรียนเข้ากลุ่มตามที่ครูแบ่งให้ กลุ่มละ 4-5 คน ตัวแทนกลุ่มรับชุดกิจกร รมการ
เรียนรู้ เรื่อง คลื่นกล กลุ่มละ 1 ชุดที่ครูผู้สอน (ปรับตามความเหมาะสม)
2. อ่านบทบาทของนักเรียนให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้
3. ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนจานวน 20 ข้อ (20 คะแนน) โดยใช้ เวลา 10
นาที เพื่อประเมินความรู้เดิมของตนเองด้วยความซื่อสัตย์ ไม่ลอกผู้อื่นจะทาให้ นักเรียนได้รับ
ประโยชน์สูงสุด
4. นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในคาชี้แจง และ ลงมือ
ปฏิบัติกิจกรรม ตามขั้นตอนดังนี้
4.1 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
4.2 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นสารวจและค้นหา (Exploration)
4.3 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
4.4 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
4.5 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นประเมินผล (Evaluation)
5. หลังจากทากิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ประกอบ ชุด
กิจกรรมให้เรียบร้อย
6. ในการทากิจกรรมตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกชุด ขอให้นักเรียนทาด้วย ความ
ตั้งใจ ให้ความร่วมมือ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด
7. ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อประเมินผลการเรียนและ
เปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียนของตนเองด้วยความซื่อสัตย์
8. หากมีข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจบทเรียน สามารถสอบถามหรือขอคาปรึกษา และ
คาแนะนาจากครูผู้สอนได้

38
มาตรฐานว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงานการ
เปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและ
พลังงานพลังงานในชีวิตประจาวันธรรมชาติของคลื่นปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวข้องกับเสียงแสงและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเพื่อให้บรรลุตามตัวชี้วัด)
ด้านพุทธิพิสัย
1. อธิบายการเกิดคลื่นกล และบรรยายส่วนประกอบของคลื่นกล
ด้านทักษะพิสัย
2. สามารถสร้างแบบจาลองโดยการวาดแสดงลักษณะของคลื่นกล
ด้านจิตพิสัย
3. นักเรียนสามารถนาความรู้เรื่องคลื่นกลไปใช้ในชีวิตประจาวันได้

39

1. เมื่อคลื่นเดินทางจากน้าตื้นสู่น้าลึก ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก) ความถี่คลื่นในน้าลึกมากกว่าความถี่คลื่นในน้าตื้น
ข) ความถี่คลื่นในน้าลึกน้อยกว่าความถี่คลื่นในน้าตื้น
ค) ความยาวคลื่นในน้าลึกมากกว่าความยาวคลื่นในน้าตื้น
ง) อัตราเร็วของคลื่นในน้าลึกน้อยกว่าอัตราเร็วคลื่นในน้าตื้น
2. คลื่นในข้อใดเป็นคลื่นที่ไม่จาเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ก) คลื่นเสียง
ข) คลื่นแสง
ค) คลื่นผิวน้า
ง) คลื่นในเส้นเชือก
3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นตามยาว
ก) เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ข) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง
ค) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นได้หลายแนว
ง) เป็นคลื่นที่ของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
4. คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งปริมาณใดต่อไปนี้ไม่
เปลี่ยนแปลงเสมอ
ก) ความถี่
ข) อัตราเร็ว
ค) ความยาวคลื่น
ง) ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น

40
5. ถ้ากระทุ่มน้าเป็นจังหวะสม่าเสมอ ลูกปิงปองที่ลอยอยู่ห่างออกไปจะเคลื่อนที่
อย่างไร
ก) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ไปด้านข้าง
ข) ลูกปิงปองเคลื่อนที่เข้ามาหา
ค) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ออกห่างไปมากขึ้น
ง) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ขึ้น-ลงอยู่ที่ตาแหน่งเดิม
6. คลื่นขบวนหนึ่งมีอัตราเร็ว 15 เมตรต่อวินาที และมีความถี่
ของคลื่น 3 เฮิรตซ์ ความยาวของคลื่นจะมีค่าเท่าใด
ก) 3 เมตร ข) 4 เมตร
ค) 5 เมตร ง) 6 เมตร
7. คลื่นน้ามีความถี่ 20 รอบต่อวินาที ภายใน 4 วินาที จะมีจานวนหน้าคลื่นเคลื่อนที่
ผ่านจุดที่สังเกตจานวนเท่าใด
ก) 5 ข) 20
ค) 80 ง) 120
8. นักเรียนสามารถวัดความยาวของคลื่นได้อย่างไร
ก) วัดจากจุดเริ่มต้นไปจุดสุดท้ายของคลื่น
ข) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปถึงท้องคลื่นหนึ่ง
ค) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปยังสันคลื่นที่อยู่ติดกัน
ง) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปยังสันคลื่นสุดท้าย
9. คลื่นผิวน้ามีความถี่ 30 รอบต่อวินาที ถ้าระยะห่างจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นติดกัน
เท่ากับ 5 เมตร อัตราเร็วของคลื่นจะเท่ากับข้อใด
ก) 6 cm/s ข) 6 m/s
ค) 150 cm/s ง) 150 m/s
10. ระยะการกระจัดสูงสุดจากแนวสมดุล หมายถึงข้อใด
ก) สันคลื่น ข) ท้องคลื่น
ค) ความถี่ ง) แอมพลิจูด

41
คะแนนที่ได้ ....................คะแนน

42

??
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
qr cord วีดีโอคลื่นน้า
ที่มา: https://pixabay.com/th/videos/
11
43

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 เรื่อง คลื่นในลวดสปริง
คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ (เป็นกลุ่มตามการจัดในห้องเรียน)
จุดประสงค์ อธิบายการเคลื่อนที่และทิศทางของอนุภาคของตัวกลางของคลื่นในลวดสปริง
วัสดุ-อุปกรณ์
1. สปริงสาธิตคลื่น
2. ริบบิ้น หรือไหมพรมสีสด
วิธีการทากิจกรรม
1. วางสปริงสาธิตคลื่นราบกับพื้น แล้วนาไปด้านหนึ่งตรึงไว้กับขาโต๊ะ
2. คลี่สปริงออกแล้วนาริบบิ้นผูกที่สปริง
3. อัดสปริงตามแนวยาวของสปริงอย่างช้าๆเป็นจังหวะ สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของ
ริบบิ้นและสปริง ดังภาพ (ก)
4. สะบัดสปริงไปมาบนพื้นราบอย่างช้าๆและเป็นจังหวะ สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของ
ริบบิ้นและสปริงและบันทึกผล ดังภาพ (ข)
ทิศทางการอัดของสปริง
ทิศทางการสะบัดของสปริง
(ก)การอัดสปริงตามแนวยาวของสปริง
(ข)การอัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ
qr cord การทดลองการ
เกิดคลื่นในลวดสปริง
ที่มา: https://www.youtube.com/
watch?v=-UekIWvwDIY
12
44

บันทึกผลการทากิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
คาชี้แจง ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันกับครู พร้อมกับตอบคาถามต่อไปนี้
1. เมื่ออัดสปริงตามแนวยาวและสะบัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ สปริงมีการเปลี่ยนแปลง
ต่างกันอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เมื่ออัดสปริงตามแนวยาวและสะบัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ ทิศทางของริบบิ้นที่ผูกมีการ
เคลื่อนที่อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
3. เมื่อสั่นสปริง 1 ครั้ง และสั่นต่อเนื่อง สปริงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
คาถามท้ายกิจกรรม
13
45

คาชี้แจง ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันกับครู พร้อมกับตอบคาถามต่อไปนี้
การเกิดคลื่นในเส้นเชือกและลวดสปริง จนได้ข้อสรุปว่า การ
สะบัดสปริง และการอัดลวดสปริง เป็นการให้พลังงานกลกับเส้น
เชือกและปลาย ลวดสปริง พลังงานกลนี้จะถ่ายโอนผ่านอนุภาคเส้น
เชือก และลวดสปริงไปยังปลายอีก ข้างหนึ่ง แต่ไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับ
คลื่น เรียกคลื่นที่มีการถ่ายโอนพลังงานผ่านตัวกลางว่า “คลื่นกล”
เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นในเส้นลวดสปริง คลื่นผิวน้า แบ่งคลื่นโดย
พิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นกับทิศทางการสั่นของอนุภาค
ตัวกลาง ได้ 2 ชนิด คือ คลื่นตามยาว และคลื่นตามขวาง
14
46

คลื่นกลเป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ สิ่งที่คลื่นนาไปด้วย
พร้อมกับการเคลื่อนที่คือพลังงาน พลังงานเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างๆ จะมีปริมาณ
ต่างๆกันไปในแต่ละกรณี เช่น พลังงานของคลื่นในทะเลขณะที่พายุจะมีค่ามากกว่า
พลังงานที่เกิดจากคลื่นเสียงที่เราตะโกนออกไป
ชนิดของคลื่น
เราสามารถแบ่งคลื่นออกเป็น 2 ชนิดเมื่อพิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนที่
ของอนุภาคตัวกลางขณะคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน คือ คลื่นตามยาว และคลื่นตามขวาง
คลื่นตามยาว เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
ตัวอย่างคลื่นตามยาว เช่น คลื่นในสปริง คลื่นเสียง เป็นต้น
คลื่นตามขวาง เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
ตัวอย่างคลื่นตามยาว เช่น คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น
เมื่อพิจารณาลักษณะของการทาให้เกิดคลื่น เราอาจแบ่งคลื่นออกเป็น คลื่น
ดล และคลื่นต่อเนื่อง โดยคลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่งกาเนิดในช่วงเวลาสั้นๆ หรือการไป
รบกวนแหล่งกาเนิดคลื่นเพียงครั้งเดียว เรียกคลื่นนี้ว่า คลื่นดล และถ้าแหล่งกาเนิดคลื่นสั่น
ต่อเนื่องหรือการรบกวนแหล่งกาเนิดคลื่นอย่างต่อเนื่องเรียก คลื่นต่อเนื่อง
15
47

ส่วนประกอบของคลื่น
เมื่อพิจารณาส่วนประกอบของคลื่น จะเห็นลักษณะทางกายภาพที่สาคัญของคลื่น 3 ประการ
คือ ความยาวคลื่น ความถี่และอัตราเร็วของคลื่น นอกจากนี้คลื่นยังมีองค์ประกอบอื่น ๆ อีก
ดังต่อไปนี้
ความยาวคลื่น หมายถึงระยะที่น้อยที่สุดระหว่างจุด 2 จุดบนคลื่นที่มีลักษณะการเคลื่อนที่
เหมือนกันทุกประการ เราใช้สัญลักษณ์ λ แทนความยาวคลื่น มีหน่วยเป็น เมตร
ความถี่ของคลื่น หมายถึงจานวนคลื่นที่ผ่านจุด ๆ หนึ่ง ในหนึ่งหน่วยเวลาหรือจานวนรอบที่
แหล่งกาเนิดคลื่นหรือตัวกลางสั่นได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ใช้สัญลักษณ์ f มีหน่วยเป็นรอบต่อ
วินาที หรือเฮิรตซ์ (Hz)
คาบของคลื่น หมายถึงช่วงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ 1 ความยาวคลื่น หรือเวลาที่แหล่งกาเนิด
คลื่น หรือตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านครบ 1 รอบ ใช้สัญลักษณ์ T มีหน่วยเป็นวินาที
แอมพลิจูด หมายถึงขนาดของการกระจัดสูงสุดของอนุภาคของตัวกลางที่คลื่นผ่านจาก
ตาแหน่ง สมดุลเดิม ใช้สัญลักษณ์ A มีหน่วยเป็น เมตร
อัตราเร็วคลื่น หมายถึงระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา ใช้สัญลักษณ์ v มีหน่วย
เป็น เมตร/วินาที
qr cord ส่วนประกอบของคลื่น
ที่มา: https://www.youtube.com/
watch?v=oqWKG-kALgc
16
48

ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และคาบของคลื่น
เมื่อพิจารณาจากความหมายของคาบและความถี่ของคลื่น จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้
ในเวลา T วินาที คลื่นเคลื่อนที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งได้ 1 ลูกคลื่น
ในเวลา 1 วินาที คลื่นเคลื่อนที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งได้
1
𝑇
ลูกคลื่น
1
𝑇
จะได้ว่า 𝑓 = หรือ T =
1
𝑓
อัตราเร็ว = ระยะทาง
เวลา
V = S
t
เมื่อ s = 
t = T
m/s
จะได้ V = 
T
V = f m/s
qr cord อัตราเร็วของคลื่น
ที่มา: https://www.youtube.com/
watch?v=dtF5hP3bj9Yom/
watch?v=oqWKG-kALgc
17
49

ตัวอย่าง
คลื่นต่อเนื่องขบวนหนึ่งมีความถี่ 90 เฮิรตซ์ ขณะเวลาหนึ่งมีลักษณะ
ดังรูป ถ้าแกน x และแกน y แทนระยะทางในหน่วยเซนติเมตร
จงหาแอมพลิจูด ความยาวคลื่น คาบ อัตราเร็วของคลื่น ตามลาดับ
จากรูปวัดค่าแอมพลิจูดของคลื่นได้เท่ากับ 1 เซนติเมตร ค่าความ
ยาวคลื่นได้ 2 เซนติเมตร
อัตราเร็วของคลื่นมีค่าเท่ากับ 1.8 เมตรต่อวินาที
18
50

ตัวอย่าง
19
51

แบบฝึกหัดที่ 1
เรื่อง คลื่นกล
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1.คลื่น (wave) คือ
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
2. คลื่นตามขวางและคลื่นตามยาวแตกต่างกันอย่างไร
.............................................................................................................................
.................................... ........................................................................
3. ถ้าส่งคลื่นดลไปตามลวดสปริง หลังจากคลื่นได้ผ่านตาแหน่งหนึ่งบนลวด
สปริงไปแล้วตาแหน่งนั้นจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
20
52

แบบฝึกหัดที่ 1
เรื่อง คลื่นกล
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
5. เรือลาหนึ่งทอดสมออยู่ ถูกกระทบด้วยคลื่นซึ่งมีความเร็ว 30 เมตรต่อวินาที
และมีระยะระหว่างสันคลื่นถัดกันห่างกัน 150 เมตร จงหาเวลาที่คลื่นแต่ละลูก
วิ่งมากระทบเรือ
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
6.
ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 12 ลูกคลื่น ใน 30 วินาที คลื่นผิวน้านี้มีความเร็วเท่าใด
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
21
53

แบบฝึกหัดที่ 1
เรื่อง คลื่นกล
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
7. คลื่นในเส้นเชือกมีอัตราเร็ว 8m/s ถ้าวัดระยะห่างจากสันคลื่นถึงท้องคลื่นที่
อยู่ติดกันได้ 0.5 m ความถี่ของคลื่นจะมีค่าเท่าใด
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
8.แหล่งกาเนิดคลื่นปล่อยคลื่นที่มีความยาวคลื่น 0.05 m วัดอัตราเร็วได้ 40
m/s เป็นเวลา 0.08 s ได้คลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
............................................................................................................................
22
54

1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นตามยาว
ก) เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ข) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง
ค) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นได้หลายแนว
ง) เป็นคลื่นที่ของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
2. คลื่นในข้อใดเป็นคลื่นที่ไม่จาเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ก) คลื่นเสียง
ข) คลื่นแสง
ค) คลื่นผิวน้า
ง) คลื่นในเส้นเชือก
3. เมื่อคลื่นเดินทางจากน้าตื้นสู่น้าลึก ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก) ความถี่คลื่นในน้าลึกมากกว่าความถี่คลื่นในน้าตื้น
ข) ความถี่คลื่นในน้าลึกน้อยกว่าความถี่คลื่นในน้าตื้น
ค) ความยาวคลื่นในน้าลึกมากกว่าความยาวคลื่นในน้าตื้น
ง) อัตราเร็วของคลื่นในน้าลึกน้อยกว่าอัตราเร็วคลื่นในน้าตื้น
4. คลื่นขบวนหนึ่งมีอัตราเร็ว 15 เมตรต่อวินาที และมีความถี่
ของคลื่น 3 เฮิรตซ์ ความยาวของคลื่นจะมีค่าเท่าใด
ก) 3 เมตร ข) 4 เมตร
ค) 5 เมตร ง) 6 เมตร

23
55
5. ถ้ากระทุ่มน้าเป็นจังหวะสม่าเสมอ ลูกปิงปองที่ลอยอยู่ห่างออกไปจะเคลื่อนที่
อย่างไร
ก) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ไปด้านข้าง
ข) ลูกปิงปองเคลื่อนที่เข้ามาหา
ค) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ออกห่างไปมากขึ้น
ง) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ขึ้น-ลงอยู่ที่ตาแหน่งเดิม
6. คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งปริมาณใดต่อไปนี้ไม่
เปลี่ยนแปลงเสมอ
ก) ความถี่ ข) อัตราเร็ว
ค) ความยาวคลื่น ง) ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
7. คลื่นน้ามีความถี่ 20 รอบต่อวินาที ภายใน 4 วินาที จะมีจานวนหน้าคลื่นเคลื่อนที่
ผ่านจุดที่สังเกตจานวนเท่าใด
ก) 5 ข) 20
ค) 80 ง) 120
8. ระยะการกระจัดสูงสุดจากแนวสมดุล หมายถึงข้อใด
ก) สันคลื่น ข) ท้องคลื่น
ค) ความถี่ ง) แอมพลิจูด
9. คลื่นผิวน้ามีความถี่ 30 รอบต่อวินาที ถ้าระยะห่างจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นติดกัน
เท่ากับ 5 เมตร อัตราเร็วของคลื่นจะเท่ากับข้อใด
ก) 6 cm/s ข) 6 m/s
ค) 150 cm/s ง) 150 m/s
10. นักเรียนสามารถวัดความยาวของคลื่นได้อย่างไร
ก) วัดจากจุดเริ่มต้นไปจุดสุดท้ายของคลื่น
ข) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปถึงท้องคลื่นหนึ่ง
ค) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปยังสันคลื่นที่อยู่ติดกัน
ง) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปยังสันคลื่นสุดท้าย

24
56
คะแนนที่ได้ ....................คะแนน

25
57

26
58

คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ (เป็นกลุ่มตามการจัดในห้องเรียน)
จุดประสงค์ อธิบายการเคลื่อนที่และทิศทางของอนุภาคของตัวกลางของคลื่นในลวดสปริง
วัสดุ-อุปกรณ์
1. สปริงสาธิตคลื่น
2. ริบบิ้น หรือไหมพรมสีสด
วิธีการทากิจกรรม
1. วางสปริงสาธิตคลื่นราบกับพื้น แล้วนาไปด้านหนึ่งตรึงไว้กับขาโต๊ะ
2. คลี่สปริงออกแล้วนาริบบิ้นผูกที่สปริง
3. อัดสปริงตามแนวยาวของสปริงอย่างช้าๆเป็นจังหวะ สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของ
ริบบิ้นและสปริง ดังภาพ (ก)
4. สะบัดสปริงไปมาบนพื้นราบอย่างช้าๆและเป็นจังหวะ สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของ
ริบบิ้นและสปริงและบันทึกผล ดังภาพ (ข)
บันทึกผลการทากิจกรรม
จากกิจกรรมเมื่อสะบัดสปริงไปมาบนพื้นราบพบว่าริบบิ้นที่ผูกไว้กับสปริงจะมีทิศ
ทางการเคลื่อนที่ตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของลวดสปริงซึ่งการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้
เรียกว่าคลื่นตามขวางแต่เมื่อตัดสปริงในแนวของสปริงพบว่าการเคลื่อนที่ของ
ริบบิ้นที่ผูกไว้จะมีทิศทางการเคลื่อนที่ขนานกับการเคลื่อนที่ของคลื่นในลวดสปริง
ซึ่งการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้เรียกว่าคลื่นตามยาว
27

59
คาชี้แจง ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันกับครู พร้อมกับตอบคาถามต่อไปนี้
1. เมื่ออัดสปริงตามแนวยาวและสะบัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ สปริงมีการเปลี่ยนแปลง
ต่างกันอย่างไร
แนวคำตอบ ทิศทางการสั่นของสปริงแตกต่างกัน
2. เมื่ออัดสปริงตามแนวยาวและสะบัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ ทิศทางของริบบิ้นที่ผูกมีการ
เคลื่อนที่อย่างไร
แนวคำตอบ เมื่อตัดสปริงตามแนวยาวทิศทางการเคลื่อนที่ของริบบิ้น ขนานกับการ
เคลื่อนที่ของคลื่นและเมื่อสารสปริงไปมาบนพื้นราบ ทิศทางการเคลื่อนที่ของ ริบบิ้น ตั้ง
ฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
3. เมื่อสั่นสปริง 1 ครั้ง และสั่นต่อเนื่อง สปริงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
แนวคำตอบ เมื่อสารสปริง 1 ครั้ง จะเกิดกลุ่มเกลียวสปริงที่ถูกอัดและเมื่อศาล
สตริงต่อเนื่องจากเกิดกลุ่มเกลียวสปริงอยู่ติดกันและห่างกันสลับสายส่วน
คาถามท้ายกิจกรรม
28
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf

More Related Content

Similar to แผนออนไลน์ ม1-3.pdf

นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์Aomiko Wipaporn
 
Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Joie Petit
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 

Similar to แผนออนไลน์ ม1-3.pdf (20)

นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Lab1
Lab1Lab1
Lab1
 
Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
Onet sc-m3
Onet sc-m3Onet sc-m3
Onet sc-m3
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
2
22
2
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Astroplan17
Astroplan17Astroplan17
Astroplan17
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 

แผนออนไลน์ ม1-3.pdf

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รูปแบบ On hand และ On Demand ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 3 ชั่วโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ K P A กระบวนการจัดการเรียนรู้ สาระสาคัญ สื่อการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล ขั้นนา ขั้นสอน ขั้นสรุป ใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ตามขั้นตอนที่ถูกต้องได้ ปฏิบัติตามขั้นตอนการใช้งานกล้องจุลทรรศน์ แบบใช้แสงได้ เซลล์ (cell) เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทั้งสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ซึ่งเซลล์แต่ละชนิดจะมีรูปร่าง และลักษณะที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีขนาด เล็ก ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ ในการศึกษารูปร่างและลักษณะของเซลล์ เนื่องจากสถานณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้โรงเรียนเปลี่ยนรูปแบบการสอนแบบ On site เป็น On hand และ On demand ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์จึงจัดรูปแบบการสอนดังนี้ 1. คุณครูจัดทาชุดกิจกรรม เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต เพื่อแจกให้นักเรียนในวันจันทร์ของทุกสัปดาห์ตลอดการจัดการเรียนการ สอน แบบ On hand 2. นักเรียนที่ไม่สะดวกมารับใบงาน คุณครูดาเนินการจัดทาใบงาน แบบทดสอบ ผ่าน Google Form และจัดส่ง Link ผ่านกลุ่ม Line กลุ่ม Facebook ที่จัดตั้งไว้ 3. นักเรียนทาใบงาน แบบทดสอบ ได้ทุกช่องทาง และนาส่งครูทุกวันจันทร์ของทุกสัปดาห์และ รับใบงานชุดใหม่กลับไป 4. ในระหว่างการเรียนการสอน หากนักเรียนมีข้อสงสัย สามารถติดต่อคุณครูได้ทาง Line และ Facebook หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ครูผู้สอน นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 1.2 ม.1/2 ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ ม.1/3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับการทาหน้าที่ของเซลล์ ม.1/4 อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเริ่มจากเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็นสิ่งมีชีวิต นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรม เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งในชุดกิจกรรมประกอบด้วย ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบ qr code คลิปวีดีโอ การสอนใน เรื่อง เซลล์ให้นักเรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม คลิปวีดีโอ - การส่งชิ้นงาน 5 คะแนน อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์ ต่อการทาหน้าที่ของเซลล์ได้ ครูดาเนินการเก็บคะแนนตามงานที่มอบหมายโดยใช้วิธียืดหยุ่น ให้เหมาะกับสถานการณ์ เช่น การส่งงานตรงเวลา ความรับผิดชอบในงาน ที่ได้รับมอบหมาย แบบทดสอบ ความเรียบร้อยของงาน เป็นต้น - คุณภาพชิ้นงาน ชุดกิจกรรมสาเร็จรูป - ความรับผิดชอบ
  • 2. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ลงชื่อ……………………………………………………………… (นายกฤษฎา ประเสริฐศรี) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร) บันทึกผลหลังสอน ผลการจัดกิจกรรม ปัญหาที่เกิดขึ้น แนวทางการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ (นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี) ครูผู้ช่วยโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
  • 3. วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ON HAND ชื่อ – สกุล........................................................ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เลขที่.......... ผู้สอน คุณครูคนางค์ เสียงเพราะดี โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
  • 4. มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของ โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ว 1.1 ม.1/1 สังเกต และอธิบายรูปร่างลักษณะของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ว 1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ 1.นักเรียนสามารถอธิบายส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์ได้ (K) 2.นักเรียนสามารถใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ได้ (P)
  • 5. ใบความรู้ ที่ 1 เรื่อง การศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 16. เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล คลอโรพลาสต์ ผนังเซลล์ นิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย ออร์แกเนลล์อื่นๆ คำชี้แจง ให้นักเรียนนำชื่อส่วนประกอบสำคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ไปเติมลงในช่องว่ำง ให้ถูกต้อง
  • 17. ใบงาน เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (8 คะแนน) 1.โครงสร้างพื้นฐานที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้แก่อะไรบ้าง (1 คะแนน) ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 2.ผนังเซลล์ (Cell Wall) ทาหน้าที่อะไร (1 คะแนน) ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 3.เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) ทาหน้าที่อะไร (1 คะแนน) ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 4.นิวเคลียส (Nucleus) ทาหน้าที่อะไร (1 คะแนน) ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 5.ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) มีลักษณะเป็นอย่างไรและพบได้ที่บริเวณใดของเซลล์ (1 คะแนน) ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 6.แวคิวโอล (Vacuole) ทาหน้าที่อะไร (1 คะแนน) ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รูปแบบ On hand และ On Demand ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 3 ชั่วโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ K P A กระบวนการจัดการเรียนรู้ สาระสาคัญ สื่อการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล ขั้นนา ขั้นสอน ขั้นสรุป คานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน และกาลังได้ มีความใฝ่เรียนรู้และมีความมุ่งมั่นในการทางาน งานเป็นการออกแรงกระทากระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วัตถุเกิดการ เคลื่อนที่ไปในแนวเดียวกับทิศทาง หรือมีการกระจัดตามแนวแรง นั้น งานจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของแรง และขนาด ของการกระจัดในแนวเดียวกับแรง และกาลัง เป็นปริมาณที่ใช้บอก ความสามารถในการทางานได้ต่อหนึ่งหน่วยเวลา เนื่องจากสถานณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้โรงเรียนเปลี่ยนรูปแบบการสอนแบบ On site เป็น On hand และ On demand ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์จึงจัดรูปแบบการสอนดังนี้ 1. คุณครูจัดทาใบงาน เรื่อง งานและกาลัง เพื่อแจกให้นักเรียนในวันจันทร์ของทุกสัปดาห์ตลอดการจัดการเรียนการสอน แบบ On hand และ ในการเรียนสอน เรื่อง งานและกาลัง เป็นการคานวณ มีสูตร ครูจึงแนะนาให้นักเรียนมารับเป็นใบงาน On hand จึงจะ สะดวกต่อการเรียนมากกว่า การทาใน Link 2. นักเรียนที่ไม่สะดวกมารับใบงาน คุณครูดาเนินการจัดทาใบงาน แบบทดสอบ ผ่าน Google Form และจัดส่ง Link ผ่านกลุ่ม Line กลุ่ม Facebook ที่จัดตั้งไว้ 3. นักเรียนทาใบงาน แบบทดสอบ ได้ทุกช่องทาง และนาส่งครูทุกวันจันทร์ของทุกสัปดาห์และ รับใบงานชุดใหม่กลับไป 4. ในระหว่างการเรียนการสอน หากนักเรียนมีข้อสงสัย สามารถติดต่อคุณครูได้ทาง Line และ Facebook หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 เรื่อง งานและกาลัง นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง งานและกาลัง ซึ่งในเล่มประกอบด้วย ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด qr code คลิปวีดีโอการสอนใน เรื่อง งานและกาลัง ให้นักเรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม คลิปวีดีโอ - การส่งชิ้นงาน 5 คะแนน อธิบายความหมายของงานและกาลังในทาง วิทยาศาสตร์ได้ ครูดาเนินการเก็บคะแนนตามงานที่มอบหมายโดยใช้วิธียืดหยุ่น ให้เหมาะกับสถานการณ์ เช่น การส่งงานตรงเวลา ความรับผิดชอบในงาน ที่ได้รับมอบหมาย แบบทดสอบ ความเรียบร้อยของงาน เป็นต้น - คุณภาพชิ้นงาน ชุดกิจกรรมสาเร็จรูป - ความรับผิดชอบ Fs W = t W P = ว 2.3 ม.2/1 วิเคราะห์สถานการณ์และคานวณเกี่ยวกับงานและกาลังที่เกิดจากแรงที่กระทาต่อวัตถุ โดยใช้สมการ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ และ
  • 20. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ลงชื่อ……………………………………………………………… (นายกฤษฎา ประเสริฐศรี) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร) บันทึกผลหลังสอน ผลการจัดกิจกรรม ปัญหาที่เกิดขึ้น แนวทางการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ (นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี) ครูผู้ช่วยโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
  • 21. ผู้สอน นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร) ชื่อ………………….เลขที่ ……………….
  • 22. 22 มาตรฐานว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงานการเปลี่ยนแปลงและการ ถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงานพลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่นปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียงแสงและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ม.2/1 วิเคราะห์สถานการณ์และคานวณเกี่ยวกับงานและกาลังที่เกิดจากแรงที่ กระทาต่อวัตถุ โดยใช้สมการ W = Fs และ P = W t จากข้อมูลที่ รวบรวมได้ ด้านพุทธิพิสัย 1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของงานและกาลังได้ 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับงานและกาลังได้ ด้านทักษะพิสัย 1. นักเรียนสามารถคานวณงานและกาลังได้ ด้านจิตพิสัย 1. นักเรียนสามารถอภิปรายงานและกาลังได้
  • 23. ใบความรู้ ที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน งาน (Work ) งาน ความหมายโดยทั่วไป เป็นการกระทากิจกรรมหรือสิ่งใด ๆ เพื่อที่จะ ได้รับซึ่งผลตอบแทน เช่น การรดน้าต้นไม้ การเล่นฟุตบอล การวาดภาพ การ ล้างรถ การล้างจาน ความหมายของงานทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ผลจากการกระทาของแรงต่อ วัตถุอย่างต่อเนื่อง และทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงกระทา แรงที่กระทาต่อ วัตถุแล้วทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวราบแสดงว่าเกิดงาน ถ้าเราออกแรง กระทาต่อวัตถุแล้ววัตถุไม่เคลื่อนที่ แสดงว่าไม่เกิดงาน ดังนั้น การเกิดงานจะต้องมีแรงกระทาและระยะทางการเคลื่อนที่ เกี่ยวข้องเสมอ เช่น การออกแรงดันตู้เสื้อผ้าจากกลางห้องเลื่อนไปติดผนัง แต่ ถ้าออกแรงดันแล้วตู้ไม่ขยับหรือเคลื่อนที่จากเดิมถือว่าไม่เกิดงาน ปริมาณของงานขึ้นอยู่กับ 1. ขนาดของแรงที่ใช้ 2. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแนวแรง 3. ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวแรง การหาค่าปริมาณงาน สามารถคานวณได้จาก สูตร งาน = แรง  ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ตามทิศทางของแนวแรง เขียนเป็นสมการจะได้ W = F  S เมื่อ W คือ งาน มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร หรือ จูล (J) F คือ แรง มีหน่วยเป็น นิวตัน (N) S คือ ระยะทาง มีหน่วยเป็น เมตร (m)
  • 24. ตัวอย่าง การคานวณหาค่างาน 1. เด็กชาย มิค ผลักก้อนหินให้เคลื่อนที่ไปตามพื้นด้วยแรง 20 นิวตัน ก้อน หินเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงเป็นระยะทาง 3 เมตร จะมีงานเกิดขึ้นเท่าไหร่ วิธีทา โจทย์ถาม งานที่เกิดจากการผลักก้อนหินของเด็กชายมิค โจทย์บอก เด็กชายมิค ผลักก้อนหินให้เคลื่อนที่ไปตามพื้นด้วยแรง 20 นิวตัน ก้อนหินเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงเป็นระยะทาง 3 เมตร จากสูตร งาน = แรง  ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ตามทิศทางของแนวแรง แทนค่าด้วยตัวเลขตามสูตร งาน = 20N 3m งาน = 60 N.m ตอบ งานที่เกิดจากการผลักก้อนหินของเด็กชายมิค มีค่าเท่ากับ 60 นิวตัน เมตร
  • 25. กาลัง (Power) โดยทั่วไปการเปรียบเทียบสมรรถภาพของเครื่องยนต์ หรือ ความสามารถในการทางานของคนเรา หรือเครื่องจักรจะไม่ สามารถพิจารณาได้โดยตรงจากงานที่ทาได้ แต่พิจารณาได้จาก งานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วย เวลา ซึ่งเรียกทั่วๆไปว่า “กาลัง (Power)” ถ้ามีแรงภายนอกกระทากับวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง และทาให้เกิด งาน เรา สามารถหากาลังในช่วงเวลาดังกล่าวได้ จากสูตร เขียนเป็นสมการจะได้ P= 𝐖𝐭 เมื่อ W คือ งาน มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร หรือ จูล (J) t คือ เวลาที่ใช้ในการทางาน มีหน่วยเป็นวินาที (s) P คือ กาลัง ระยะทาง มีหน่วยเป็น จูลต่อวินาที (J/s) หรือ วัตต์ (W) ***นอกจากนี้ หน่วยของกาลัง ที่นิยมใช้ในเครื่องจักรกล เครื่องยนต์ ได้แก่ กาลังม้า (horsepower, hp) โดยการเทียบคือ 1 แรงม้า = 745.7 watt (หรือประมาณ 746 วัตต์) qr cord การสอนเรื่องงานและกาลัง ที่มา: hthttps://www.youtube.com/ watch?v=qK366Gxz8dc
  • 26. ตัวอย่าง การคานวณหาค่ากาลัง ตัวอย่างที่ 1 เครื่องจักรเครื่องหนึ่งทางานได้ 2,000 จูล ในเวลา 10 วินาที กาลังของเครื่องจักรเครื่องนี้มีค่าเท่าใด วิธีทา โจทย์ถาม กาลังของเครื่องจักรเครื่องนี้ โจทย์บอก เครื่องจักรเครื่องหนึ่งทางานได้ 2,000 จูล ในเวลา 10 วินาที จากสูตร แทนค่าด้วยตัวเลขตามสูตร กาลัง = 2,000𝐽 10𝑠 กาลัง = 200 J/s ตอบ กาลังของเครื่องจักรเครื่องนี้ มีค่าเท่ากับ 200 จูลต่อวินาที หรือเท่ากับ 200 วัตต์ ตัวอย่างที่ 2 เด็กชายไมค์ยกของมวล 20 กิโลกรัม จากพื้นราบขึ้นวางบนโต๊ะ สูง 2 เมตร ถ้าในการยกมวลครั้งนี้ใช้เวลาทั้งสิ้น 5 วินาที จงหากาลังที่เด็กชาย ไมค์ใช้ในครั้งนี้ วิธีทา โจทย์ถาม กาลังที่เด็กชายไมค์ ใช้ยกของ โจทย์บอก เด็กชายไมค์ ยกของมวล 20 กิโลกรัม(คิดเป็นน้าหนัก 200 นิวตัน) จากพื้นราบขึ้นวางบนโต๊ะสูง 2 เมตรเวลาทั้งสิ้น 5 วินาที จากสูตร แทนค่าด้วยตัวเลขตามสูตร กาลัง = 200N×2m 5s กาลัง = 80 J/s ตอบ กาลังที่เด็กชายไมค์ใช้ยกของ มีค่าเท่ากับ 80 จูลต่อวินาที หรือเท่ากับ 80 วัตต์
  • 27. แบบฝึกหัด เรื่อง งานและกาลัง 1. งานเกิดขึ้นได้อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………….… 2. งานจะมีค่ามากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… 3. คนดันลังไม้ให้เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยแรง 50 นิวตัน ได้ ขนาดของการกระจัด 2 เมตร งานเนื่องจากแรงที่คนดันลังไม้ เป็นเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… 4. คนดันกล่องให้เคลื่อนที่ไปทางขวาบนพื้นฝืดด้วยแรง 50 นิวตัน ได้ขนาดของการกระจัด 2 เมตร พื้นมีแรงเสียดทาน 10 นิวตัน งานเนื่องจากแรงลัพธ์ที่กระทาต่อกล่องเป็นเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….…
  • 28. 5. คนหิ้วถุงขนมหนัก 5 นิวตัน เดินขึ้นบันไดไปชั้น 2 ซึ่งอยู่สูงจาก ชั้น 1 ประมาณ 3 เมตร งานเนื่องจากแรงที่คนหิ้วถุงขนมเป็น เท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… 6. คนหิ้วถุงแกงหนัก 3 นิวตัน และเดินไปข้างหน้าได้ขนาดของ การกระจัด 4 เมตร งานเนื่องจากแรงที่คนหิ้วถุงแกงเป็นเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… 7. คนลากกล่องด้วยแรง 20 นิวตัน ไปข้างหน้า 10 เมตร งานที่ ลากกล่องเป็นเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… 8.นักเรียนจัดห้องโดยเข็นตู้เก็บของด้วยแรง 50 นิวตัน จากมุม ห้องด้านหนึ่งไปยังมุมห้องด้านตรงข้ามได้ ระยะทาง 6 เมตร จากนั้นนักเรียนเปลี่ยนใจเข็นตู้เก็บของกลับมาไว้ที่มุมเดิมด้วยแรง เท่าเดิม งานเนื่องจากแรงที่กระทาต่อตู้เก็บของเป็นเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………
  • 29. 9. กาลังเกิดขึ้นได้อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………….… 10.นักเรียนออกแรงลากกล่องในแนวระดับด้วยแรง 40 นิวตัน ทาให้ กล่องเคลื่อนที่ไปได้ขนาดของการกระจัด 6 เมตร ถ้านักเรียนใช้เวลา ลากกล่อง 5 วินาที นักเรียนมีกาลังเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………..…………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………...… ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………..…… 11. เครื่องยนต์เครื่องหนึ่งทาให้เครื่องจักรทางานได้ 360 กิโลจูล ใน เวลา 1 นาที เครื่องยนต์เครื่องนี้ มีกาลังเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………..…………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………...… ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………..…… 12. ชายคนหนึ่งดันรถที่จอดขวางให้เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 3 เมตร ใช้เวลา 10 วินาที ถ้าออกแรงดัน 100 นิวตัน ชายคนนั้นมีกาลังเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………..…………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………...… ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………..…… 13. รถทดลองคันหนึ่งมีกาลัง 60 วัตต์ ถ้ารถทดลองคันนี้เคลื่อนที่ได้ ระยะทาง 3 เมตร ใช้เวลา 2 วินาที แรงขับเนื่องจากเครื่องยนต์ที่ทาให้ รถทดลองเคลื่อนที่เป็นเท่าใด วิธีทา…………………………………………………………………………………………………………..…………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………...… ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………..……
  • 30. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รูปแบบ On hand และ On Demand ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 3 ชั่วโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ K P A กระบวนการจัดการเรียนรู้ สาระสาคัญ สื่อการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล ขั้นนา ขั้นสอน ขั้นสรุป คานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องกับอัตราเร็ว ความยาวคลื่น ความถี่ และแอมพลิจูดได้ เป็นคนช่างสังเกต ช่างคิด ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการเสาะแสวงหาความรู้ คลื่น (wave) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรบกวนแหล่งกาเนิด หรือตัวกลางเกิดการสั่นสะเทือนทาให้มีการแผ่หรือถ่ายโอน พลังงานจากการสั่นสะเทือนไปยังจุดอื่น ๆ โดยที่ตัวกลางนั้นไม่มี การเคลื่อนที่ไปกับคลื่น การเกิดคลื่นน้าเป็นการถ่ายโอนพลังงาน โดยผ่านโมเลกุลของน้า ซึ่งโมเลกุลของน้าจะไม่เคลื่อนที่ไปกับคลื่น เนื่องจากสถานณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้โรงเรียนเปลี่ยนรูปแบบการสอนแบบ On site เป็น On hand และ On demand ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์จึงจัดรูปแบบการสอนดังนี้ 1. คุณครูจัดทาชุดกิจกรรม เรื่อง คลื่นกล เพื่อแจกให้นักเรียนในวันจันทร์ของทุกสัปดาห์ตลอดการจัดการเรียนการสอน แบบ On hand และ ในการเรียนสอน เรื่อง คลื่นกล เป็นการเรียนการสอนที่มีการทดลอง มีการคานวณ การทาในชุดกิจกรรมจะสะดวกกว่า การในระบบ Google Form 2. นักเรียนทาใบงาน แบบทดสอบ ได้ทุกช่องทาง และนาส่งครูทุกวันจันทร์ของทุกสัปดาห์และ รับใบงานชุดใหม่กลับไป 3. ในระหว่างการเรียนการสอน หากนักเรียนมีข้อสงสัย สามารถติดต่อคุณครูได้ทาง Line และ Facebook หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ครูผู้สอน นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี โรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 เรื่อง คลื่นกล นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรม เรื่อง คลื่นกล ซึ่งในเล่มประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด qr code คลิป วีดีโอการสอนใน เรื่อง คลื่น คลิปการทดลอง คลิปการคานวณ ต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วน เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม คลิปวีดีโอ - การส่งชิ้นงาน 5 คะแนน อธิบายการเกิดคลื่นกลและบรรยายส่วนประกอบ ของคลื่นได้ ครูดาเนินการเก็บคะแนนตามงานที่มอบหมายโดยใช้วิธียืดหยุ่น ให้เหมาะกับสถานการณ์ เช่น การส่งงานตรงเวลา ความรับผิดชอบในงาน ที่ได้รับมอบหมาย แบบทดสอบ ความเรียบร้อยของงาน เป็นต้น - คุณภาพชิ้นงาน ชุดกิจกรรมสาเร็จรูป - ความรับผิดชอบ ม.3/10 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายส่วนประกอบของคลื่น ม.3/11 อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ม.3/10 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายส่วนประกอบของคลื่น ว 2.3
  • 31. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ลงชื่อ……………………………………………………………… (นายกฤษฎา ประเสริฐศรี) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร) บันทึกผลหลังสอน ผลการจัดกิจกรรม ปัญหาที่เกิดขึ้น แนวทางการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ (นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี) ครูผู้ช่วยโรงเรียนวัดลาดชิด(ลาดชิดวิทยาคาร)
  • 33. นางสาวคนางค์ เสียงเพราะดี ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คลื่น ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชุดนี้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการ เรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ ของนักเรียนและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนให้สูงขึ้น ได้นาเสนอเนื้อหาสาระเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ตามมาตรฐานที่ กาหนดไว้ในหลักสูตร และมีลาดับขั้นตอนของกิจกรรมดังต่อไปนี้ คือ ขั้น สร้างความสนใจ ขั้นสารวจและค้นหา ขั้นอธิบายและลงข้อสรุปขั้นขยาย ความรู้ และขั้นประเมินผลผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้นาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชา วิทยาศาสตร์ต่อไป 33 
  • 34. 3  หน้า คานา 2 สารบัญ 3 ผังมโนทัศน์ 4 คาชี้แจงสาหรับครู 5 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 6 มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์การเรียนรู้ 7 ขั้นสร้างความสนใจ 8 ขั้นสารวจและค้นหา 12 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 14 ขั้นขยายความรู้ 15 ขั้นประเมินผล 20 ภาคผนวก 26 เฉลย แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 27 เฉลย เฉลย แบบฝึกหัดที่ 1 29 เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน / หลังเรียน 32 บรรณานุกรม 33
  • 35. 35 ว 2.3 ม.3/10 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยาย ส่วนประกอบของคลื่น ว 2.3 ม.3/11 อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว 2.3 ม.3/10 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยาย ส่วนประกอบของคลื่น 
  • 36. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คลื่น ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีลาดับขั้นตอนของกิจกรรมดังต่อไปนี้ คือ ขั้นสร้างความสนใจ ขั้น สารวจและค้นหา ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ และขั้นประเมินผล โดยครูผู้สอนจะมีบทบาท ดังนี้ 1. ครูควรศึกษาและทาความเข้าใจวิธีการใช้ชุดกิจกรรม ขั้นตอนการดาเนิน กิจกรรม การใช้สื่อและอุปกรณ์ รวมทั้งวิธีวัดและประเมินผลของชุดกิจกรรมให้ ชัดเจน 2. ครูควรเตรียมการจัดกิจกรรมล่วงหน้า และเตรียมสถานที่ ตลอดจนสื่อต่าง ๆ ให้พร้อมก่อนใช้ชุดการเรียนรู้ 3. ครูควรตรวจวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุดกิจกรรมให้เรียบร้อยทั้งก่อน และ หลังใช้ชุดกิจกรรมทุกครั้ง 4. ครูควรชี้แจงบทบาทของนักเรียน เวลาที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมแต่ละ กิจกรรม หรือแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ 5. การแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ควรแบ่งกลุ่มนักเรียน ให้ คละความสามารถ โดยพิจารณานักเรียนที่เรียนเก่ง ปานกลาง และเรียนอ่อน ใน อัตราส่วน 1 : 2 : 1 เพื่อประโยชน์ในการช่วยเหลือและพึ่งพาอาศัยกันและกัน 6. ครูผู้สอน จะเป็นผู้ให้คาแนะนาสาหรับนักเรียนในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และคอยให้กาลังใจนักเรียนในการปฏิบัติกิจกรรม 36 
  • 37. 37 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คลื่น ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี ลาดับขั้นตอนของกิจกรรมดังต่อไปนี้ คือ ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นสารวจและค้นหา ขั้นอธิบาย และลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ และขั้นประเมินผล 1. นักเรียนเข้ากลุ่มตามที่ครูแบ่งให้ กลุ่มละ 4-5 คน ตัวแทนกลุ่มรับชุดกิจกร รมการ เรียนรู้ เรื่อง คลื่นกล กลุ่มละ 1 ชุดที่ครูผู้สอน (ปรับตามความเหมาะสม) 2. อ่านบทบาทของนักเรียนให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนจานวน 20 ข้อ (20 คะแนน) โดยใช้ เวลา 10 นาที เพื่อประเมินความรู้เดิมของตนเองด้วยความซื่อสัตย์ ไม่ลอกผู้อื่นจะทาให้ นักเรียนได้รับ ประโยชน์สูงสุด 4. นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในคาชี้แจง และ ลงมือ ปฏิบัติกิจกรรม ตามขั้นตอนดังนี้ 4.1 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 4.2 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 4.3 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4.4 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 4.5 ลงมือปฏิบัติกิจกรรมขั้นประเมินผล (Evaluation) 5. หลังจากทากิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ประกอบ ชุด กิจกรรมให้เรียบร้อย 6. ในการทากิจกรรมตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกชุด ขอให้นักเรียนทาด้วย ความ ตั้งใจ ให้ความร่วมมือ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด 7. ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อประเมินผลการเรียนและ เปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียนของตนเองด้วยความซื่อสัตย์ 8. หากมีข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจบทเรียน สามารถสอบถามหรือขอคาปรึกษา และ คาแนะนาจากครูผู้สอนได้ 
  • 38. 38 มาตรฐานว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงานการ เปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและ พลังงานพลังงานในชีวิตประจาวันธรรมชาติของคลื่นปรากฏการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับเสียงแสงและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเพื่อให้บรรลุตามตัวชี้วัด) ด้านพุทธิพิสัย 1. อธิบายการเกิดคลื่นกล และบรรยายส่วนประกอบของคลื่นกล ด้านทักษะพิสัย 2. สามารถสร้างแบบจาลองโดยการวาดแสดงลักษณะของคลื่นกล ด้านจิตพิสัย 3. นักเรียนสามารถนาความรู้เรื่องคลื่นกลไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 
  • 39. 39  1. เมื่อคลื่นเดินทางจากน้าตื้นสู่น้าลึก ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก) ความถี่คลื่นในน้าลึกมากกว่าความถี่คลื่นในน้าตื้น ข) ความถี่คลื่นในน้าลึกน้อยกว่าความถี่คลื่นในน้าตื้น ค) ความยาวคลื่นในน้าลึกมากกว่าความยาวคลื่นในน้าตื้น ง) อัตราเร็วของคลื่นในน้าลึกน้อยกว่าอัตราเร็วคลื่นในน้าตื้น 2. คลื่นในข้อใดเป็นคลื่นที่ไม่จาเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ก) คลื่นเสียง ข) คลื่นแสง ค) คลื่นผิวน้า ง) คลื่นในเส้นเชือก 3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นตามยาว ก) เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ข) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง ค) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นได้หลายแนว ง) เป็นคลื่นที่ของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น 4. คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งปริมาณใดต่อไปนี้ไม่ เปลี่ยนแปลงเสมอ ก) ความถี่ ข) อัตราเร็ว ค) ความยาวคลื่น ง) ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น 
  • 40. 40 5. ถ้ากระทุ่มน้าเป็นจังหวะสม่าเสมอ ลูกปิงปองที่ลอยอยู่ห่างออกไปจะเคลื่อนที่ อย่างไร ก) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ไปด้านข้าง ข) ลูกปิงปองเคลื่อนที่เข้ามาหา ค) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ออกห่างไปมากขึ้น ง) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ขึ้น-ลงอยู่ที่ตาแหน่งเดิม 6. คลื่นขบวนหนึ่งมีอัตราเร็ว 15 เมตรต่อวินาที และมีความถี่ ของคลื่น 3 เฮิรตซ์ ความยาวของคลื่นจะมีค่าเท่าใด ก) 3 เมตร ข) 4 เมตร ค) 5 เมตร ง) 6 เมตร 7. คลื่นน้ามีความถี่ 20 รอบต่อวินาที ภายใน 4 วินาที จะมีจานวนหน้าคลื่นเคลื่อนที่ ผ่านจุดที่สังเกตจานวนเท่าใด ก) 5 ข) 20 ค) 80 ง) 120 8. นักเรียนสามารถวัดความยาวของคลื่นได้อย่างไร ก) วัดจากจุดเริ่มต้นไปจุดสุดท้ายของคลื่น ข) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปถึงท้องคลื่นหนึ่ง ค) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปยังสันคลื่นที่อยู่ติดกัน ง) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปยังสันคลื่นสุดท้าย 9. คลื่นผิวน้ามีความถี่ 30 รอบต่อวินาที ถ้าระยะห่างจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นติดกัน เท่ากับ 5 เมตร อัตราเร็วของคลื่นจะเท่ากับข้อใด ก) 6 cm/s ข) 6 m/s ค) 150 cm/s ง) 150 m/s 10. ระยะการกระจัดสูงสุดจากแนวสมดุล หมายถึงข้อใด ก) สันคลื่น ข) ท้องคลื่น ค) ความถี่ ง) แอมพลิจูด 
  • 42. 42  ?? ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… qr cord วีดีโอคลื่นน้า ที่มา: https://pixabay.com/th/videos/ 11
  • 43. 43  แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 เรื่อง คลื่นในลวดสปริง คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ (เป็นกลุ่มตามการจัดในห้องเรียน) จุดประสงค์ อธิบายการเคลื่อนที่และทิศทางของอนุภาคของตัวกลางของคลื่นในลวดสปริง วัสดุ-อุปกรณ์ 1. สปริงสาธิตคลื่น 2. ริบบิ้น หรือไหมพรมสีสด วิธีการทากิจกรรม 1. วางสปริงสาธิตคลื่นราบกับพื้น แล้วนาไปด้านหนึ่งตรึงไว้กับขาโต๊ะ 2. คลี่สปริงออกแล้วนาริบบิ้นผูกที่สปริง 3. อัดสปริงตามแนวยาวของสปริงอย่างช้าๆเป็นจังหวะ สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของ ริบบิ้นและสปริง ดังภาพ (ก) 4. สะบัดสปริงไปมาบนพื้นราบอย่างช้าๆและเป็นจังหวะ สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของ ริบบิ้นและสปริงและบันทึกผล ดังภาพ (ข) ทิศทางการอัดของสปริง ทิศทางการสะบัดของสปริง (ก)การอัดสปริงตามแนวยาวของสปริง (ข)การอัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ qr cord การทดลองการ เกิดคลื่นในลวดสปริง ที่มา: https://www.youtube.com/ watch?v=-UekIWvwDIY 12
  • 44. 44  บันทึกผลการทากิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… คาชี้แจง ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันกับครู พร้อมกับตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เมื่ออัดสปริงตามแนวยาวและสะบัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ สปริงมีการเปลี่ยนแปลง ต่างกันอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เมื่ออัดสปริงตามแนวยาวและสะบัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ ทิศทางของริบบิ้นที่ผูกมีการ เคลื่อนที่อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เมื่อสั่นสปริง 1 ครั้ง และสั่นต่อเนื่อง สปริงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… คาถามท้ายกิจกรรม 13
  • 45. 45  คาชี้แจง ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันกับครู พร้อมกับตอบคาถามต่อไปนี้ การเกิดคลื่นในเส้นเชือกและลวดสปริง จนได้ข้อสรุปว่า การ สะบัดสปริง และการอัดลวดสปริง เป็นการให้พลังงานกลกับเส้น เชือกและปลาย ลวดสปริง พลังงานกลนี้จะถ่ายโอนผ่านอนุภาคเส้น เชือก และลวดสปริงไปยังปลายอีก ข้างหนึ่ง แต่ไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับ คลื่น เรียกคลื่นที่มีการถ่ายโอนพลังงานผ่านตัวกลางว่า “คลื่นกล” เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นในเส้นลวดสปริง คลื่นผิวน้า แบ่งคลื่นโดย พิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นกับทิศทางการสั่นของอนุภาค ตัวกลาง ได้ 2 ชนิด คือ คลื่นตามยาว และคลื่นตามขวาง 14
  • 46. 46  คลื่นกลเป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ สิ่งที่คลื่นนาไปด้วย พร้อมกับการเคลื่อนที่คือพลังงาน พลังงานเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างๆ จะมีปริมาณ ต่างๆกันไปในแต่ละกรณี เช่น พลังงานของคลื่นในทะเลขณะที่พายุจะมีค่ามากกว่า พลังงานที่เกิดจากคลื่นเสียงที่เราตะโกนออกไป ชนิดของคลื่น เราสามารถแบ่งคลื่นออกเป็น 2 ชนิดเมื่อพิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนที่ ของอนุภาคตัวกลางขณะคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน คือ คลื่นตามยาว และคลื่นตามขวาง คลื่นตามยาว เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ตัวอย่างคลื่นตามยาว เช่น คลื่นในสปริง คลื่นเสียง เป็นต้น คลื่นตามขวาง เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ตัวอย่างคลื่นตามยาว เช่น คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น เมื่อพิจารณาลักษณะของการทาให้เกิดคลื่น เราอาจแบ่งคลื่นออกเป็น คลื่น ดล และคลื่นต่อเนื่อง โดยคลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่งกาเนิดในช่วงเวลาสั้นๆ หรือการไป รบกวนแหล่งกาเนิดคลื่นเพียงครั้งเดียว เรียกคลื่นนี้ว่า คลื่นดล และถ้าแหล่งกาเนิดคลื่นสั่น ต่อเนื่องหรือการรบกวนแหล่งกาเนิดคลื่นอย่างต่อเนื่องเรียก คลื่นต่อเนื่อง 15
  • 47. 47  ส่วนประกอบของคลื่น เมื่อพิจารณาส่วนประกอบของคลื่น จะเห็นลักษณะทางกายภาพที่สาคัญของคลื่น 3 ประการ คือ ความยาวคลื่น ความถี่และอัตราเร็วของคลื่น นอกจากนี้คลื่นยังมีองค์ประกอบอื่น ๆ อีก ดังต่อไปนี้ ความยาวคลื่น หมายถึงระยะที่น้อยที่สุดระหว่างจุด 2 จุดบนคลื่นที่มีลักษณะการเคลื่อนที่ เหมือนกันทุกประการ เราใช้สัญลักษณ์ λ แทนความยาวคลื่น มีหน่วยเป็น เมตร ความถี่ของคลื่น หมายถึงจานวนคลื่นที่ผ่านจุด ๆ หนึ่ง ในหนึ่งหน่วยเวลาหรือจานวนรอบที่ แหล่งกาเนิดคลื่นหรือตัวกลางสั่นได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ใช้สัญลักษณ์ f มีหน่วยเป็นรอบต่อ วินาที หรือเฮิรตซ์ (Hz) คาบของคลื่น หมายถึงช่วงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ 1 ความยาวคลื่น หรือเวลาที่แหล่งกาเนิด คลื่น หรือตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านครบ 1 รอบ ใช้สัญลักษณ์ T มีหน่วยเป็นวินาที แอมพลิจูด หมายถึงขนาดของการกระจัดสูงสุดของอนุภาคของตัวกลางที่คลื่นผ่านจาก ตาแหน่ง สมดุลเดิม ใช้สัญลักษณ์ A มีหน่วยเป็น เมตร อัตราเร็วคลื่น หมายถึงระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา ใช้สัญลักษณ์ v มีหน่วย เป็น เมตร/วินาที qr cord ส่วนประกอบของคลื่น ที่มา: https://www.youtube.com/ watch?v=oqWKG-kALgc 16
  • 48. 48  ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และคาบของคลื่น เมื่อพิจารณาจากความหมายของคาบและความถี่ของคลื่น จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้ ในเวลา T วินาที คลื่นเคลื่อนที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งได้ 1 ลูกคลื่น ในเวลา 1 วินาที คลื่นเคลื่อนที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งได้ 1 𝑇 ลูกคลื่น 1 𝑇 จะได้ว่า 𝑓 = หรือ T = 1 𝑓 อัตราเร็ว = ระยะทาง เวลา V = S t เมื่อ s =  t = T m/s จะได้ V =  T V = f m/s qr cord อัตราเร็วของคลื่น ที่มา: https://www.youtube.com/ watch?v=dtF5hP3bj9Yom/ watch?v=oqWKG-kALgc 17
  • 49. 49  ตัวอย่าง คลื่นต่อเนื่องขบวนหนึ่งมีความถี่ 90 เฮิรตซ์ ขณะเวลาหนึ่งมีลักษณะ ดังรูป ถ้าแกน x และแกน y แทนระยะทางในหน่วยเซนติเมตร จงหาแอมพลิจูด ความยาวคลื่น คาบ อัตราเร็วของคลื่น ตามลาดับ จากรูปวัดค่าแอมพลิจูดของคลื่นได้เท่ากับ 1 เซนติเมตร ค่าความ ยาวคลื่นได้ 2 เซนติเมตร อัตราเร็วของคลื่นมีค่าเท่ากับ 1.8 เมตรต่อวินาที 18
  • 51. 51  แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง คลื่นกล คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1.คลื่น (wave) คือ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ 2. คลื่นตามขวางและคลื่นตามยาวแตกต่างกันอย่างไร ............................................................................................................................. .................................... ........................................................................ 3. ถ้าส่งคลื่นดลไปตามลวดสปริง หลังจากคลื่นได้ผ่านตาแหน่งหนึ่งบนลวด สปริงไปแล้วตาแหน่งนั้นจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ 20
  • 52. 52  แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง คลื่นกล คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 5. เรือลาหนึ่งทอดสมออยู่ ถูกกระทบด้วยคลื่นซึ่งมีความเร็ว 30 เมตรต่อวินาที และมีระยะระหว่างสันคลื่นถัดกันห่างกัน 150 เมตร จงหาเวลาที่คลื่นแต่ละลูก วิ่งมากระทบเรือ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. 6. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 12 ลูกคลื่น ใน 30 วินาที คลื่นผิวน้านี้มีความเร็วเท่าใด ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ 21
  • 53. 53  แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง คลื่นกล คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 7. คลื่นในเส้นเชือกมีอัตราเร็ว 8m/s ถ้าวัดระยะห่างจากสันคลื่นถึงท้องคลื่นที่ อยู่ติดกันได้ 0.5 m ความถี่ของคลื่นจะมีค่าเท่าใด ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. 8.แหล่งกาเนิดคลื่นปล่อยคลื่นที่มีความยาวคลื่น 0.05 m วัดอัตราเร็วได้ 40 m/s เป็นเวลา 0.08 s ได้คลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ 22
  • 54. 54  1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นตามยาว ก) เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ข) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง ค) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นได้หลายแนว ง) เป็นคลื่นที่ของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น 2. คลื่นในข้อใดเป็นคลื่นที่ไม่จาเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ก) คลื่นเสียง ข) คลื่นแสง ค) คลื่นผิวน้า ง) คลื่นในเส้นเชือก 3. เมื่อคลื่นเดินทางจากน้าตื้นสู่น้าลึก ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก) ความถี่คลื่นในน้าลึกมากกว่าความถี่คลื่นในน้าตื้น ข) ความถี่คลื่นในน้าลึกน้อยกว่าความถี่คลื่นในน้าตื้น ค) ความยาวคลื่นในน้าลึกมากกว่าความยาวคลื่นในน้าตื้น ง) อัตราเร็วของคลื่นในน้าลึกน้อยกว่าอัตราเร็วคลื่นในน้าตื้น 4. คลื่นขบวนหนึ่งมีอัตราเร็ว 15 เมตรต่อวินาที และมีความถี่ ของคลื่น 3 เฮิรตซ์ ความยาวของคลื่นจะมีค่าเท่าใด ก) 3 เมตร ข) 4 เมตร ค) 5 เมตร ง) 6 เมตร  23
  • 55. 55 5. ถ้ากระทุ่มน้าเป็นจังหวะสม่าเสมอ ลูกปิงปองที่ลอยอยู่ห่างออกไปจะเคลื่อนที่ อย่างไร ก) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ไปด้านข้าง ข) ลูกปิงปองเคลื่อนที่เข้ามาหา ค) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ออกห่างไปมากขึ้น ง) ลูกปิงปองเคลื่อนที่ขึ้น-ลงอยู่ที่ตาแหน่งเดิม 6. คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งปริมาณใดต่อไปนี้ไม่ เปลี่ยนแปลงเสมอ ก) ความถี่ ข) อัตราเร็ว ค) ความยาวคลื่น ง) ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น 7. คลื่นน้ามีความถี่ 20 รอบต่อวินาที ภายใน 4 วินาที จะมีจานวนหน้าคลื่นเคลื่อนที่ ผ่านจุดที่สังเกตจานวนเท่าใด ก) 5 ข) 20 ค) 80 ง) 120 8. ระยะการกระจัดสูงสุดจากแนวสมดุล หมายถึงข้อใด ก) สันคลื่น ข) ท้องคลื่น ค) ความถี่ ง) แอมพลิจูด 9. คลื่นผิวน้ามีความถี่ 30 รอบต่อวินาที ถ้าระยะห่างจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นติดกัน เท่ากับ 5 เมตร อัตราเร็วของคลื่นจะเท่ากับข้อใด ก) 6 cm/s ข) 6 m/s ค) 150 cm/s ง) 150 m/s 10. นักเรียนสามารถวัดความยาวของคลื่นได้อย่างไร ก) วัดจากจุดเริ่มต้นไปจุดสุดท้ายของคลื่น ข) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปถึงท้องคลื่นหนึ่ง ค) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปยังสันคลื่นที่อยู่ติดกัน ง) วัดจากสันคลื่นหนึ่งไปยังสันคลื่นสุดท้าย  24
  • 58. 58  คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ (เป็นกลุ่มตามการจัดในห้องเรียน) จุดประสงค์ อธิบายการเคลื่อนที่และทิศทางของอนุภาคของตัวกลางของคลื่นในลวดสปริง วัสดุ-อุปกรณ์ 1. สปริงสาธิตคลื่น 2. ริบบิ้น หรือไหมพรมสีสด วิธีการทากิจกรรม 1. วางสปริงสาธิตคลื่นราบกับพื้น แล้วนาไปด้านหนึ่งตรึงไว้กับขาโต๊ะ 2. คลี่สปริงออกแล้วนาริบบิ้นผูกที่สปริง 3. อัดสปริงตามแนวยาวของสปริงอย่างช้าๆเป็นจังหวะ สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของ ริบบิ้นและสปริง ดังภาพ (ก) 4. สะบัดสปริงไปมาบนพื้นราบอย่างช้าๆและเป็นจังหวะ สังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของ ริบบิ้นและสปริงและบันทึกผล ดังภาพ (ข) บันทึกผลการทากิจกรรม จากกิจกรรมเมื่อสะบัดสปริงไปมาบนพื้นราบพบว่าริบบิ้นที่ผูกไว้กับสปริงจะมีทิศ ทางการเคลื่อนที่ตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของลวดสปริงซึ่งการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้ เรียกว่าคลื่นตามขวางแต่เมื่อตัดสปริงในแนวของสปริงพบว่าการเคลื่อนที่ของ ริบบิ้นที่ผูกไว้จะมีทิศทางการเคลื่อนที่ขนานกับการเคลื่อนที่ของคลื่นในลวดสปริง ซึ่งการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้เรียกว่าคลื่นตามยาว 27
  • 59.  59 คาชี้แจง ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันกับครู พร้อมกับตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เมื่ออัดสปริงตามแนวยาวและสะบัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ สปริงมีการเปลี่ยนแปลง ต่างกันอย่างไร แนวคำตอบ ทิศทางการสั่นของสปริงแตกต่างกัน 2. เมื่ออัดสปริงตามแนวยาวและสะบัดสปริงไป-มาบนพื้นราบ ทิศทางของริบบิ้นที่ผูกมีการ เคลื่อนที่อย่างไร แนวคำตอบ เมื่อตัดสปริงตามแนวยาวทิศทางการเคลื่อนที่ของริบบิ้น ขนานกับการ เคลื่อนที่ของคลื่นและเมื่อสารสปริงไปมาบนพื้นราบ ทิศทางการเคลื่อนที่ของ ริบบิ้น ตั้ง ฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น 3. เมื่อสั่นสปริง 1 ครั้ง และสั่นต่อเนื่อง สปริงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร แนวคำตอบ เมื่อสารสปริง 1 ครั้ง จะเกิดกลุ่มเกลียวสปริงที่ถูกอัดและเมื่อศาล สตริงต่อเนื่องจากเกิดกลุ่มเกลียวสปริงอยู่ติดกันและห่างกันสลับสายส่วน คาถามท้ายกิจกรรม 28