SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บัวบุญ โลจายะ ม.6/1 เลขที่ 64
--อินเทอร์เน็ตคืออะไร--
อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นจานวนมากครอบคลุมไปทั่วโลกโดยอาศัยโครงสร้าง
ระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล มีการประยุกต์ใช้งานหลากหลายรูปแบบ อินเทอร์เน็ต
เป็นทั้งเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายของเครือข่าย เพราะอินเทอร์เน็ตประกอบด้วยเครือข่ายย่อยเป็นจานวน
มากต่อเชื่อมเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานเดียวกันจนเป็นสังคมเครือข่ายขนาดใหญ่ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายสาธารณะที่
ไม่มีผู้ใดเป็นเจ้าของ ทาให้การเข้าสู่เครือข่ายเป็นไปได้อย่างเสรีภายใต้กฎเกณฑ์บางประการที่กาหนดขึ้น เพื่อไม่ให้เกิด
ความสับสนและวุ่นวายจากการเชื่อมต่อจากเครือข่ายทั่วโลก
--ISPคืออะไร--
ISP ตามหนังสือศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ 4 ได้ระบุความหมายว่าหมายถึง "ผู้
ให้บริการอินเตอร์เน็ต" ISPเป็นหน่วยงานที่บริการให้เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ของบริษัท เข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั่วโลก ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
อยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ หน่วยงานราชการหรือสถาบันการศึกษา กับบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์
ทั่วไป ISP ที่เป็นหน่วยงานราชการ หรือสถาบันการศึกษา มักจะเป็นการให้บริการฟรีสาหรับสมาชิกของ
องค์การเท่านั้น แต่สาหรับ ISPประเภทที่ให้บริการในเชิงพาณิชย์ผู้ใช้ที่ต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตจะต้อง
สมัครเข้าเป็นสมาชิกของ ISP รายนั้นๆ ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ซึ่งอัตราค่าบริการ
จะขึ้นอยู่กับ ISP แต่ละราย ข้อดีสาหรับผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ก็คือ การให้บริการที่มีหลากหลาย
รูปแบบ ซึ่งรองรับกับความต้องการของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน มีทั้งรูปแบบส่วนบุคคล ซึ่งจะให้บริการกับประชาชน
ทั่วไปที่ต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ต และบริการในรูปแบบขององค์กร หรือบริษัท ซึ่งให้บริการกับบริษัทห้าง
ร้าน หรือองค์กรต่าง ๆ ที่ต้องการให้พนักงานในองค์กรได้ใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ISP จะเป็นเสมือน
ตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ถ้าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต้องการข้อมูลอะไรก็สามารถ
ติดต่อผ่าน ISP ได้ทุกเวลา
--ประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต--
- อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็น
หน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อประมาณ
ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได ้ถูกพัฒนาเรื่อยมา
- ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได ้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่ าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy
และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร ้อมเปลี่ยนแปลง
นโยบายบางอย่าง
และในปีค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ได ้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แห่ง เข ้าหากันเป็น
ครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยยู
ทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความสาเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได ้เปลี่ยนจาก
เครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช ้งานจริง ซึ่ง DARPA ได ้โอนหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรง ให ้แก่ หน่วยการ
สื่อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense Informations Systems
Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทางานที่รับผิดชอบบริหาร เครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet
Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหม่ในInternet,
IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช ้กับ Internet ซึ่งเป็นการทางานโดยอาสาสมัคร
ทั้งสิ้น
- ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal)
มาใช ้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบ ทาให ้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet
จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตุได ้ว่า ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได ้จะต ้องเพิ่ม TCP/IP ลงไป
เสมอ เพราะ TCP/IP คือข ้อกาหนดที่ทาให ้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และสื่อสารกันได ้
อย่างถูกต ้อง
- การกาหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสร ้างฐานข ้อมูล แบบ
กระจาย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให ้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทา
ฐานข ้อมูลของตนเอง จึงไม่จาเป็นต ้องมีฐานข ้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บ
www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข ้อมูล ของเว็บที่ลงท ้าย
ด ้วย th ทั้งหมด เป็นต ้น
- DARPA ได ้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให ้ มูลนิธิ
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข ้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน
- ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกาหนดมาตรฐาน
ใหม่ต่าง ๆ ผู้ติดสินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได ้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช ้ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ที่ได ้
ทดลองใช ้มาตรฐานเหล่านั้น และจะใช ้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐานของระบบ เช่น
TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต ้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจายฐานข ้อมูล การจะ
เปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก
-ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กาลังได ้รับ
ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทาให ้ เกิดความรู้
วิธีการประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข ้อมูล การเรียกใช ้ข ้อมูล ตลอดจนการเรียกใช ้ข ้อมูล ด ้วยวิธีการทาง
อิเล็คทรอนิคส์ เมื่อเราให ้ความสาคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจาเป็นที่
จะต ้องมีเครื่องมือในการใช ้งานไอที เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสาร
โทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information
Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช ้งาน หาข ้อมูลข่าวสาร และเข ้าถึงข ้อมูล ได ้ด ้วยเวลาอันรวดเร็ว
อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห ้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีข ้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย ให ้เราค ้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย
ทันต่อเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถที่จะทราบได ้ทันที จึงนับได ้ว่า อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือ
สาคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทั้งในระดับองค์กรและใน
ระดับบุคคล
เนื่องจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนร่างแหที่แผ่ไปทั่ว จึงมีจุดที่จะ
เชื่อมต่อเข้ามาได้มากมายโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่เดิม ซึ่ง
ผู้ที่รับการเชื่อมต่อก็จะต้องลงทุนอุปกรณ์เครื่องมือรวมถึงค่าสัมปทาน
จากรัฐ (ขึ้นกับกฎหมายของแต่ละประเทศ ) จึงต้องคิดค่าบริการจากคน
ที่มาต่อผ่านตามสมควร ผู้ให้บริการเชื่อมต่อนี้ก็คือ ISP นั่นเอง ซึ่งแต่ละ
รายก็เก็บค่าบริการไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการเชื่อมต่อและเงื่อนไข
บริการแก่คนอื่นๆ ฯลฯหรือบางรายก็ให้บริการฟรีแก่ลูกค้า เช่น
สถาบันการศึกษาทาตัวเป็น ISP ให้นักศึกษาในสังกัดใช้อินเทอร์เน็ตฟรี
หรือบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น ให้บริการอินเทอร์เน็ตฟรีแก่ลูกค้าที่ใช้
หมายเลขโทรศัพท์ของตน เป็นต้น
--อินเทอร์เน็ต
เชื่อมต่อกันได้
อย่างไร--
--เราจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร--
•ถ้าต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ก็ต้องมีโมเด็ม (Modem) ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วเอาสายโทรศัพท์มาต่อเข้าไปอีกที
หนึ่ง หรือถ้าเป็นโทรศัพท์แบบ ISDN (Integrated Services Digital Network) ก็ต้องใช้โมเด็ม ISDN โดยเฉพาะแทน
-ถ้าต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่เรียกว่า ADSL หรือบรอดแบนด์ (broadband) ก็ต้องมีโมเด็มชนิด ADSL ที่ต่อ
คอมพิวเตอร์เข้ากับสายโทรศัพท์เช่นเดียวกัน แต่รับส่งสัญญาณในสายคนละแบบ คนละความถี่กัน ทาให้ได้ความเร็ว
สูงขึ้นกว่าโมเด็มธรรมดา แต่ต้องมีอุปกรณ์พิเศษที่ชุมสายด้วยจึงจะใช้ได้
DNS และ DNS Server
โปรโตคอล : กติกาของอินเทอร์เน็ต
การทางานต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ก็ต้องมีกติกาที่ทุก
เครื่อง ทุกโปรแกรม รับรู้และทาตามเป็นแบบหรือมาตรฐานเดียวกันทั่ว
โลก ซึ่งบนอินเทอร์เน็ตมีกติกาเหล่านี้มากมายสาหรับแต่ละเรื่อง เรียกว่า
“โปรโตคอล” (Protocol) ที่สาคัญก็มีอาทิเช่น
TCP/IP กับ IP Address
เป็นกติกาหลักในการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจากโปรแกรมโดก็ต้องแปลงให้อยู่ใน
มาตรฐานของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้กติกานี้กาหนดวิธี ขั้นตอนในการรับส่งข้อมูล และตรวจสอบความถูกต้อง
อย่างรัดกุม
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้ ก็คือ การเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ต ซึ่งทางเทคนิคเรียกว่า “ที่อยู่ IP”
หรือ IP address เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 คั่นด้วยจุด เช่น 202.56.159.90 หรือ 203.107.136.7
เป็นต้อน ซึ่งจะตั้งชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้นับพันล้านเครื่องโดยไม่ซ้ากัน
ชื่อโดเมน
เนื่องจากผู้ใช้ทั่วไปจะรู้สึกว่า IP address นั้นจายาก จึงมีการคิดระบบ “ชื่อโดเมน” หรือ Domain name ขึ้นมาโดยใช้
ภาษาอังกฤษเป็นคา ๆ ซึ่งสื่อความหมาย นามาเรียงต่อโดยคั่นแต่ละคาด้วยจุด (.) เช่น kapok.com,hunsa.com,
manager.co.th หรือ cnn.com เป็นต้น
--DNS และ DNS SERVER—
DNS server ย่อมาจาก Domain Name System server คือเครื่องบริการแปลงชื่อเว็บเป็นหมายเลข IP ซึ่งการแปลงชื่อนี้
อาจเกิดในเครื่อง local เอง จาก Cache ในเครื่อง local หรือจากเครื่องบริการของผู้ให้บริการเพราะ เบอร์ IP Address เป็น
ตัวเลขที่ใช้ไม่ค่อยสะดวกและจายาก ด้วยเหตุนี้จึงมีการคิดระบบตั้งชื่อแบบที่เป็นตัวอักษรให้มีความหมายเพื่อการจดจา
ได้ง่ายขึ้น จึงเป็นที่มาของ DNS server
DNS ทาหน้าที่คล้ายสมุดโทรศัพท์คือ เมื่อมีคนต้องการจะโทรศัพท์หาใคร คนนั้นก็จะเปิดสมุดโทรศัพท์ดู เพื่อค้นหา
หมายเลขโทรศัพท์ของคนที่ต้องการติดต่อ คอมพิวเตอร์ก็เช่นกัน เมื่อต้องการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เครื่องนั้น
ก็จะทาการสอบถามหมายเลข IP ของเครื่องที่ต้องการสื่อสารด้วยกับ DNS server ซึ่งจะทาการค้นหาหมายเลขดังกล่าวใน
ฐานข้อมูลแล้วแจ้งให้โฮสต์ดังกล่าว ทราบ ระบบ DNS แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
1.Name Resolvers : ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าจุดประสงค์หลักของ DNS คือการแปลงชื่อคอมพิวเตอร์ ให้เป็นหมายเลข IP
ในเทอมของ DNS แล้วเครื่องไคลเอนท์ที่ต้องการสอบถามหมายเลข IP จะเรียกว่า "รีโซล์ฟเวอร์ (resolver)" วอฟแวร์ที่
ทาหน้าที่เป็นรีโซล์ฟเวอร์นั้นจะถูกสร้างมากับแอพพลิเคชันหรืออาจจะเป็นไลบรารีที่มีอยู่ในเครื่องไคลเอนท์
2.Domain Name Space : ฐานข้อมูลระบบ DNS มีโครงสร้างเป็นต้นไม้ซึ่งจะเรียกว่า "โดเมนเนมสเปซ (Domain Name
Space)" แต่ละโดเมนจะมีชื่อและสามารถมีโดเมนย่อยหรือซับโดเมน (Subdomain) การเรียกชื่อจะใช้จุด ( .) เป็นตัว
แบ่งแยกระหว่างโดเมนหลักและโดเมนย่อย
3.Name Servers : เนมเซิร์ฟเวอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รันโปรแกรมที่จัดการฐานข้อมูลบางส่วนของระบบ DNS เนม
เซิร์ฟเวอร์จะตอบกลับการร้องขอทันทีโดยการค้นหาข้อมูลในฐานของมูลตัวเอง หรือจะส่งต่อการร้องขอ ไปยังเนม
เซิร์ฟเวอร์อื่น ถ้าเนมเซิร์ฟเวอร์มีเร็คคอร์ดของส่วนของโดเมน แสดงว่า เนมเซิร์ฟเวอร์นั้นเป็นเจ้าของโดเมนนั้น
(Authoritative) ถ้าไม่มีก็จะเรียกว่า Non-Authoritative
ข้อจากัดของระบบ DNS รับรู้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set) ใน RFC 1035 ระบุว่าสัญลักษณ์ที่ใช้ได้ใน
โดเมนเนม คือ
1.ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive)
2.เลข 0 ? 9
3.เครื่องหมายยติภังค์ (-)
--เว็บ WEB –
--เว็บไซต์ WEBSITE--
เป็นคาเรียกสั้น ๆ ของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งหมายถึงสถานที่
รวมของกลุ่มคอมพิว เตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทาง
อินเทอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer
Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน
มีคาหลายคาที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ใน
เรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่ง
คอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลก ดู internet, HTML ประกอบ
เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อ
ประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือ
หน่วยงานโดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และ
เรียกเว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ (Home Page) หรือ
อาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสองหน้าที่มีลิงก์
(Links) ถึงกัน ตามหลักคาว่า เว็บไซต์จะใช้สาหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์
แบบเซิร์ฟเวอร์หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น
www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น
--HTTP โปรโตคอลของเว็บ-- --HTML ภาษาของเว็บ--
URL (Uniform Resource Locator)
HTTP หรือ Hyper Text Transfer Protocol หมายถึง
บริการหรือรูปแบบการเชื่อมต่อประเภทหนึ่งใน
อินเตอร์เน็ตที่ใช้สาหรับการรับส่งไฮเปอร์เท็กซ์ไฟล์ (ไฟล์
เว็บเพจ) จากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยังคอมพิวเตอร์
ปลายทาง คอมพิวเตอร์ต้นทางเราเรียกว่า HTTP Server
หรือ Web Server คอมพิวเตอร์ปลายทาง เรียกว่า HTTP
Client หรือ Web Client
HTML หรือ Hyper Text Mark up Language หมายถึง
ภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ใช้สาหรับสร้างเว็บเพจ
ลักษณะเด่นของเอกสาร (หรือเว็บเพจ) ที่เขียนด้วยภาษา
HTML คือ สามารถสร้างการเชื่อมโยงหรือลิ้งค์ (link) จาก
ข้อความหรือรูปภาพในเอกสารหน้าหนึ่ง ไปยังเอกสารอีก
หน้าหนึ่งได้
URL ย่อมาจากคาว่า Uniform Resource Locator คือ ที่อยู่ (Address) ของ
ข้อมูลต่างๆในInternet เช่น ที่อยู่ของไฟล์หรือเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ต
รูปแบบของ URL จะประกอบด้วย
http://www.urlbookmarks.com/support/urlfaq.htm
1. ชื่อโปรโตคอลที่ใช้ (http ซึ่งย่อมาจาก HyperText Transfer Protocol)
2. ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และชื่อเครือข่ายย่อย (www/urlbookmarks)
3. ประเภทของเวบไซต์ (.com) ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท คือเช่น.com (Commercial),.edu (Educational),.org
(Organizations),.net (Network) ฯลฯ
4. ไดเร็กทอรี่ (/support/)
5. ชื่อไฟล์และนามสกุล (urlfaq.htm)
รู้จักกับ E-mail
Electronic mail หรือ E-mail (อีเมล์) เป็นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในแบบเดียวกับ
จดหมายทั่วไปคือส่งแล้วข้อมูลที่ส่งนั้นจะไปกองรอไว้เมื่อผู้รับว่างจึงจะเข้ามาเปิดอ่าน โดยไม่
จาเป็นต้องมีการโต้ตอนกันทันทีอีเมล์เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ใช้กันแพร่หลายบนอินเทอร์เน็ตมา
นานแล้ว (เน็ตเวิร์กในองค์กรก็อาจมีอีเมล์ภายในใช้เช่นกัน) โปรแกรมที่ใช้รับส่งอีเมล์จะถูกรับ
ส่งผ่านเครื่องที่ให้บริการรับส่งเมล์ ซึ่งเรียกว่า “เมล์เซิร์ฟเวอร์” (mail server)
ในองค์กรที่มีระบบอีเมล์ใช้เป้ นของตนเอง ผู้ดูแลระบบจะจัดที่อยู่อีเมล์หรือ E-mail address ให้ใช้
เป็นการเฉพาะสาหรับหน่วยงานนั้น ๆ นอกจากนั้นเรายังสามารถขออีเมล์แอดเดรสจาก ISP ที่ใช้
บริการอยู่ได้เช่นกัน หรือขอจากเว็บไซต์ที่ให้บริหารอีเมล์ฟรี เช่น hotmail.com, gmail.com เป็นต้น
รูปแบบของ E-mail address
ในการส่งอีเมล์นี้ เราจะต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับว่าจะส่งไปที่ชื่อไหน ซึ่งเรียกว่า “ตู้จดหมาย” หรือ
mailbox และต่างกันไปตามแต่ละคน แต่จะอยู่ในรูปแบบใกล้เคียงกันคือ ชื่อผู้ใช้@ชื่อโดเมนหรือชื่อ
หน่วยงาน ดังตัวอย่างนี้
--การรับส่งE-mail--
การรับอีเมล์ เริ่มโดยเชื่อมต่อไปที่เครื่อง เมล์เซิร์ฟเวอร์ขาเข้า (อาจเป็นคนละเครื่องหรือเครื่อง
เดียวกับเมล์เซิร์ฟเวอร์ขาออกก็ได้) ซึ่งมีเมล์บ็อกซ์ (mailbox) หรือตู้ไปรษณีย์เพื่อดังอีเมล์ที่มีถึง
เข้ามายังเครื่องของเราและอาจลบไฟล์ต้นฉบับบนเซิร์ฟเวอร์นั้นทิ้ง หรือจะเก็บไว้ก่อนก็ได้อีเมล์
ที่ดึงมาแล้วนั้นจะเปิดอ่านหรือแยกเอาไฟล์หรือข้อมูลที่แนบออกมาใช้งานอื่น ๆ ต่อได้เช่นกัน
การส่งอีเมล์ เริ่มจากสร้างไฟล์อีเมล์ขึ้นใหม่ แล้วส่งไฟล์นั้นให้กับเครื่องที่เป็น เมล์เซิร์ฟเวอร์ขา
ออก ซึ่งจะส่งต่อไปยังผู้รับปลายทางอีกทอดหนึ่ง เราสามารถเขียนข้อความหรือแนบไฟล์
เอกสาร รูปภาพ และข้อมูล มัลติมีเดียแบบต่าง ๆ ไปด้วยก็ได้นอกจากนี้บางโปรแกรมยังจัด
หน้าตาเมล์ให้สวยงามและน่าอ่าน โดยใช้ภาษา %HTML แบบเดียวกับเว็บเพจนั่งเอง ในการส่ง
อีเมล์นี้ เราอาจส่งไปยังผู้รับคนเดียว หรือจะระบุให้ส่งถึงหลาย ๆ คน โดยเมล์ฉบับเดียวก็ได้เมล์
เซิร์ฟเวอร์ขาออกจะจัดการกระจายให้ทุกคนเอง

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตหน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตPor Oraya
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internetSamorn Tara
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตAssumption College Rayong
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKantida SilverSoul
 

What's hot (18)

หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตหน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
โพรโทคอล
โพรโทคอลโพรโทคอล
โพรโทคอล
 

Similar to it-10-46

บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตNaluemonPcy
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)Paveenut
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสpeter dontoom
 

Similar to it-10-46 (20)

บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
work3-21
work3-21work3-21
work3-21
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
 

it-10-46

  • 2. --อินเทอร์เน็ตคืออะไร-- อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นจานวนมากครอบคลุมไปทั่วโลกโดยอาศัยโครงสร้าง ระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล มีการประยุกต์ใช้งานหลากหลายรูปแบบ อินเทอร์เน็ต เป็นทั้งเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายของเครือข่าย เพราะอินเทอร์เน็ตประกอบด้วยเครือข่ายย่อยเป็นจานวน มากต่อเชื่อมเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานเดียวกันจนเป็นสังคมเครือข่ายขนาดใหญ่ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ ไม่มีผู้ใดเป็นเจ้าของ ทาให้การเข้าสู่เครือข่ายเป็นไปได้อย่างเสรีภายใต้กฎเกณฑ์บางประการที่กาหนดขึ้น เพื่อไม่ให้เกิด ความสับสนและวุ่นวายจากการเชื่อมต่อจากเครือข่ายทั่วโลก --ISPคืออะไร-- ISP ตามหนังสือศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ 4 ได้ระบุความหมายว่าหมายถึง "ผู้ ให้บริการอินเตอร์เน็ต" ISPเป็นหน่วยงานที่บริการให้เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือเครือข่าย คอมพิวเตอร์ของบริษัท เข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั่วโลก ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต อยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ หน่วยงานราชการหรือสถาบันการศึกษา กับบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ ทั่วไป ISP ที่เป็นหน่วยงานราชการ หรือสถาบันการศึกษา มักจะเป็นการให้บริการฟรีสาหรับสมาชิกของ องค์การเท่านั้น แต่สาหรับ ISPประเภทที่ให้บริการในเชิงพาณิชย์ผู้ใช้ที่ต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตจะต้อง สมัครเข้าเป็นสมาชิกของ ISP รายนั้นๆ ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ซึ่งอัตราค่าบริการ จะขึ้นอยู่กับ ISP แต่ละราย ข้อดีสาหรับผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ก็คือ การให้บริการที่มีหลากหลาย รูปแบบ ซึ่งรองรับกับความต้องการของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน มีทั้งรูปแบบส่วนบุคคล ซึ่งจะให้บริการกับประชาชน ทั่วไปที่ต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ต และบริการในรูปแบบขององค์กร หรือบริษัท ซึ่งให้บริการกับบริษัทห้าง ร้าน หรือองค์กรต่าง ๆ ที่ต้องการให้พนักงานในองค์กรได้ใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ISP จะเป็นเสมือน ตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ถ้าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต้องการข้อมูลอะไรก็สามารถ ติดต่อผ่าน ISP ได้ทุกเวลา
  • 3. --ประวัติความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต-- - อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็น หน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได ้ถูกพัฒนาเรื่อยมา - ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได ้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่ าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร ้อมเปลี่ยนแปลง นโยบายบางอย่าง และในปีค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ได ้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แห่ง เข ้าหากันเป็น ครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยยู ทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความสาเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได ้เปลี่ยนจาก เครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช ้งานจริง ซึ่ง DARPA ได ้โอนหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรง ให ้แก่ หน่วยการ สื่อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทางานที่รับผิดชอบบริหาร เครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช ้กับ Internet ซึ่งเป็นการทางานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น - ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช ้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบ ทาให ้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตุได ้ว่า ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได ้จะต ้องเพิ่ม TCP/IP ลงไป เสมอ เพราะ TCP/IP คือข ้อกาหนดที่ทาให ้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และสื่อสารกันได ้ อย่างถูกต ้อง - การกาหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสร ้างฐานข ้อมูล แบบ กระจาย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให ้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทา ฐานข ้อมูลของตนเอง จึงไม่จาเป็นต ้องมีฐานข ้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข ้อมูล ของเว็บที่ลงท ้าย ด ้วย th ทั้งหมด เป็นต ้น - DARPA ได ้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให ้ มูลนิธิ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข ้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน - ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกาหนดมาตรฐาน ใหม่ต่าง ๆ ผู้ติดสินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได ้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช ้ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ที่ได ้ ทดลองใช ้มาตรฐานเหล่านั้น และจะใช ้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต ้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจายฐานข ้อมูล การจะ เปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก -ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กาลังได ้รับ ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทาให ้ เกิดความรู้ วิธีการประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข ้อมูล การเรียกใช ้ข ้อมูล ตลอดจนการเรียกใช ้ข ้อมูล ด ้วยวิธีการทาง อิเล็คทรอนิคส์ เมื่อเราให ้ความสาคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจาเป็นที่ จะต ้องมีเครื่องมือในการใช ้งานไอที เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสาร โทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช ้งาน หาข ้อมูลข่าวสาร และเข ้าถึงข ้อมูล ได ้ด ้วยเวลาอันรวดเร็ว อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห ้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีข ้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย ให ้เราค ้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถที่จะทราบได ้ทันที จึงนับได ้ว่า อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือ สาคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทั้งในระดับองค์กรและใน ระดับบุคคล
  • 4. เนื่องจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนร่างแหที่แผ่ไปทั่ว จึงมีจุดที่จะ เชื่อมต่อเข้ามาได้มากมายโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่เดิม ซึ่ง ผู้ที่รับการเชื่อมต่อก็จะต้องลงทุนอุปกรณ์เครื่องมือรวมถึงค่าสัมปทาน จากรัฐ (ขึ้นกับกฎหมายของแต่ละประเทศ ) จึงต้องคิดค่าบริการจากคน ที่มาต่อผ่านตามสมควร ผู้ให้บริการเชื่อมต่อนี้ก็คือ ISP นั่นเอง ซึ่งแต่ละ รายก็เก็บค่าบริการไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการเชื่อมต่อและเงื่อนไข บริการแก่คนอื่นๆ ฯลฯหรือบางรายก็ให้บริการฟรีแก่ลูกค้า เช่น สถาบันการศึกษาทาตัวเป็น ISP ให้นักศึกษาในสังกัดใช้อินเทอร์เน็ตฟรี หรือบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น ให้บริการอินเทอร์เน็ตฟรีแก่ลูกค้าที่ใช้ หมายเลขโทรศัพท์ของตน เป็นต้น --อินเทอร์เน็ต เชื่อมต่อกันได้ อย่างไร-- --เราจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร-- •ถ้าต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ก็ต้องมีโมเด็ม (Modem) ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วเอาสายโทรศัพท์มาต่อเข้าไปอีกที หนึ่ง หรือถ้าเป็นโทรศัพท์แบบ ISDN (Integrated Services Digital Network) ก็ต้องใช้โมเด็ม ISDN โดยเฉพาะแทน -ถ้าต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่เรียกว่า ADSL หรือบรอดแบนด์ (broadband) ก็ต้องมีโมเด็มชนิด ADSL ที่ต่อ คอมพิวเตอร์เข้ากับสายโทรศัพท์เช่นเดียวกัน แต่รับส่งสัญญาณในสายคนละแบบ คนละความถี่กัน ทาให้ได้ความเร็ว สูงขึ้นกว่าโมเด็มธรรมดา แต่ต้องมีอุปกรณ์พิเศษที่ชุมสายด้วยจึงจะใช้ได้
  • 5. DNS และ DNS Server โปรโตคอล : กติกาของอินเทอร์เน็ต การทางานต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ก็ต้องมีกติกาที่ทุก เครื่อง ทุกโปรแกรม รับรู้และทาตามเป็นแบบหรือมาตรฐานเดียวกันทั่ว โลก ซึ่งบนอินเทอร์เน็ตมีกติกาเหล่านี้มากมายสาหรับแต่ละเรื่อง เรียกว่า “โปรโตคอล” (Protocol) ที่สาคัญก็มีอาทิเช่น TCP/IP กับ IP Address เป็นกติกาหลักในการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจากโปรแกรมโดก็ต้องแปลงให้อยู่ใน มาตรฐานของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้กติกานี้กาหนดวิธี ขั้นตอนในการรับส่งข้อมูล และตรวจสอบความถูกต้อง อย่างรัดกุม ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้ ก็คือ การเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ต ซึ่งทางเทคนิคเรียกว่า “ที่อยู่ IP” หรือ IP address เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 คั่นด้วยจุด เช่น 202.56.159.90 หรือ 203.107.136.7 เป็นต้อน ซึ่งจะตั้งชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้นับพันล้านเครื่องโดยไม่ซ้ากัน ชื่อโดเมน เนื่องจากผู้ใช้ทั่วไปจะรู้สึกว่า IP address นั้นจายาก จึงมีการคิดระบบ “ชื่อโดเมน” หรือ Domain name ขึ้นมาโดยใช้ ภาษาอังกฤษเป็นคา ๆ ซึ่งสื่อความหมาย นามาเรียงต่อโดยคั่นแต่ละคาด้วยจุด (.) เช่น kapok.com,hunsa.com, manager.co.th หรือ cnn.com เป็นต้น
  • 6. --DNS และ DNS SERVER— DNS server ย่อมาจาก Domain Name System server คือเครื่องบริการแปลงชื่อเว็บเป็นหมายเลข IP ซึ่งการแปลงชื่อนี้ อาจเกิดในเครื่อง local เอง จาก Cache ในเครื่อง local หรือจากเครื่องบริการของผู้ให้บริการเพราะ เบอร์ IP Address เป็น ตัวเลขที่ใช้ไม่ค่อยสะดวกและจายาก ด้วยเหตุนี้จึงมีการคิดระบบตั้งชื่อแบบที่เป็นตัวอักษรให้มีความหมายเพื่อการจดจา ได้ง่ายขึ้น จึงเป็นที่มาของ DNS server DNS ทาหน้าที่คล้ายสมุดโทรศัพท์คือ เมื่อมีคนต้องการจะโทรศัพท์หาใคร คนนั้นก็จะเปิดสมุดโทรศัพท์ดู เพื่อค้นหา หมายเลขโทรศัพท์ของคนที่ต้องการติดต่อ คอมพิวเตอร์ก็เช่นกัน เมื่อต้องการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เครื่องนั้น ก็จะทาการสอบถามหมายเลข IP ของเครื่องที่ต้องการสื่อสารด้วยกับ DNS server ซึ่งจะทาการค้นหาหมายเลขดังกล่าวใน ฐานข้อมูลแล้วแจ้งให้โฮสต์ดังกล่าว ทราบ ระบบ DNS แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 1.Name Resolvers : ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าจุดประสงค์หลักของ DNS คือการแปลงชื่อคอมพิวเตอร์ ให้เป็นหมายเลข IP ในเทอมของ DNS แล้วเครื่องไคลเอนท์ที่ต้องการสอบถามหมายเลข IP จะเรียกว่า "รีโซล์ฟเวอร์ (resolver)" วอฟแวร์ที่ ทาหน้าที่เป็นรีโซล์ฟเวอร์นั้นจะถูกสร้างมากับแอพพลิเคชันหรืออาจจะเป็นไลบรารีที่มีอยู่ในเครื่องไคลเอนท์ 2.Domain Name Space : ฐานข้อมูลระบบ DNS มีโครงสร้างเป็นต้นไม้ซึ่งจะเรียกว่า "โดเมนเนมสเปซ (Domain Name Space)" แต่ละโดเมนจะมีชื่อและสามารถมีโดเมนย่อยหรือซับโดเมน (Subdomain) การเรียกชื่อจะใช้จุด ( .) เป็นตัว แบ่งแยกระหว่างโดเมนหลักและโดเมนย่อย 3.Name Servers : เนมเซิร์ฟเวอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รันโปรแกรมที่จัดการฐานข้อมูลบางส่วนของระบบ DNS เนม เซิร์ฟเวอร์จะตอบกลับการร้องขอทันทีโดยการค้นหาข้อมูลในฐานของมูลตัวเอง หรือจะส่งต่อการร้องขอ ไปยังเนม เซิร์ฟเวอร์อื่น ถ้าเนมเซิร์ฟเวอร์มีเร็คคอร์ดของส่วนของโดเมน แสดงว่า เนมเซิร์ฟเวอร์นั้นเป็นเจ้าของโดเมนนั้น (Authoritative) ถ้าไม่มีก็จะเรียกว่า Non-Authoritative ข้อจากัดของระบบ DNS รับรู้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set) ใน RFC 1035 ระบุว่าสัญลักษณ์ที่ใช้ได้ใน โดเมนเนม คือ 1.ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive) 2.เลข 0 ? 9 3.เครื่องหมายยติภังค์ (-)
  • 7. --เว็บ WEB – --เว็บไซต์ WEBSITE-- เป็นคาเรียกสั้น ๆ ของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งหมายถึงสถานที่ รวมของกลุ่มคอมพิว เตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทาง อินเทอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคาหลายคาที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ใน เรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่ง คอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลก ดู internet, HTML ประกอบ เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อ ประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือ หน่วยงานโดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และ เรียกเว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ (Home Page) หรือ อาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคาว่า เว็บไซต์จะใช้สาหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์ แบบเซิร์ฟเวอร์หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น
  • 8. --HTTP โปรโตคอลของเว็บ-- --HTML ภาษาของเว็บ-- URL (Uniform Resource Locator) HTTP หรือ Hyper Text Transfer Protocol หมายถึง บริการหรือรูปแบบการเชื่อมต่อประเภทหนึ่งใน อินเตอร์เน็ตที่ใช้สาหรับการรับส่งไฮเปอร์เท็กซ์ไฟล์ (ไฟล์ เว็บเพจ) จากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยังคอมพิวเตอร์ ปลายทาง คอมพิวเตอร์ต้นทางเราเรียกว่า HTTP Server หรือ Web Server คอมพิวเตอร์ปลายทาง เรียกว่า HTTP Client หรือ Web Client HTML หรือ Hyper Text Mark up Language หมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ใช้สาหรับสร้างเว็บเพจ ลักษณะเด่นของเอกสาร (หรือเว็บเพจ) ที่เขียนด้วยภาษา HTML คือ สามารถสร้างการเชื่อมโยงหรือลิ้งค์ (link) จาก ข้อความหรือรูปภาพในเอกสารหน้าหนึ่ง ไปยังเอกสารอีก หน้าหนึ่งได้ URL ย่อมาจากคาว่า Uniform Resource Locator คือ ที่อยู่ (Address) ของ ข้อมูลต่างๆในInternet เช่น ที่อยู่ของไฟล์หรือเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ต รูปแบบของ URL จะประกอบด้วย http://www.urlbookmarks.com/support/urlfaq.htm 1. ชื่อโปรโตคอลที่ใช้ (http ซึ่งย่อมาจาก HyperText Transfer Protocol) 2. ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และชื่อเครือข่ายย่อย (www/urlbookmarks) 3. ประเภทของเวบไซต์ (.com) ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท คือเช่น.com (Commercial),.edu (Educational),.org (Organizations),.net (Network) ฯลฯ 4. ไดเร็กทอรี่ (/support/) 5. ชื่อไฟล์และนามสกุล (urlfaq.htm)
  • 9. รู้จักกับ E-mail Electronic mail หรือ E-mail (อีเมล์) เป็นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในแบบเดียวกับ จดหมายทั่วไปคือส่งแล้วข้อมูลที่ส่งนั้นจะไปกองรอไว้เมื่อผู้รับว่างจึงจะเข้ามาเปิดอ่าน โดยไม่ จาเป็นต้องมีการโต้ตอนกันทันทีอีเมล์เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ใช้กันแพร่หลายบนอินเทอร์เน็ตมา นานแล้ว (เน็ตเวิร์กในองค์กรก็อาจมีอีเมล์ภายในใช้เช่นกัน) โปรแกรมที่ใช้รับส่งอีเมล์จะถูกรับ ส่งผ่านเครื่องที่ให้บริการรับส่งเมล์ ซึ่งเรียกว่า “เมล์เซิร์ฟเวอร์” (mail server) ในองค์กรที่มีระบบอีเมล์ใช้เป้ นของตนเอง ผู้ดูแลระบบจะจัดที่อยู่อีเมล์หรือ E-mail address ให้ใช้ เป็นการเฉพาะสาหรับหน่วยงานนั้น ๆ นอกจากนั้นเรายังสามารถขออีเมล์แอดเดรสจาก ISP ที่ใช้ บริการอยู่ได้เช่นกัน หรือขอจากเว็บไซต์ที่ให้บริหารอีเมล์ฟรี เช่น hotmail.com, gmail.com เป็นต้น รูปแบบของ E-mail address ในการส่งอีเมล์นี้ เราจะต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับว่าจะส่งไปที่ชื่อไหน ซึ่งเรียกว่า “ตู้จดหมาย” หรือ mailbox และต่างกันไปตามแต่ละคน แต่จะอยู่ในรูปแบบใกล้เคียงกันคือ ชื่อผู้ใช้@ชื่อโดเมนหรือชื่อ หน่วยงาน ดังตัวอย่างนี้
  • 10. --การรับส่งE-mail-- การรับอีเมล์ เริ่มโดยเชื่อมต่อไปที่เครื่อง เมล์เซิร์ฟเวอร์ขาเข้า (อาจเป็นคนละเครื่องหรือเครื่อง เดียวกับเมล์เซิร์ฟเวอร์ขาออกก็ได้) ซึ่งมีเมล์บ็อกซ์ (mailbox) หรือตู้ไปรษณีย์เพื่อดังอีเมล์ที่มีถึง เข้ามายังเครื่องของเราและอาจลบไฟล์ต้นฉบับบนเซิร์ฟเวอร์นั้นทิ้ง หรือจะเก็บไว้ก่อนก็ได้อีเมล์ ที่ดึงมาแล้วนั้นจะเปิดอ่านหรือแยกเอาไฟล์หรือข้อมูลที่แนบออกมาใช้งานอื่น ๆ ต่อได้เช่นกัน การส่งอีเมล์ เริ่มจากสร้างไฟล์อีเมล์ขึ้นใหม่ แล้วส่งไฟล์นั้นให้กับเครื่องที่เป็น เมล์เซิร์ฟเวอร์ขา ออก ซึ่งจะส่งต่อไปยังผู้รับปลายทางอีกทอดหนึ่ง เราสามารถเขียนข้อความหรือแนบไฟล์ เอกสาร รูปภาพ และข้อมูล มัลติมีเดียแบบต่าง ๆ ไปด้วยก็ได้นอกจากนี้บางโปรแกรมยังจัด หน้าตาเมล์ให้สวยงามและน่าอ่าน โดยใช้ภาษา %HTML แบบเดียวกับเว็บเพจนั่งเอง ในการส่ง อีเมล์นี้ เราอาจส่งไปยังผู้รับคนเดียว หรือจะระบุให้ส่งถึงหลาย ๆ คน โดยเมล์ฉบับเดียวก็ได้เมล์ เซิร์ฟเวอร์ขาออกจะจัดการกระจายให้ทุกคนเอง