SlideShare a Scribd company logo
1 of 79
Company LOGO
หน่วยที่ 1
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมืออานวยความสะดวก
ให้กับการทางานทุก ๆ ด้านในชีวิตประจาวันของมนุษย์ซึ่ง
นอกจากจะช่วยให้การทางานง่ายขึ้น คอมพิวเตอร์ยังสามารถ
สร้างความบันเทิงให้กับผู้ใช้ได้อีกด้วย และสืบเนื่องจาก
อิทธิพลของคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นหนึ่งในหลายเทคโนโลยี
สารสนเทศในปัจจุบัน ทาให้การเรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง
4.1 จุดกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์
แนวคิดที่ถือว่าเป็นจุดกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ก็คือ
“ความต้องการความสะดวกสบายและความรวดเร็วในการทางานของมนุษย์”
โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานด้านการคานวณ
เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้ในงานธุรกิจทุกประเภททุกกระบวนการ
ไม่ว่าจะเป็นงานคานวณ งานเอกสาร งานซื้อ-ขายสินค้า งานสินค้าคงคลัง
งานบัญชี ฯลฯ ด้วยเหตุผลของการแข่งขันทางธุรกิจที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
การทางานจึงต้องดาเนินการอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
4.2 ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มาจากภาษาลาติน คาว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ
หรือการคานวณ
คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทางาน
ภายใต้การควบคุมของชุดคาสั่งที่อยู่ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์เอง ซึ่ง
ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูล (Data) เข้าสู่หน่วยประมวลผลเพื่อทาการคานวณ
และแสดงผลลัพธ์ออกทางอุปกรณ์แสดงผล โดยที่ผลลัพธ์เหล่านี้จัดว่าเป็นข้อมูลที่
ผ่านการประมวลผลและเรียบเรียงแล้ว จะเรียกผลลัพธ์นี้ว่า “สารสนเทศ
(Information)”
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือทางด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมา
เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในการทางานทางด้านการคานวณเป็น
หลัก
4.3 ลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์
ทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ประมวลผลด้วยความเร็วสูง
ทางานด้วยความถูกต้องแม่นยาและเชื่อถือได้
เก็บข้อมูลด้วยจานวนมาก
ย้ายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
ติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องได้
การทางานหลายอย่างได้ในเวลาเดียวกัน
หมายถึง ความสามารถในการประมวลผล (Processing
Speed) ภายในเวลาที่สั้นที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของ
คอมพิวเตอร์ สามารถพิจารณาได้จากความสามารถในการประมวลผลซ้า ๆ
ในช่วงเวลาหนึ่งว่า ความถี่ (Frequency) โดยนับความถี่เป็น จานวน
คาสั่ง หรือ จานวนครั้ง หรือจานวนรอบ ในหนึ่งนาที
(Cycle/Second) และเรียกหน่วยนี้ว่า Hz (Hertz =
Cycle/Second) เช่น หากประมวลผลได้ 10 คาสั่ง
(หรือ 10 ครั้ง หรือ 10 รอบ)ใน 1 วินาที เรียกว่า ความถี่ (ความเร็ว)
10 Hz นั่นเอง
ปัจจุบันมีความเร็วเป็นกิกะเฮิร์ซ (GHz) เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น
Pentium 4 มีความเร็วในการประมวลผล 2.5 GHz เป็นต้น
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ด้านความเร็ว (Speed)
แสดงหน่วยวัดความเร็วในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
หน่วยความเร็ว สัญลักษณ์ ค่าความเร็ว
มิลลิเซคัน (Milisecond)
(หน่วยในพันของวินาที)
ms 1/103 วินาที หรือ 1/1000
ไมโครเซคัน (Microsecond)
(หน่วยในล้านของวินาที)
s 1/106 วินาที หรือ 1/1000000
นาโนเซคัน (Nanosecond)
(หน่วยในพันล้านของวินาที)
ns 1/109 วินาที หรือ
1/1000000000
พิคโคเซคัน (Picosecond)
(หน่วยในล้านล้านของ
วินาที)
ps 1/1012 วินาที หรือ
1/1000000000000
มนุษย์รู้จักวิธีการคานวณ
โดยเริ่มจากการนับนิ้ว
www.themegallery.com
Company
Logo
ยุคก่อนเครื่องจักรกล (Premechanical)
4.4 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของเครื่องมือช่วยนับและการคานวณในยุคก่อนเครื่องจักรกล
แผ่นหินอ่อนซาลามิส (Salamis Tablet)
ประมาณ 300 ปีก่อนคริสตกาล ชาวบาบิลอนได้สร้างเครื่องมือสาหรับช่วยนับเป็นแผ่นกระดานหินอ่อน
ขนาดใหญ่ บนเกาะซาลามิส เพื่อช่วยสาหรับการนับค่าตัวเลขที่มีมากขึ้นและสะดวก
กว่าการเอาแท่งไม้หรือก้อนหินหลายๆก้อนมาใช้ตามแบบวิธีเดิม ๆ
แผ่นหินอ่อนซาลามิส มีความยาว 149 ซม. กว้างประมาณ 75 ซม. และหนา 4.5 ซม.
ตัวแผ่นหินจะมีกลุ่มเส้นบรรทัดเรียงกันเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มมีเส้นบรรทัดลากตั้งฉากแบ่งออกไปกลุ่มของสัญลักษณ์
ตัวเลขจะมีเขียนอยู่ตรงส่วนของขอบแผ่นหินรอบ ๆ ทั้งด้านซ้าย ขวาและด้านล่าง เพื่อเอาไว้ช่วยทาเครื่องหมายในการ
นับตัวเลข
4.4 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ในปี ค.ศ.1200 ) ประเทศจีนมีการคิดค้นเครื่องมือช่วยนับเพื่อให้ง่าย
และรวดเร็วมากขึ้น เรียกว่า “ ลูกคิด (Abacus) ” ซึ่งชาวจีนเรียก
อุปกรณ์ชนิดนี้ว่า “suan-pan” ต่อมาได้มีการนาเอาลูกคิดนี้ไปใช้ใน
เชิงการค้ามากยิ่งขึ้น และแพร่หลายไปยังหลาย ๆ ประเทศ เช่น ญี่ปุ่ น รัสเซีย
และยุโรปในเวลาต่อมา
ลูกคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นมาในแต่ละที่ก็จะมีรูปแบบที่แตกต่างกัน แต่โดยหลักการแล้วก็
คือ เครื่องมือเพื่อเอาไว้สาหรับช่วยในการนับ ทาไดง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ลูกคิดถือว่าเป็นเครื่องมือช่วยในการนับของมนุษย์ที่มีมายาวนานและยังนิยมใช้
กันแพร่หลายมาจนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้
ลูกคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวจีน เรียกว่า suan-pan
ปี ค.ศ. 1612 (บางตาราใช้ค.ศ. 1617)
แท่งคานวณของ เนเปียร์ “ Napier’s Bone ”
John Napier (จอห์น เนเปียร์) นักคณิตศาสตร์ชาวสก๊อตแลนด์ ได้
ประดิษฐ์อุปกรณ์ช่วยคานวณ เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยแท่งไม้ตีเส้นเป็นตาราง
คานวณหลาย ๆ แท่งเอาไว้ใช้สาหรับคานวณ แต่ละแท่งจะมีตัวเลขเขียนกากับไว้
เมื่อต้องการผลลัพธ์ก็จะหยิบแท่งที่ใช้ระบุตัวเลขแต่ละหลักมาอ่านกับแท่งดรรชนี
(index) ที่มีตัวเลข 0-9 ก็จะได้คาตอบ
John Napier
เครื่องมือช่วยนับที่เรียกว่า Napier’s bone
ปี ค.ศ. 1622 (บางตาราใช้ 1630)
John William Augrred (จอห์น วิลเลี่ยม ออดเทรด)
ได้นาเอกหลักการของเนเปียร์มาพัฒนาเครื่องมือที่เรียกว่า ไม้
บรรทัดคานวณ สไลด์รูล (Slide Rule) ขึ้น โดยนาค่าต่างๆ มาเขียน
ไว้บนแท่งไม้สองอัน เมื่อใดที่นามาเลื่อนต่อกันก็จะสามารถหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ที่
ต้องการได้ ตัวเลขหรือค่าที่เอามาเขียนนั้นจะกาหนดเป็นอัตราส่วนระยะทาง
(log scale) ซึ่งสามารถวัดหรือหาค่าได้โดยง่าย นับได้ว่าไม้บรรทัด
คานวณนี้เป็นต้นแบบของการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกที่อาศัย
หลักการวัดซึ่งนิยมใช้กันในเวลาต่อมานั่นเอง
ไม้บรรทัดคานวณยังมีให้เห็นและใช้กันอยู่จนถึง
ปัจจุบัน ซึ่งได้มีการผลิตให้มีขนาดเล็กลงและใช้งานได้ง่าย โดยมีการเปลี่ยนวัสดุ
ที่ใช้ผลิตจากแผ่นไม้มาเป็นแผ่นเหล็กและพลาสติกมากยิ่งขึ้น
John William Oughtred
ผู้คิดค้นไม้บรรทัดคานวณหรือ Slide Rule
ที่มีใช้กันมาถึงปัจจุบัน
ยุคเครื่องจักรกล (Mechanical)
วิวัฒนาการของเครื่องมือคานวณในยุคเครื่องจักรกล
(Mechanical)
นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock)
ในปี ค.ศ.1623 วิลเฮล์ม ชิคการ์ด (Wilhelm
Schickard) แห่งมหาวิทยาลัยเทอร์บิงเจน (University
of Tubingen) ประเทศเยอรมันนีได้สร้างนาฬิกาคานวณขึ้น โดยใช้
แนวคิดของเนเปียร์มาประยุกต์ใช้
วิธีการทางานของเครื่องอาศัยตัวเลขต่าง ๆ บรรจุ
บนทรงกระบอกจานวน 6 ชุด แล้วใช้ฟันเฟืองเป็นเครื่องหมุนทดเวลาคูณเลข
ซึ่งถือได้ว่าเขาเป็นผู้ที่ประดิษฐ์เครื่องกลไกสาหรับคานวณได้เป็นคนแรก
นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock)
Wilhelm Schickard (วิลเฮล์ม ชิคการ์ด)
กับนาฬิกาคานวณที่เขาประดิษฐ์ขึ้น
ปี ค.ศ. 1642
นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อ “ Blaise Pascal ”
(เบลส์ ปาสคาล) ได้สร้างเครื่องมือช่วยบวกเลข เรียกว่า เครื่องคานวณของ
ปาสคาล (Pascaline Calcutator) ขึ้น โดยมีลักษณะเป็น
กล่องสี่เหลี่ยม หลักการคานวณอาศัยการหมุนของฟันเฟืองหนึ่งอัน หากถูกหมุน
ครบ 1 รอบ ฟันเฟืองอีกอันหนึ่งทางด้านซ้ายจะถูกหมุนไปด้วยในเศษ 1 ส่วน
10 รอบ เช่นเดียวกันกับการทดเลข สาหรับผกลการคานวณจะดูได้ที่ช่อง
ด้านบน เครื่องมือนี้สามารถใช้ได้ดีในการคานวณบวกและลบเท่านั้น ส่วนการคูณ
และหารยังไม่ดีเท่าไรนัก
Blaise Pascal (เบลส์ ปาลคาล)
เครื่องคานวณของปาสคาล
(Pascaline Calculator)
เครื่องคานวณของไลบ์นิซ (Leibniz Wheel)
ในปี ค.ศ. 1674 กอตต์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ (Gottfried
Wilhelm Leibniz) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทาการ
ปรับปรุงเครื่องคานวณของปาสคาลให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเดิม โดยมีการ
ปรับฟันเฟืองเสียใหม่ให้มีความสามารถคูณและหารได้ด้วยโดยตรง
เครื่องชนิดนี้เรียกว่า เครื่องคานวณของไลบ์นิซ
(Leibniz Wheel) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ Stepped
Reckoner
ปี ค.ศ. 1801 (บางตาราใช้ 1673)
นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ “ Joseph Marie Jacquard ”
(โจเซฟ มารี แจคการ์ด) ได้พยายามพัฒนาเครื่องทอผ้าให้สามารถควบคุมลวดลาย
หรือแบบต่าง ๆ ที่ต้องการได้เองอัตโนมัติ เพื่อให้ผู้ที่ไม่มีความชานาญในการทอผ้า
สามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย
เครื่องชนิดนี้เรียกว่า เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด
(Jacquard’ loom) โดยเพียงแต่นาเอาตัวบัตรเจาะรู
(Punched Card) ที่เป็นแม่แบบของลวดลายผ้าใส่เข้าไปในตัวนี้ การ
ทอหรือยกลายตามแม่แบบชุดคาสั่ง (รูที่เจาะไว้บนบัตร) ก็จะทาได้เองอัตโนมัติ ซึ่ง
เป็นแนวคิดที่ก่อให้เกิดการสร้างคอมพิวเตอร์ให้ทานได้ตามชุดคาสั่งในเวลาต่อมา
โจเซฟ มารี แจกการ ์ด(Joseph Marie
Jacquard)
เครื่องทอผ้าที่ประยุกต์ใช้บัตรเจาะรูมาควบคุมลวดลายของผ้า
เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด(Jacquard’ loom)
บัตรเจาะรู Punched Card
ปี ค.ศ. 1822
เครื่อง Different Engine
ปี ค.ศ.1822 ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage
) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษแห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เป็นบุคคลที่ได้พยายาม
เสนอแนวคิดให้เครื่องจักรกลสามารถทางานได้ตามคาสั่งและเกิดผลลัพธ์
ข้อผิดพลาดน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการคานวณในงานที่ซ้าซ้อนมาก ๆ
ซึ่งเมื่อคานวณผลลัพธ์ผิดพลาดก็อาจส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างมากได้ อีกทั้ง
ยังเป็นการสร้างความน่าเบื่อหน่ายในการทางานด้วย เพราะต้องกลับมานั่ง
คานวณหาค่าผลลัพธ์นั้นใหม่อีกรอบ เขาจึงได้เสนอแนวคิดการสร้างเครื่อง
คานวณต้นแบบที่เรียกว่า Difference Engine เพื่อขอรับเงิน
สนับสนุนไปยังสมาคมดาราศาสตร์ ซึ่งทางสมาคมก็เห็นด้วยกับแนวคิดที่เขา
เสนอ จึงอนุมัติโครงการดังกล่าว และได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลอังกฤษเมื่อปี
ค.ศ. 1823
การพัฒนาเครื่อง Different Engine ใช่ว่าจะเสร็จโดยสมบูรณ
เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดของการทางานภายในตัวเครื่องอยู่อีกมาก ประกอบกับ
เทคโนโลยีของอุปกรณ์การผลิตในสมัยนั้นยังไม่ดีพอที่จะผลิตตามแบบที่แบบเบจ
เสนอไว้ได้ แนวคิดดังกล่าวจึงถูกพักไว้และถูกยกเลิกไปในที่สุด เนื่องจากไม่
เป็นไปตามที่คาดหวัง เครื่อง Different Engine ที่ผลิตออกมา
นั้นจึงทางานได้เพียงแค่บางส่วนเท่านั้น
Charles Babbage
เครื่อง Difference Engine
เครื่อง Analytical Engine
www.themegallery.com
Company
Logo
ปี ค.ศ. 1843
Augusta Ada Byron (เลดี้ออกุสตา เอด้า ไบรอน) หรือ
Ada Lovelace เป็นผู้ที่เข้าใจแนวคิด Analytical
Engine ของBabbage และนามาปรับปรุงให้ใช้เลขฐานสองแทน
ฐานสิบ และเขียนโปรแกรมโดย ใช้บัตรเจาะรู เธอได้รับยกย่องว่าเป็น
“โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก” และได้มีการตั้งชื่อเป็นภาษาเขียนโปรแกรม
“Ada” เพื่อเป็นเกียรติแก่เธอ
www.themegallery.com
ปี ค.ศ. 1880
Dr. Herman Hoolerith (ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ)ได้
พัฒนาเครื่องประมวลผลข้อมูล ที่สามารถอ่านข้อมูลสามะโนประชากรจาก
บัตรเจาะรูได้ นอกจากนี้ยังพัฒนากล่องเรียงลาดับข้อมูลและเครื่องจาแนกข้อมูล
สามะโนประชากรสามารถทาได้ภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี (จากเดิมที่เคยใช้
เวลานานถึง 7 ปี)
 ต่อมา Dr. Hollerith ได้ก่อตั้งบริษัท IBM
(International Business Machines
Corporation) ขึ้น และได้พัฒนากลไกทางานของแผงควบคุมและ
บัตรเจาะรูที่ใช้ประมวลผลข้อมูลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จนได้รับความนิยม
จนกระทั่งปลายปี 1950 เรียกบัตรนี้ว่า “ Hollerith’s
Punched Card ” หรือ “ IBM 80-Column
Punched Card ”
www.themegallery.com
Company
Logo
ปี ค.ศ. 1942
John Atanasoff (จอห์น อทานาโซฟ) แห่ง
lowa State University ได้สร้างอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอล
คอมพิวเตอร์ ซึ่งทางานโดยใช้หลอดสุญญากาศในการปฏิบัติการคานวณ
และตั้งชื่อว่า “ ABC (Atanasoff-Berry
Computer) ”
ปี ค.ศ. 1944
Harward Aiken (ศาสตราจารย์โอเวิร์ด ไอด์เคน) แห่ง
Harvard University ได้พัฒนาเครื่องดิจิตอลคอมพิวเตอร์
กึ่งกลไกกึ่งไฟฟ้าขนาดใหญ่เครื่องแรกชื่อว่า “Aiken’s
Automatic Sequence Controlled
Calculator (ASCC)”หรือเรียกสั้น ๆว่าเครื่อง “Mark I ”
โดยใช้แนวความคิดหลาย ๆ อย่างของ Babbage แต่ใช้ไฟฟ้าแทน
เครื่องกล และใช้แนวความคิดที่ IBM พัฒนาเครื่องคานวณบัตรเจาะรูในช่วง
ทศวรรษ 1930 มาเป็นพื้นฐานด้านการคานวณ
ปี ค.ศ. 1946
Dr.John W. Mauchy และ J. Presper
Eckert Jr. (จอห์น มอชีและเปรสเปอรเอคเคิร์ท ) ได้พัฒนาเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่สามารถปฏิบัติการได้เป็นเครื่องแรก ชื่อว่า “ ENIAC
(Electronic Numerical Integrator and
Calculator) ” ทางานด้วยหลอดสุญญากาศมากกว่า 18,000
หลอด ENIAC ถูกใช้ในกองทัพอเมริกาเพื่อคานวณวิถีกระสุนปืนใหญ่
อย่างไรก็ตาม ENIAC ไม่สามารถจัดเก็บโปรแกรมและใช้ระบบทศนิยมได้
การทางานถูกควบคุมจากแผงควบคุมภายนอก ซึ่งจะต้องเปลี่ยนแปลงใหม่ทุก
ครั้งที่มีการคานวณชุดใหม่
ปี ค.ศ. 1949
John Von Neumann (จอห์น วอน นอยแมน) ได้เสนอ
แนวคิดเพื่อปรับปรุง ENIAC ให้สามารถเก็บโปรแกรมไว้ภายในเครื่อง
เป็นครั้งแรก ซึ่งพัฒนาเป็นเครื่อง “ EDVAC (Electronic
Discrete Variable Automatic
Computer) ” ในปี 1952
ปี ค.ศ. 1952
John Mauchy และ J.P. Eckert ได้พัฒนาเครื่อง
คอมพิวเตอร์อีกครั้ง ชื่อว่า “UNIVAC Universal
Automatic Computer” เป็นเครื่องที่สามารถบันทึกข้อมูล
ลงบนเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) ได้เป็นเครื่องแรก
4.5 ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 (First Generation:ค.ศ. 1940 - 1953)
วัสดุที่ใช้ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) และวงจรไฟฟ้า
ขนาด เนื่องจากใช้หลอดสุญญากาศจานวนมาก ตัวเครื่อง
คอมพิวเตอร์จึงมีขนาดใหญ่
ความเร็วในการทางาน เป็นวินาที
ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง (Machine Language)
สื่อที่ใช้ บัตรเจาะรู (Punched Language) และเทปกระดาษ (Paper
Tape)
การเก็บรักษา ต้องติดตั้งในห้องปรับอากาศตลอดเวลา เนื่องจากระหว่าง
การทางานมีความร้อนสูง
ตัวอย่างเครื่อง IBM 650, IBM 701
ตัวอย่างเครื่อง IBM 650 1
www.themegallery.com
ยุคที่ 2 (Second Generation :
ค.ศ. 1953 - 1963)
วัสดุที่ใช้ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) มีแกนแม่เหล็ก (Magnetic Core)
เป็นหน่วยความจาหลักภายในเครื่อง
ขนาด เนื่องจากใช้ Transistor ตัวเครื่องจึงมีขนาดเล็กลง ราคาถูก
กว่าเดิม
ความเร็วในการ
ทางาน
เป็น Millisecond (1/1000 วินาที)
ภาษาคอมพิวเตอร์ FORTRAN (1956) , ALGOL (1958) , COBOL (1959)
สื่อที่ใช้ บัตรเจาะรู และเทปแม่เหล็ก
การเก็บรักษา ต้องติดตั้งในห้องปรับอากาศ
ตัวอย่างเครื่อง IBM 7000-Series และ IBM 1400-series
www.themegallery.com
ตัวอย่างเครื่อง IBM 1401
ยุคที่ 3 (Third Generation : ค.ศ. 1963 - 1972)
วัสดุที่ใช้ แผงวงจรรวม (Integrated Circuit : IC) เทียบเท่า Transistor หลาย
ร้อยตัว แกนแม่เหล็กถูกแทนที่ด้วยเซมิคอนดักเตอร์
(Semiconductor)
ขนาด เล็ก ใช้พลังงานน้อย ความร้อนลดลง
ความเร็วในการทางาน เป็น Microsecond (1/106 วินาที)
ภาษาคอมพิวเตอร์ COBOL , PL/I นอกจากนี้IBM’ OS ยังได้ถูกพัฒนาขึ้นอีกด้วย
สื่อที่ใช้ จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) ได้รับความนิยมแทนที่บัตรเจาะรูและเทป
แม่เหล็ก
การเก็บรักษา ต้องติดตั้งในห้องปรับอากาศ
ตัวอย่างเครื่อง IBM 360 , IBM 370
ตัวอย่างเครื่อง IBM 360
ยุคที่ 4 (Fourth Generation :
ค.ศ. 1972 - 1984)
วัสดุที่ใช้ แผงวงจร VLSI (Very-Large-Scale Integration) ทาให้มี
เครื่อง Minicomputer, Microcomputer หรือเครื่อง
ขนาดเล็กเกิดขึ้น พัฒนาต่อมาเป็น Microprocessor
โดยใช้ Chip เป็นวัสดุ
ขนาด ตั้งโต๊ะ
ความเร็วในการทางาน เป็น Nanosecond (1/109 วินาที)
ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูง เช่น Pascal , C , Basic นอกจากนี้
ระบบปฏิบัติการ UNIX ยังได้ถูกพัฒนาขึ้นด้วย
สื่อที่ใช้ เทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็ก
การเก็บรักษา ไม่จาเป็นต้องติดตั้งในห้องปรับอากาศก็ได้
ตัวอย่างเครื่อง IBM 370 , IBM PC (XT AT)
www.themegallery.com
ยุคที่ 5 (Fifth Generation : 1984 - 1900)
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ถูกสร้างขึ้นมาให้มีขนาดเล็กลง มีประสิทธิภาพสูง สามารถ
เชื่อมต่อกันได้ทั่วโลกด้วยเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และยังเป็นยุคที่มีการพัฒนา
รูปแบบการโต้ตอบและการแสดงผลทางจอภาพคอมพิวเตอร์ให้ใช้งานง่ายขึ้น
ด้วยรูปแบบ GUI (Graphic User Interface)
กลางปี ค.ศ. 1990 ความนิยมในการนาเครือข่ายอินทราเน็ต
(Intranet) และอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรมากขึ้นทาให้ในด้าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area
Network: LAN) และเครือข่ายระยะไกล (Wide Area
Network: WAN) ขึ้นมาใช้งานอย่างรวดเร็ว เครื่องคอมพิวเตอร์
ส่วนบุคคลจึงสามารถเชื่อมโยงกันและสื่อสารถึงกันได้ทั่วโลก และจากเครื่อง
คอมพิวเตอร์ก็มีการพัฒนาให้กลายเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดพกพาไปตาม
สถานที่ต่าง ๆ ได้ เช่น โน้ตบุ๊ค เป็ นต้น
ยุคปัจจุบัน (ค.ศ. 1900 – อนาคต)
มีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยจัดการงานในด้านต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นงาน ด้านบริหาร การตัดสินใจ ทาให้เกิดระบบใหม่ ๆขึ้นมากมาย
เช่น ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support
System : DSS) ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office
Automation)
นอกจากนี้ยังพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถเลียนแบบกระบวนการคิด
ของมนุษย์ เรียกว่า “ ปัญญาประดิษฐ์(Artificial
Intelligent: AI) ” ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert
System) ตลอดจนการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural
Language Processing: NLP)ที่จะทาให้คอมพิวเตอร์
โต้ตอบกับมนุษย์ด้วยเสียงได้
www.themegallery.com
Company
Logo
4.6 ประเภทของคอมพิวเตอร์
4.6.1 จาแนกตามวัตถุประสงค์การใช้งาน
1. คอมพิวเตอร์ใช้งานทั่วไป เป็นคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ได้กับงานหลายประเภท
ไม่ว่าจะเป็นงานเอกสาร คานวณ หรืองานกราฟฟิก ได้แก่
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
2. คอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะ เป็นคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อประยุกต์ใช้งานกับ
งานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านการแพทย์ การทหาร กรมอุตุนิยมวิทยา เป็นต้น
www.themegallery.com
Company
Logo
4.6.2 จาแนกตามลักษณะของข้อมูล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. Analog Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่รับข้อมูลที่มีค่าไม่
ต่อเนื่องกัน จึงใช้หลักการวัดค่าที่รับเข้ามาแล้วแสดงออกทางหน้าปัด เช่น
คลื่นสมอง อุณหภูมิ ความดัน เป็นต้น
2. Digital Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่รับข้อมูลที่มีความ
ต่อเนื่องกันในลักษณะของตัวเลข จึงใช้หลักการนับในการรับข้อมูลดังกล่าวแล้ว
แสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ คอมพิวเตอร์ชนิดนี้มีความแม่นยามากกว่า
Analog Computer และจะต้องอาศัย “ สื่อบันทึกข้อมูล ”
ในการจัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเป็นแบบ Digital
Computer
3. Hybrid Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่นาลักษณะการ
ทางานของคอมพิวเตอร์ทั้ง 2 ชนิดข้างต้นมารวมกันทาให้สามารถใช้กับงาน
หลายลักษณะ
4.6.3 จาแนกตามขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1. Supercomputer เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มี
ความเร็วในการประมวลผลสูงสุด (ประมาณ 100 ล้านคาสั่งต่อวินาที) มี
ราคาแพงมาก เนื่องจากประสิทธิภาพของ Chip ที่ใช้ประมวลสูงสุด นิยมใช้
ในหน่วยงานสาคัญและเหมาะกับงานที่ต้องการความละเอียด ถูกต้องแม่นยาใน
การคานวณสูง งานที่ต้องการมีการวิเคราะห์ที่ซับซ้อน เช่น งานพยากรณ์อากาศ
งานวิทยาศาสตร์ งานวิจัยพลังงานนิวเคลียร์ งานทางด้านทหาร ฯลฯ
2. Mainframe Computer
เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่รองลงมาจาก Supercomputer
มีความเร็วในการประมวลผลสูง (ประมาณ 10 ล้านคาสั่งต่อวินาที)
เหมาะสมกับองค์กรขนาดใหญ่ ที่มีการทางานเข้าสู่ศูนย์กลาง และกระจายไปยัง
สาขาต่าง ๆ เป็นเครือข่าย มีผู้ใช้ระบบพร้อมกันหลายคน เช่น งานธนาคาร
งานสามะโนประชากรของรัฐบาล งานสายการบิน งานประกันชีวิต งานโรงงานที่
มีการใช้ระบบ ERP เป็นต้น ลักษณะการนาไปใช้งานจึงมีวัตถุประสงค์
แตกต่างจาก Supercomputer และเช่นเดียวกับ
Supercomputer ปัจจุบัน Mainframe
Computer มีขนาดลดลงมาก แต่ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
3. Minicomputer
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง มีความเร็วในการประมวลผลสูง เหมาะกับ
องค์กรขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ที่มีการทางานเป็นระบบเครือข่ายแบบ
Client/Server มีผู้ใช้งานระบบพร้อมกันหลายคน มีข้อมูลจานวน
มาก เช่น Minicomputer รุ่น PDP ที่ผลิตโดยบริษัท
Digital Equipment Corporation
4. Microcomputer หรือ Personal Computer (PC)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้สะดวก เหมาะสาหรับผู้ใช้คน
เดียว (Stand-alone) หรือใช้เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอื่น ๆ ได้
โดยเฉพาะเครือข่าย LAN และ Internet เพื่อสื่อสารกับคนทั่วโลก
เครื่อง PC เหมาะสาหรับใช้งานทั่วไป เช่น งานเอกสาร งานคานวณ งานบัญชี
เป็นต้น
www.themegallery.com
ปัจจุบันมีการพัฒนารูปลักษณ์ของ PC แตกต่างกันไปหลายแบบ เพื่อให้
เหมาะสมกับการนาไปใช้งาน เช่น ตั้งโต๊ะ วางบนตัก หรือสามารถหิ้วได้ มีขนาด
เท่าฝ่ ามือ เป็นต้น ลักษณะที่แตกต่างกันเกิดจากการจาแนกตาม “ เคส
(Case) ” ซึ่งมาจาคาว่า “ Chassis ” หมายถึง โครงโลหะ
สาหรับประกอบชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เช่น
 Desktop เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล สามารถตั้งบนโต๊ะทางานได้
แต่จะมีการแยกชิ้นส่วนบางอย่าง ได้แก่ จอภาพ กล่อง Case ลาโพง
คีย์บอร์ด
แล็ปท้อป (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด
แล็ก สามารถหิ้วไปสถานที่ต่าง ๆ ได้ น้าหนักเบา
คีย์บอร์ดจะติดกับจอภาพรวมทั้งเมาส์ด้วย
โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
มีขนาดเล็กเช่นเดียวกับ Laptop แต่ตัวเครื่องจะบางและเบากว่า
Laptop
Tablet (Tablet Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี
ขนาดเล็กเท่าแผ่นป้าย น้าหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก สามารถป้อนข้อมูลทาง
จอภาพได้ด้วยปากกาชนิดพิเศษ
www.themegallery.com
Company
Logo
 Handheld (Handheld Computer) เป็น
คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คือมีขนาดเท่ากับฝ่ ามือ คีย์บอร์ดและหน้าจอมีขนาด
เล็ก บางรุ่นใช้ปากกาพิเศษป้อนข้อมูลทางจอภาพ คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ถูก
ออกแบบมาให้ใช้จัดการสารสนเทศส่วนบุคคล เช่น จัดตารางเวลานัดหมาย
ปฏิทินนัดหมาย สมุดโทรศัพท์ สมุดบันทึก รับส่งอีเมล์ เป็นต้น ปัจจุบันรู้จัก
กันในนาม “ Palmtop ” และ “ PDA ”
4.7 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก ได้แก่ หน่วยรับข้อมูล
(Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central
Processing Unit) หน่วยแสดงผลข้อมูล
(Output Unit) และหน่วยความจา (Memory Unit)
แสดงอุปกรณ์ของ Input Unit
4.7.2 หน่วยประมวลผลกลาง
(Central Processing Unit: CPU)
เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่ในการประมวลผลคาสั่ง และควบคุมการทางานทั้งหมด
ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งหน่วยนี้ถือว่าเป็นหัวใจของระบบคอมพิวเตอร์ โดย
คอมพิวเตอร์จะสามารถทางานได้ถูกต้องและรวดเร็วเพียงไร ขึ้นอยู่กับ CPU
ทั้งสิ้น คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น Mainframe หรือ
Supercomputer จะเรียก CPU ว่า “ Processor
” และบางครั้งจะใช้ Processor ร่วมกันหลาย ๆ ตัว เพื่อให้สามารถ
ประมวลผลการทางานได้รวดเร็วขึ้น สาหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น PC
จะมี CPU เพียงหนึ่งตัว (Single Chip) เรียกว่า “
Microprocessor ”
CPU จะมีลักษณะเป็น Chip หรือแผงวงจรที่ประกอบไปด้วย
Transistor และอุปกรณ์อื่น ๆ รวมอยู่จานวนมาก
www.themegallery.com
CPU
CPU ประกอบไปด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยควบคุม
(Control Unit) และหน่วยคานวณ/ตรรกะ (Arithmetic
/ Logical: ALU)
 หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของหน่วยอื่น ๆ ทั้งหมด
คอยจัดการเวลาการประมวลผลตามคาสั่งที่รับเข้ามาเป็นจังหวะตามสัญญาณนาฬิกา
 หน่วยคานวณ/ตรรกะ (Arithmetic / Logical: ALU) ทาหน้าที่ประมวลผล
คาสั่งด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก (+) ลบ (-) คูณ () หาร(/) เป็นต้น
และเปรียบเทียบค่าของข้อมูล เช่น มากกว่า (>) น้อยกว่า (<) มากกว่าหรือเท่ากับ (≥)
เป็นต้น
4.7.3 หน่วยความจา (Memory Unit)
ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลที่รับเข้ามา เพื่อส่งต่อไปยัง CPU และเมื่อ CPU
ประมวลผลเรียบร้อยแล้ว จะส่งผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจา เพื่อนาไป
แสดงผลออกทางหน่วยแสดงผลหรือจัดเก็บลงหน่วยความจาสารองต่อไป
หน่วยความจา ถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ หน่วยความจาหลัก
(Primary Storage / Primary Memory)
และหน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
หน่วยความจาหลัก (Primary Storage / Primary
Memory) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคาสั่งที่รับเข้ามาทาง Input
Unit เพื่อรอให้ CPU เข้าถึงข้อมูลหรือคาสั่งนั้น (ข้อมูลหรือคาสั่งอยู่ใน
รูปของเลขฐานสอง) จากนั้นจะทาการคัดลอกมาเพื่อประมวลผล หากมีการ
คานวณจะถูกส่งไปยัง ALU แล้วส่งผลลัพธ์กลับมาพักไว้ที่หน่วยความจาอีก
ครั้ง เพื่อรอคาสั่งแสดงผลลัพธ์ต่อไป ลักษณะดังกล่าวเรียกว่า 1 รอบการ
ปฏิบัติการ หน่วยความจาหลัก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ROM และ
RAM
www.themegallery.com
ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่ไม่
สามารถลบทิ้งได้ (Nonvolatile Memory) ทาได้เพียงดึง
ข้อมูลมาใช้เท่านั้น และข้อมูลนั้นยังถูกเก็บอยู่ได้โดยไม่ต้องมีไฟฟ้าไปเลี้ยง
(ข้อมูลจะไม่หายแม้ไฟจะดับก็ตาม)
โดยปกติ ROM จะถูกบันทึกชุดคาสั่งการทางานเหล่านี้มาจาก
โรงงานของผู้ผลิตแล้ว (เรียกว่า “ Firmware ”) และผู้ใช้ไม่สามารถ
ลบชุดคาสั่งนี้ออกได้ อย่างไรก็ตาม หากต้องการลบจะต้องผ่านกระบวนการพิเศษ
www.themegallery.com
Company
Logo
RAM (Random Access Memory) เป็น
หน่วยความจาที่ใช้เก็บข้อมูลหรือชุดคาสั่งจากโปรแกรมในระหว่างที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์กาลังทางาน RAM เป็นหน่วยความจาชั่วคราว (Volatile
Memory) ดังนั้น เมื่อไม่มีกระแสไฟหรือเมื่อปิดเครื่อง ข้อมูลที่อยู่ใน
RAM จะหายไป
www.themegallery.com
Company
Logo
หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
เป็นหน่วยความจาเสริมที่มีหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลที่นาเข้าผ่าน Input
Unit หรือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว โดยจัดเก็บให้อยู่ในรูปของไฟล์
(File) เพื่อให้สามารถเรียกใช้งานได้ในครั้งต่อไป หน่วยจัดเก็บข้อมูลนี้เมื่อ
ไม่มีไฟเลี้ยงก็ยังสามารถเก็บข้อมูลไว้ได้โดยที่ข้อมูลไม่หาย และสามารถจัดเก็บ
ข้อมูลได้มากกว่าหน่วยความจาหลายเท่า ตัวอย่างหน่วยจัดเก็บข้อมูล เช่น
ฮาร ์ดดิสก์(Hard Disk)
ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk)
เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เป็นต้น
www.themegallery.com
Company
Logo
4.7.4 หน่วยแสดงผล (Output Unit)
 ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของ CPU โดยต้อง
แปลงข้อมูลดิจิตอลที่ได้จากการประมวลผลเป็นข้อมูลที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้
และก่อนที่จะนาข้อมูลซึ่งได้รับการประมวลผลแล้วไปแสดงผล จะต้องผ่าน
หน่วยความจาหลักเช่นเดียวกับหน่วยนาเข้าข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น จอภาพ
(Monitor) ลาโพง (Speaker) และเครื่องพิมพ์
(Printer) เป็นต้น
4.8 ปัจจัยร่วมในการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานเองได้ หากไม่มีผู้ใช้ที่ทาหน้าที่เปิดเครื่อง
และสั่งงานต่าง ๆ ผ่าน Input Unit แต่ถึงแม้ว่าจะมีผู้ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์แล้วก็ตาม หากไม่มี Software Computer
ควบคุมการทางาน เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทางานเองได้เช่นกัน ดังนั้น
จึงกล่าวได้ว่าปัจจัยร่วมในการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์นั้นประกอบไปด้วย
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) และ ซอฟต์แวร์
(Software) และบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Peopleware)
www.themegallery.com
Company
Logo
(Hardware)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่
ใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอุปกรณ์ต่อพ่วงชนิดต่าง ๆ จาแนกตาม
ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้แก่
Input Unit
Central Processing Unit
Output Unit
Memory Unit
www.themegallery.com
Company
Logo
ซอฟต์แวร์ (Software)
เป็นชุดคาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามคาสั่ง บางครั้ง
เรียกว่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่
ซอฟต์แวร ์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร ์ประยุกต์ (Application
Software)
www.themegallery.com
Company
Logo
Peopleware บุคลากรคอมพิวเตอร์ หมายถึง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้
งาน การดูแลและควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ อาจเป็นบุคคลเดียวหรือกล่มบุคคล
ตามการจัดแบ่งโครงสร้างขององค์กร บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์ แบ่งได้
เป็น
- ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User)
- ผู้ดูแลและซ่อมบารุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Technician)
- โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
- นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis)
- ผู้บริหารระบบ (System Administrator)
www.themegallery.com
Company
Logo
4.9 รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
4.9.1 การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal
Computing) คือ การใช้งานคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเพื่อ
ทางานต่าง ๆ ตามที่ต้องการ โดยไม่มีการใช้โปรแกรมร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์
อื่น หรือไม่มีการติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นเลย
4.9.2 การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized
Computing) เป็นระบบที่รวมการทางานทุกอย่างไว้ที่คอมพิวเตอร์
เพียงเครื่องเดียว
การประมวลผลประเภทนี้จะมีข้อเสียคือ หากมี
ข้อมูลจานวนมาก การประมวลผลจะช้าลง เนื่องจากมีเพียงเครื่องแม่ข่ายเท่านั้นที่
ทาการประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลทุกส่วนนั่นเอง จึงได้มีการแก้ปัญหาด้วยการ
ประมวลผลแบบกระจาย
www.themegallery.com
แสดงการเชื่อมต่อของการประมวลผลแบบรวมศูนย์
4.9.3 การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed
Computing)
จากข้อจากัดของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคือ ไม่สามารถตอบสนองความ
ต้องการของผู้ใช้ภายในองค์กรได้อย่างทั่วถึง และข้อจากัดของการประมวลผล
แบบรวมศูนย์ที่ค่อนข้างล่าช้า ดังนั้นจึงต้องมีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อกระจาย
และแจกจ่ายการใช้งานข้อมูลและทรัพยากรต่าง ๆ ให้สามารถใช้ร่วมกันได้ให้ทั่ว
ทั้งองค์กรและระหว่างหน่วยงานย่อยขององค์กร เช่น ฐานข้อมูล ข่าวสาร เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องโทรสาร และเครื่องสแกนเนอร์ เป็นต้น
นอกจากนี้การกระจายข้อมูลและทรัพยากรต่าง ๆ ทาให้การประมวลผลมีความ
รวดเร็วมากขึ้น
www.themegallery.com
Company
Logo
การเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย Client / Server
www.themegallery.com
การเชื่อมโยงกับอินเตอร์เน็ตด้วย Web Server
ข้อจากัดของคอมพิวเตอร์
 การวางระบบคอมพิวเตอร์ต้องใช้เวลานานมาก การที่หน่วยงานใดตัดสินใจ
นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ต้องวางระบบงานเสียก่อน ว่าจะนาคอมพิวเตอร์มาช่วย
ในการทางานด้านใด แล้วยังจะต้องมีการเรียนโปรแกรมคาสั่ง เพื่อสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งขั้นตอนในการวางระบบงาน
จาเป็นต้องใช้เวลาพอสมควร
การรบกวนระบบงานปกติ เมื่อมีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในหน่วยงานที่ไม่เคยใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์มาก่อน แน่นอนว่าต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบงานเดิม เช่น
การเปลี่ยนวิธีการทางาน หรือคุณสมบัติของพนักงาน โดยการส่งพนักงานไป
ฝึกอบรม การใช้งานคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบต่อ
จิตใจของพนักงาน และอาจสร้างความไม่พอใจ และก่อให้เกิดความวุ่นวายหลาก
ประการขึ้นได้ ในระยะแรก ๆ ที่ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับระบบงานใหม่
Company
Logo
การทางานขึ้นอยู่กับมนุษย์ คอมพิวเตอร์เป็นได้แค่เครื่องมือช่วยมนุษย์ในการ
ทางาน ทั้งนี้เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีความคิดเป็นของตัวเอง และทางาน
ได้รับคาสั่งจากมนุษย์เท่านั้น ไม่ว่างานที่สั่งให้ทาจะถูกหรือผิด เครื่อง
คอมพิวเตอร์ไม่รู้จักคิดหรือปรับปรุงวิธีการทางานให้ดีขึ้น
คอมพิวเตอร์มีความหมายว่าอย่างไร จงอธิบาย
คอมพิวเตอร์มีลักษณะที่สาคัญอย่างไรบ้าง
จงบอกประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์โดยละเอียด
เราสามารถแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ได้จากเกณฑ์อะไรบ้าง และแต่ละเกณฑ์
มีกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย
ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง จงอธิบาย
Hardware ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง และแต่ละส่วนมีหน้าที่อย่างไร
จงอธิบาย
Software มีกี่ประเภทอะไรบ้าง จงอธิบาย
ระบบปฏิบัติการที่นักศึกษารู้จักมีอะไรบ้าง และมีลักษณะเป็นอย่างไร จง
ยกตัวอย่างมา 3 อย่าง
www.themegallery.com
Company
Logo
Company LOGO

More Related Content

Similar to ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์piyarut084
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์Arnon2516
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำSupaporn Pakdeemee
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Chadarat37
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comathiwatpc
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsuphawadeebb
 
Presentation 3
 Presentation 3 Presentation 3
Presentation 3NodSmart
 
E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2bewhands
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2bewhands
 

Similar to ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (20)

รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Presentation 3
 Presentation 3 Presentation 3
Presentation 3
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 

More from ssuseraa96d2

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศssuseraa96d2
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxssuseraa96d2
 
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารssuseraa96d2
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารssuseraa96d2
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มssuseraa96d2
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมssuseraa96d2
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตารางssuseraa96d2
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพssuseraa96d2
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการssuseraa96d2
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารssuseraa96d2
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLssuseraa96d2
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆssuseraa96d2
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศssuseraa96d2
 

More from ssuseraa96d2 (20)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
 
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสาร
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรม
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพ
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสาร
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

  • 2. หน่วยที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมืออานวยความสะดวก ให้กับการทางานทุก ๆ ด้านในชีวิตประจาวันของมนุษย์ซึ่ง นอกจากจะช่วยให้การทางานง่ายขึ้น คอมพิวเตอร์ยังสามารถ สร้างความบันเทิงให้กับผู้ใช้ได้อีกด้วย และสืบเนื่องจาก อิทธิพลของคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นหนึ่งในหลายเทคโนโลยี สารสนเทศในปัจจุบัน ทาให้การเรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง
  • 3. 4.1 จุดกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ แนวคิดที่ถือว่าเป็นจุดกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ก็คือ “ความต้องการความสะดวกสบายและความรวดเร็วในการทางานของมนุษย์” โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานด้านการคานวณ เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้ในงานธุรกิจทุกประเภททุกกระบวนการ ไม่ว่าจะเป็นงานคานวณ งานเอกสาร งานซื้อ-ขายสินค้า งานสินค้าคงคลัง งานบัญชี ฯลฯ ด้วยเหตุผลของการแข่งขันทางธุรกิจที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ การทางานจึงต้องดาเนินการอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
  • 4. 4.2 ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาลาติน คาว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือการคานวณ คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทางาน ภายใต้การควบคุมของชุดคาสั่งที่อยู่ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์เอง ซึ่ง ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูล (Data) เข้าสู่หน่วยประมวลผลเพื่อทาการคานวณ และแสดงผลลัพธ์ออกทางอุปกรณ์แสดงผล โดยที่ผลลัพธ์เหล่านี้จัดว่าเป็นข้อมูลที่ ผ่านการประมวลผลและเรียบเรียงแล้ว จะเรียกผลลัพธ์นี้ว่า “สารสนเทศ (Information)” คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือทางด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในการทางานทางด้านการคานวณเป็น หลัก
  • 6. หมายถึง ความสามารถในการประมวลผล (Processing Speed) ภายในเวลาที่สั้นที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของ คอมพิวเตอร์ สามารถพิจารณาได้จากความสามารถในการประมวลผลซ้า ๆ ในช่วงเวลาหนึ่งว่า ความถี่ (Frequency) โดยนับความถี่เป็น จานวน คาสั่ง หรือ จานวนครั้ง หรือจานวนรอบ ในหนึ่งนาที (Cycle/Second) และเรียกหน่วยนี้ว่า Hz (Hertz = Cycle/Second) เช่น หากประมวลผลได้ 10 คาสั่ง (หรือ 10 ครั้ง หรือ 10 รอบ)ใน 1 วินาที เรียกว่า ความถี่ (ความเร็ว) 10 Hz นั่นเอง ปัจจุบันมีความเร็วเป็นกิกะเฮิร์ซ (GHz) เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น Pentium 4 มีความเร็วในการประมวลผล 2.5 GHz เป็นต้น ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ด้านความเร็ว (Speed)
  • 7. แสดงหน่วยวัดความเร็วในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ หน่วยความเร็ว สัญลักษณ์ ค่าความเร็ว มิลลิเซคัน (Milisecond) (หน่วยในพันของวินาที) ms 1/103 วินาที หรือ 1/1000 ไมโครเซคัน (Microsecond) (หน่วยในล้านของวินาที) s 1/106 วินาที หรือ 1/1000000 นาโนเซคัน (Nanosecond) (หน่วยในพันล้านของวินาที) ns 1/109 วินาที หรือ 1/1000000000 พิคโคเซคัน (Picosecond) (หน่วยในล้านล้านของ วินาที) ps 1/1012 วินาที หรือ 1/1000000000000
  • 10. แผ่นหินอ่อนซาลามิส (Salamis Tablet) ประมาณ 300 ปีก่อนคริสตกาล ชาวบาบิลอนได้สร้างเครื่องมือสาหรับช่วยนับเป็นแผ่นกระดานหินอ่อน ขนาดใหญ่ บนเกาะซาลามิส เพื่อช่วยสาหรับการนับค่าตัวเลขที่มีมากขึ้นและสะดวก กว่าการเอาแท่งไม้หรือก้อนหินหลายๆก้อนมาใช้ตามแบบวิธีเดิม ๆ แผ่นหินอ่อนซาลามิส มีความยาว 149 ซม. กว้างประมาณ 75 ซม. และหนา 4.5 ซม. ตัวแผ่นหินจะมีกลุ่มเส้นบรรทัดเรียงกันเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มมีเส้นบรรทัดลากตั้งฉากแบ่งออกไปกลุ่มของสัญลักษณ์ ตัวเลขจะมีเขียนอยู่ตรงส่วนของขอบแผ่นหินรอบ ๆ ทั้งด้านซ้าย ขวาและด้านล่าง เพื่อเอาไว้ช่วยทาเครื่องหมายในการ นับตัวเลข
  • 11. 4.4 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ในปี ค.ศ.1200 ) ประเทศจีนมีการคิดค้นเครื่องมือช่วยนับเพื่อให้ง่าย และรวดเร็วมากขึ้น เรียกว่า “ ลูกคิด (Abacus) ” ซึ่งชาวจีนเรียก อุปกรณ์ชนิดนี้ว่า “suan-pan” ต่อมาได้มีการนาเอาลูกคิดนี้ไปใช้ใน เชิงการค้ามากยิ่งขึ้น และแพร่หลายไปยังหลาย ๆ ประเทศ เช่น ญี่ปุ่ น รัสเซีย และยุโรปในเวลาต่อมา ลูกคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นมาในแต่ละที่ก็จะมีรูปแบบที่แตกต่างกัน แต่โดยหลักการแล้วก็ คือ เครื่องมือเพื่อเอาไว้สาหรับช่วยในการนับ ทาไดง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น ลูกคิดถือว่าเป็นเครื่องมือช่วยในการนับของมนุษย์ที่มีมายาวนานและยังนิยมใช้ กันแพร่หลายมาจนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้
  • 13. ปี ค.ศ. 1612 (บางตาราใช้ค.ศ. 1617) แท่งคานวณของ เนเปียร์ “ Napier’s Bone ” John Napier (จอห์น เนเปียร์) นักคณิตศาสตร์ชาวสก๊อตแลนด์ ได้ ประดิษฐ์อุปกรณ์ช่วยคานวณ เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยแท่งไม้ตีเส้นเป็นตาราง คานวณหลาย ๆ แท่งเอาไว้ใช้สาหรับคานวณ แต่ละแท่งจะมีตัวเลขเขียนกากับไว้ เมื่อต้องการผลลัพธ์ก็จะหยิบแท่งที่ใช้ระบุตัวเลขแต่ละหลักมาอ่านกับแท่งดรรชนี (index) ที่มีตัวเลข 0-9 ก็จะได้คาตอบ
  • 15.
  • 16. ปี ค.ศ. 1622 (บางตาราใช้ 1630) John William Augrred (จอห์น วิลเลี่ยม ออดเทรด) ได้นาเอกหลักการของเนเปียร์มาพัฒนาเครื่องมือที่เรียกว่า ไม้ บรรทัดคานวณ สไลด์รูล (Slide Rule) ขึ้น โดยนาค่าต่างๆ มาเขียน ไว้บนแท่งไม้สองอัน เมื่อใดที่นามาเลื่อนต่อกันก็จะสามารถหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ที่ ต้องการได้ ตัวเลขหรือค่าที่เอามาเขียนนั้นจะกาหนดเป็นอัตราส่วนระยะทาง (log scale) ซึ่งสามารถวัดหรือหาค่าได้โดยง่าย นับได้ว่าไม้บรรทัด คานวณนี้เป็นต้นแบบของการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกที่อาศัย หลักการวัดซึ่งนิยมใช้กันในเวลาต่อมานั่นเอง ไม้บรรทัดคานวณยังมีให้เห็นและใช้กันอยู่จนถึง ปัจจุบัน ซึ่งได้มีการผลิตให้มีขนาดเล็กลงและใช้งานได้ง่าย โดยมีการเปลี่ยนวัสดุ ที่ใช้ผลิตจากแผ่นไม้มาเป็นแผ่นเหล็กและพลาสติกมากยิ่งขึ้น
  • 17. John William Oughtred ผู้คิดค้นไม้บรรทัดคานวณหรือ Slide Rule ที่มีใช้กันมาถึงปัจจุบัน
  • 19. นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock) ในปี ค.ศ.1623 วิลเฮล์ม ชิคการ์ด (Wilhelm Schickard) แห่งมหาวิทยาลัยเทอร์บิงเจน (University of Tubingen) ประเทศเยอรมันนีได้สร้างนาฬิกาคานวณขึ้น โดยใช้ แนวคิดของเนเปียร์มาประยุกต์ใช้ วิธีการทางานของเครื่องอาศัยตัวเลขต่าง ๆ บรรจุ บนทรงกระบอกจานวน 6 ชุด แล้วใช้ฟันเฟืองเป็นเครื่องหมุนทดเวลาคูณเลข ซึ่งถือได้ว่าเขาเป็นผู้ที่ประดิษฐ์เครื่องกลไกสาหรับคานวณได้เป็นคนแรก
  • 20. นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock) Wilhelm Schickard (วิลเฮล์ม ชิคการ์ด) กับนาฬิกาคานวณที่เขาประดิษฐ์ขึ้น
  • 21. ปี ค.ศ. 1642 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อ “ Blaise Pascal ” (เบลส์ ปาสคาล) ได้สร้างเครื่องมือช่วยบวกเลข เรียกว่า เครื่องคานวณของ ปาสคาล (Pascaline Calcutator) ขึ้น โดยมีลักษณะเป็น กล่องสี่เหลี่ยม หลักการคานวณอาศัยการหมุนของฟันเฟืองหนึ่งอัน หากถูกหมุน ครบ 1 รอบ ฟันเฟืองอีกอันหนึ่งทางด้านซ้ายจะถูกหมุนไปด้วยในเศษ 1 ส่วน 10 รอบ เช่นเดียวกันกับการทดเลข สาหรับผกลการคานวณจะดูได้ที่ช่อง ด้านบน เครื่องมือนี้สามารถใช้ได้ดีในการคานวณบวกและลบเท่านั้น ส่วนการคูณ และหารยังไม่ดีเท่าไรนัก
  • 22. Blaise Pascal (เบลส์ ปาลคาล) เครื่องคานวณของปาสคาล (Pascaline Calculator)
  • 23. เครื่องคานวณของไลบ์นิซ (Leibniz Wheel) ในปี ค.ศ. 1674 กอตต์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทาการ ปรับปรุงเครื่องคานวณของปาสคาลให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเดิม โดยมีการ ปรับฟันเฟืองเสียใหม่ให้มีความสามารถคูณและหารได้ด้วยโดยตรง เครื่องชนิดนี้เรียกว่า เครื่องคานวณของไลบ์นิซ (Leibniz Wheel) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ Stepped Reckoner
  • 24. ปี ค.ศ. 1801 (บางตาราใช้ 1673) นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ “ Joseph Marie Jacquard ” (โจเซฟ มารี แจคการ์ด) ได้พยายามพัฒนาเครื่องทอผ้าให้สามารถควบคุมลวดลาย หรือแบบต่าง ๆ ที่ต้องการได้เองอัตโนมัติ เพื่อให้ผู้ที่ไม่มีความชานาญในการทอผ้า สามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย เครื่องชนิดนี้เรียกว่า เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด (Jacquard’ loom) โดยเพียงแต่นาเอาตัวบัตรเจาะรู (Punched Card) ที่เป็นแม่แบบของลวดลายผ้าใส่เข้าไปในตัวนี้ การ ทอหรือยกลายตามแม่แบบชุดคาสั่ง (รูที่เจาะไว้บนบัตร) ก็จะทาได้เองอัตโนมัติ ซึ่ง เป็นแนวคิดที่ก่อให้เกิดการสร้างคอมพิวเตอร์ให้ทานได้ตามชุดคาสั่งในเวลาต่อมา
  • 25. โจเซฟ มารี แจกการ ์ด(Joseph Marie Jacquard) เครื่องทอผ้าที่ประยุกต์ใช้บัตรเจาะรูมาควบคุมลวดลายของผ้า
  • 27. ปี ค.ศ. 1822 เครื่อง Different Engine ปี ค.ศ.1822 ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage ) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษแห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เป็นบุคคลที่ได้พยายาม เสนอแนวคิดให้เครื่องจักรกลสามารถทางานได้ตามคาสั่งและเกิดผลลัพธ์ ข้อผิดพลาดน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการคานวณในงานที่ซ้าซ้อนมาก ๆ ซึ่งเมื่อคานวณผลลัพธ์ผิดพลาดก็อาจส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างมากได้ อีกทั้ง ยังเป็นการสร้างความน่าเบื่อหน่ายในการทางานด้วย เพราะต้องกลับมานั่ง คานวณหาค่าผลลัพธ์นั้นใหม่อีกรอบ เขาจึงได้เสนอแนวคิดการสร้างเครื่อง คานวณต้นแบบที่เรียกว่า Difference Engine เพื่อขอรับเงิน สนับสนุนไปยังสมาคมดาราศาสตร์ ซึ่งทางสมาคมก็เห็นด้วยกับแนวคิดที่เขา เสนอ จึงอนุมัติโครงการดังกล่าว และได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลอังกฤษเมื่อปี ค.ศ. 1823
  • 28. การพัฒนาเครื่อง Different Engine ใช่ว่าจะเสร็จโดยสมบูรณ เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดของการทางานภายในตัวเครื่องอยู่อีกมาก ประกอบกับ เทคโนโลยีของอุปกรณ์การผลิตในสมัยนั้นยังไม่ดีพอที่จะผลิตตามแบบที่แบบเบจ เสนอไว้ได้ แนวคิดดังกล่าวจึงถูกพักไว้และถูกยกเลิกไปในที่สุด เนื่องจากไม่ เป็นไปตามที่คาดหวัง เครื่อง Different Engine ที่ผลิตออกมา นั้นจึงทางานได้เพียงแค่บางส่วนเท่านั้น
  • 32. ปี ค.ศ. 1843 Augusta Ada Byron (เลดี้ออกุสตา เอด้า ไบรอน) หรือ Ada Lovelace เป็นผู้ที่เข้าใจแนวคิด Analytical Engine ของBabbage และนามาปรับปรุงให้ใช้เลขฐานสองแทน ฐานสิบ และเขียนโปรแกรมโดย ใช้บัตรเจาะรู เธอได้รับยกย่องว่าเป็น “โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก” และได้มีการตั้งชื่อเป็นภาษาเขียนโปรแกรม “Ada” เพื่อเป็นเกียรติแก่เธอ www.themegallery.com
  • 33. ปี ค.ศ. 1880 Dr. Herman Hoolerith (ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ)ได้ พัฒนาเครื่องประมวลผลข้อมูล ที่สามารถอ่านข้อมูลสามะโนประชากรจาก บัตรเจาะรูได้ นอกจากนี้ยังพัฒนากล่องเรียงลาดับข้อมูลและเครื่องจาแนกข้อมูล สามะโนประชากรสามารถทาได้ภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี (จากเดิมที่เคยใช้ เวลานานถึง 7 ปี)  ต่อมา Dr. Hollerith ได้ก่อตั้งบริษัท IBM (International Business Machines Corporation) ขึ้น และได้พัฒนากลไกทางานของแผงควบคุมและ บัตรเจาะรูที่ใช้ประมวลผลข้อมูลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จนได้รับความนิยม จนกระทั่งปลายปี 1950 เรียกบัตรนี้ว่า “ Hollerith’s Punched Card ” หรือ “ IBM 80-Column Punched Card ” www.themegallery.com Company Logo
  • 34. ปี ค.ศ. 1942 John Atanasoff (จอห์น อทานาโซฟ) แห่ง lowa State University ได้สร้างอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอล คอมพิวเตอร์ ซึ่งทางานโดยใช้หลอดสุญญากาศในการปฏิบัติการคานวณ และตั้งชื่อว่า “ ABC (Atanasoff-Berry Computer) ”
  • 35. ปี ค.ศ. 1944 Harward Aiken (ศาสตราจารย์โอเวิร์ด ไอด์เคน) แห่ง Harvard University ได้พัฒนาเครื่องดิจิตอลคอมพิวเตอร์ กึ่งกลไกกึ่งไฟฟ้าขนาดใหญ่เครื่องแรกชื่อว่า “Aiken’s Automatic Sequence Controlled Calculator (ASCC)”หรือเรียกสั้น ๆว่าเครื่อง “Mark I ” โดยใช้แนวความคิดหลาย ๆ อย่างของ Babbage แต่ใช้ไฟฟ้าแทน เครื่องกล และใช้แนวความคิดที่ IBM พัฒนาเครื่องคานวณบัตรเจาะรูในช่วง ทศวรรษ 1930 มาเป็นพื้นฐานด้านการคานวณ
  • 36. ปี ค.ศ. 1946 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. (จอห์น มอชีและเปรสเปอรเอคเคิร์ท ) ได้พัฒนาเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่สามารถปฏิบัติการได้เป็นเครื่องแรก ชื่อว่า “ ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Calculator) ” ทางานด้วยหลอดสุญญากาศมากกว่า 18,000 หลอด ENIAC ถูกใช้ในกองทัพอเมริกาเพื่อคานวณวิถีกระสุนปืนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ENIAC ไม่สามารถจัดเก็บโปรแกรมและใช้ระบบทศนิยมได้ การทางานถูกควบคุมจากแผงควบคุมภายนอก ซึ่งจะต้องเปลี่ยนแปลงใหม่ทุก ครั้งที่มีการคานวณชุดใหม่
  • 37. ปี ค.ศ. 1949 John Von Neumann (จอห์น วอน นอยแมน) ได้เสนอ แนวคิดเพื่อปรับปรุง ENIAC ให้สามารถเก็บโปรแกรมไว้ภายในเครื่อง เป็นครั้งแรก ซึ่งพัฒนาเป็นเครื่อง “ EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) ” ในปี 1952
  • 38. ปี ค.ศ. 1952 John Mauchy และ J.P. Eckert ได้พัฒนาเครื่อง คอมพิวเตอร์อีกครั้ง ชื่อว่า “UNIVAC Universal Automatic Computer” เป็นเครื่องที่สามารถบันทึกข้อมูล ลงบนเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) ได้เป็นเครื่องแรก
  • 39. 4.5 ยุคของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (First Generation:ค.ศ. 1940 - 1953) วัสดุที่ใช้ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) และวงจรไฟฟ้า ขนาด เนื่องจากใช้หลอดสุญญากาศจานวนมาก ตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์จึงมีขนาดใหญ่ ความเร็วในการทางาน เป็นวินาที ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง (Machine Language) สื่อที่ใช้ บัตรเจาะรู (Punched Language) และเทปกระดาษ (Paper Tape) การเก็บรักษา ต้องติดตั้งในห้องปรับอากาศตลอดเวลา เนื่องจากระหว่าง การทางานมีความร้อนสูง ตัวอย่างเครื่อง IBM 650, IBM 701
  • 41. ยุคที่ 2 (Second Generation : ค.ศ. 1953 - 1963) วัสดุที่ใช้ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) มีแกนแม่เหล็ก (Magnetic Core) เป็นหน่วยความจาหลักภายในเครื่อง ขนาด เนื่องจากใช้ Transistor ตัวเครื่องจึงมีขนาดเล็กลง ราคาถูก กว่าเดิม ความเร็วในการ ทางาน เป็น Millisecond (1/1000 วินาที) ภาษาคอมพิวเตอร์ FORTRAN (1956) , ALGOL (1958) , COBOL (1959) สื่อที่ใช้ บัตรเจาะรู และเทปแม่เหล็ก การเก็บรักษา ต้องติดตั้งในห้องปรับอากาศ ตัวอย่างเครื่อง IBM 7000-Series และ IBM 1400-series www.themegallery.com
  • 43. ยุคที่ 3 (Third Generation : ค.ศ. 1963 - 1972) วัสดุที่ใช้ แผงวงจรรวม (Integrated Circuit : IC) เทียบเท่า Transistor หลาย ร้อยตัว แกนแม่เหล็กถูกแทนที่ด้วยเซมิคอนดักเตอร์ (Semiconductor) ขนาด เล็ก ใช้พลังงานน้อย ความร้อนลดลง ความเร็วในการทางาน เป็น Microsecond (1/106 วินาที) ภาษาคอมพิวเตอร์ COBOL , PL/I นอกจากนี้IBM’ OS ยังได้ถูกพัฒนาขึ้นอีกด้วย สื่อที่ใช้ จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) ได้รับความนิยมแทนที่บัตรเจาะรูและเทป แม่เหล็ก การเก็บรักษา ต้องติดตั้งในห้องปรับอากาศ ตัวอย่างเครื่อง IBM 360 , IBM 370
  • 45. ยุคที่ 4 (Fourth Generation : ค.ศ. 1972 - 1984) วัสดุที่ใช้ แผงวงจร VLSI (Very-Large-Scale Integration) ทาให้มี เครื่อง Minicomputer, Microcomputer หรือเครื่อง ขนาดเล็กเกิดขึ้น พัฒนาต่อมาเป็น Microprocessor โดยใช้ Chip เป็นวัสดุ ขนาด ตั้งโต๊ะ ความเร็วในการทางาน เป็น Nanosecond (1/109 วินาที) ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูง เช่น Pascal , C , Basic นอกจากนี้ ระบบปฏิบัติการ UNIX ยังได้ถูกพัฒนาขึ้นด้วย สื่อที่ใช้ เทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็ก การเก็บรักษา ไม่จาเป็นต้องติดตั้งในห้องปรับอากาศก็ได้ ตัวอย่างเครื่อง IBM 370 , IBM PC (XT AT) www.themegallery.com
  • 46. ยุคที่ 5 (Fifth Generation : 1984 - 1900) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ถูกสร้างขึ้นมาให้มีขนาดเล็กลง มีประสิทธิภาพสูง สามารถ เชื่อมต่อกันได้ทั่วโลกด้วยเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และยังเป็นยุคที่มีการพัฒนา รูปแบบการโต้ตอบและการแสดงผลทางจอภาพคอมพิวเตอร์ให้ใช้งานง่ายขึ้น ด้วยรูปแบบ GUI (Graphic User Interface) กลางปี ค.ศ. 1990 ความนิยมในการนาเครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet) และอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ในองค์กรมากขึ้นทาให้ในด้าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network: LAN) และเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network: WAN) ขึ้นมาใช้งานอย่างรวดเร็ว เครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลจึงสามารถเชื่อมโยงกันและสื่อสารถึงกันได้ทั่วโลก และจากเครื่อง คอมพิวเตอร์ก็มีการพัฒนาให้กลายเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดพกพาไปตาม สถานที่ต่าง ๆ ได้ เช่น โน้ตบุ๊ค เป็ นต้น
  • 47. ยุคปัจจุบัน (ค.ศ. 1900 – อนาคต) มีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยจัดการงานในด้านต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงาน ด้านบริหาร การตัดสินใจ ทาให้เกิดระบบใหม่ ๆขึ้นมากมาย เช่น ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation) นอกจากนี้ยังพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถเลียนแบบกระบวนการคิด ของมนุษย์ เรียกว่า “ ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligent: AI) ” ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ตลอดจนการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing: NLP)ที่จะทาให้คอมพิวเตอร์ โต้ตอบกับมนุษย์ด้วยเสียงได้ www.themegallery.com Company Logo
  • 48. 4.6 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 4.6.1 จาแนกตามวัตถุประสงค์การใช้งาน 1. คอมพิวเตอร์ใช้งานทั่วไป เป็นคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ได้กับงานหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นงานเอกสาร คานวณ หรืองานกราฟฟิก ได้แก่ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน 2. คอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะ เป็นคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อประยุกต์ใช้งานกับ งานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านการแพทย์ การทหาร กรมอุตุนิยมวิทยา เป็นต้น www.themegallery.com Company Logo
  • 49. 4.6.2 จาแนกตามลักษณะของข้อมูล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. Analog Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่รับข้อมูลที่มีค่าไม่ ต่อเนื่องกัน จึงใช้หลักการวัดค่าที่รับเข้ามาแล้วแสดงออกทางหน้าปัด เช่น คลื่นสมอง อุณหภูมิ ความดัน เป็นต้น 2. Digital Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่รับข้อมูลที่มีความ ต่อเนื่องกันในลักษณะของตัวเลข จึงใช้หลักการนับในการรับข้อมูลดังกล่าวแล้ว แสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ คอมพิวเตอร์ชนิดนี้มีความแม่นยามากกว่า Analog Computer และจะต้องอาศัย “ สื่อบันทึกข้อมูล ” ในการจัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเป็นแบบ Digital Computer 3. Hybrid Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่นาลักษณะการ ทางานของคอมพิวเตอร์ทั้ง 2 ชนิดข้างต้นมารวมกันทาให้สามารถใช้กับงาน หลายลักษณะ
  • 50. 4.6.3 จาแนกตามขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท 1. Supercomputer เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มี ความเร็วในการประมวลผลสูงสุด (ประมาณ 100 ล้านคาสั่งต่อวินาที) มี ราคาแพงมาก เนื่องจากประสิทธิภาพของ Chip ที่ใช้ประมวลสูงสุด นิยมใช้ ในหน่วยงานสาคัญและเหมาะกับงานที่ต้องการความละเอียด ถูกต้องแม่นยาใน การคานวณสูง งานที่ต้องการมีการวิเคราะห์ที่ซับซ้อน เช่น งานพยากรณ์อากาศ งานวิทยาศาสตร์ งานวิจัยพลังงานนิวเคลียร์ งานทางด้านทหาร ฯลฯ
  • 51. 2. Mainframe Computer เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่รองลงมาจาก Supercomputer มีความเร็วในการประมวลผลสูง (ประมาณ 10 ล้านคาสั่งต่อวินาที) เหมาะสมกับองค์กรขนาดใหญ่ ที่มีการทางานเข้าสู่ศูนย์กลาง และกระจายไปยัง สาขาต่าง ๆ เป็นเครือข่าย มีผู้ใช้ระบบพร้อมกันหลายคน เช่น งานธนาคาร งานสามะโนประชากรของรัฐบาล งานสายการบิน งานประกันชีวิต งานโรงงานที่ มีการใช้ระบบ ERP เป็นต้น ลักษณะการนาไปใช้งานจึงมีวัตถุประสงค์ แตกต่างจาก Supercomputer และเช่นเดียวกับ Supercomputer ปัจจุบัน Mainframe Computer มีขนาดลดลงมาก แต่ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
  • 52. 3. Minicomputer เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง มีความเร็วในการประมวลผลสูง เหมาะกับ องค์กรขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ที่มีการทางานเป็นระบบเครือข่ายแบบ Client/Server มีผู้ใช้งานระบบพร้อมกันหลายคน มีข้อมูลจานวน มาก เช่น Minicomputer รุ่น PDP ที่ผลิตโดยบริษัท Digital Equipment Corporation
  • 53. 4. Microcomputer หรือ Personal Computer (PC) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้สะดวก เหมาะสาหรับผู้ใช้คน เดียว (Stand-alone) หรือใช้เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอื่น ๆ ได้ โดยเฉพาะเครือข่าย LAN และ Internet เพื่อสื่อสารกับคนทั่วโลก เครื่อง PC เหมาะสาหรับใช้งานทั่วไป เช่น งานเอกสาร งานคานวณ งานบัญชี เป็นต้น www.themegallery.com
  • 54. ปัจจุบันมีการพัฒนารูปลักษณ์ของ PC แตกต่างกันไปหลายแบบ เพื่อให้ เหมาะสมกับการนาไปใช้งาน เช่น ตั้งโต๊ะ วางบนตัก หรือสามารถหิ้วได้ มีขนาด เท่าฝ่ ามือ เป็นต้น ลักษณะที่แตกต่างกันเกิดจากการจาแนกตาม “ เคส (Case) ” ซึ่งมาจาคาว่า “ Chassis ” หมายถึง โครงโลหะ สาหรับประกอบชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เช่น  Desktop เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล สามารถตั้งบนโต๊ะทางานได้ แต่จะมีการแยกชิ้นส่วนบางอย่าง ได้แก่ จอภาพ กล่อง Case ลาโพง คีย์บอร์ด
  • 55. แล็ปท้อป (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด แล็ก สามารถหิ้วไปสถานที่ต่าง ๆ ได้ น้าหนักเบา คีย์บอร์ดจะติดกับจอภาพรวมทั้งเมาส์ด้วย โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ มีขนาดเล็กเช่นเดียวกับ Laptop แต่ตัวเครื่องจะบางและเบากว่า Laptop Tablet (Tablet Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ขนาดเล็กเท่าแผ่นป้าย น้าหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก สามารถป้อนข้อมูลทาง จอภาพได้ด้วยปากกาชนิดพิเศษ www.themegallery.com Company Logo
  • 56.  Handheld (Handheld Computer) เป็น คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คือมีขนาดเท่ากับฝ่ ามือ คีย์บอร์ดและหน้าจอมีขนาด เล็ก บางรุ่นใช้ปากกาพิเศษป้อนข้อมูลทางจอภาพ คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ถูก ออกแบบมาให้ใช้จัดการสารสนเทศส่วนบุคคล เช่น จัดตารางเวลานัดหมาย ปฏิทินนัดหมาย สมุดโทรศัพท์ สมุดบันทึก รับส่งอีเมล์ เป็นต้น ปัจจุบันรู้จัก กันในนาม “ Palmtop ” และ “ PDA ”
  • 57. 4.7 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก ได้แก่ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit) และหน่วยความจา (Memory Unit)
  • 59. 4.7.2 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่ในการประมวลผลคาสั่ง และควบคุมการทางานทั้งหมด ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งหน่วยนี้ถือว่าเป็นหัวใจของระบบคอมพิวเตอร์ โดย คอมพิวเตอร์จะสามารถทางานได้ถูกต้องและรวดเร็วเพียงไร ขึ้นอยู่กับ CPU ทั้งสิ้น คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น Mainframe หรือ Supercomputer จะเรียก CPU ว่า “ Processor ” และบางครั้งจะใช้ Processor ร่วมกันหลาย ๆ ตัว เพื่อให้สามารถ ประมวลผลการทางานได้รวดเร็วขึ้น สาหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น PC จะมี CPU เพียงหนึ่งตัว (Single Chip) เรียกว่า “ Microprocessor ” CPU จะมีลักษณะเป็น Chip หรือแผงวงจรที่ประกอบไปด้วย Transistor และอุปกรณ์อื่น ๆ รวมอยู่จานวนมาก www.themegallery.com
  • 60. CPU CPU ประกอบไปด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยควบคุม (Control Unit) และหน่วยคานวณ/ตรรกะ (Arithmetic / Logical: ALU)  หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของหน่วยอื่น ๆ ทั้งหมด คอยจัดการเวลาการประมวลผลตามคาสั่งที่รับเข้ามาเป็นจังหวะตามสัญญาณนาฬิกา  หน่วยคานวณ/ตรรกะ (Arithmetic / Logical: ALU) ทาหน้าที่ประมวลผล คาสั่งด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก (+) ลบ (-) คูณ () หาร(/) เป็นต้น และเปรียบเทียบค่าของข้อมูล เช่น มากกว่า (>) น้อยกว่า (<) มากกว่าหรือเท่ากับ (≥) เป็นต้น
  • 61. 4.7.3 หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลที่รับเข้ามา เพื่อส่งต่อไปยัง CPU และเมื่อ CPU ประมวลผลเรียบร้อยแล้ว จะส่งผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจา เพื่อนาไป แสดงผลออกทางหน่วยแสดงผลหรือจัดเก็บลงหน่วยความจาสารองต่อไป หน่วยความจา ถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ หน่วยความจาหลัก (Primary Storage / Primary Memory) และหน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
  • 62. หน่วยความจาหลัก (Primary Storage / Primary Memory) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคาสั่งที่รับเข้ามาทาง Input Unit เพื่อรอให้ CPU เข้าถึงข้อมูลหรือคาสั่งนั้น (ข้อมูลหรือคาสั่งอยู่ใน รูปของเลขฐานสอง) จากนั้นจะทาการคัดลอกมาเพื่อประมวลผล หากมีการ คานวณจะถูกส่งไปยัง ALU แล้วส่งผลลัพธ์กลับมาพักไว้ที่หน่วยความจาอีก ครั้ง เพื่อรอคาสั่งแสดงผลลัพธ์ต่อไป ลักษณะดังกล่าวเรียกว่า 1 รอบการ ปฏิบัติการ หน่วยความจาหลัก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ROM และ RAM www.themegallery.com
  • 63. ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่ไม่ สามารถลบทิ้งได้ (Nonvolatile Memory) ทาได้เพียงดึง ข้อมูลมาใช้เท่านั้น และข้อมูลนั้นยังถูกเก็บอยู่ได้โดยไม่ต้องมีไฟฟ้าไปเลี้ยง (ข้อมูลจะไม่หายแม้ไฟจะดับก็ตาม) โดยปกติ ROM จะถูกบันทึกชุดคาสั่งการทางานเหล่านี้มาจาก โรงงานของผู้ผลิตแล้ว (เรียกว่า “ Firmware ”) และผู้ใช้ไม่สามารถ ลบชุดคาสั่งนี้ออกได้ อย่างไรก็ตาม หากต้องการลบจะต้องผ่านกระบวนการพิเศษ www.themegallery.com Company Logo
  • 64. RAM (Random Access Memory) เป็น หน่วยความจาที่ใช้เก็บข้อมูลหรือชุดคาสั่งจากโปรแกรมในระหว่างที่เครื่อง คอมพิวเตอร์กาลังทางาน RAM เป็นหน่วยความจาชั่วคราว (Volatile Memory) ดังนั้น เมื่อไม่มีกระแสไฟหรือเมื่อปิดเครื่อง ข้อมูลที่อยู่ใน RAM จะหายไป www.themegallery.com Company Logo
  • 65. หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage) เป็นหน่วยความจาเสริมที่มีหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลที่นาเข้าผ่าน Input Unit หรือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว โดยจัดเก็บให้อยู่ในรูปของไฟล์ (File) เพื่อให้สามารถเรียกใช้งานได้ในครั้งต่อไป หน่วยจัดเก็บข้อมูลนี้เมื่อ ไม่มีไฟเลี้ยงก็ยังสามารถเก็บข้อมูลไว้ได้โดยที่ข้อมูลไม่หาย และสามารถจัดเก็บ ข้อมูลได้มากกว่าหน่วยความจาหลายเท่า ตัวอย่างหน่วยจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮาร ์ดดิสก์(Hard Disk) ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เป็นต้น www.themegallery.com Company Logo
  • 66. 4.7.4 หน่วยแสดงผล (Output Unit)  ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของ CPU โดยต้อง แปลงข้อมูลดิจิตอลที่ได้จากการประมวลผลเป็นข้อมูลที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ และก่อนที่จะนาข้อมูลซึ่งได้รับการประมวลผลแล้วไปแสดงผล จะต้องผ่าน หน่วยความจาหลักเช่นเดียวกับหน่วยนาเข้าข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น จอภาพ (Monitor) ลาโพง (Speaker) และเครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นต้น
  • 67. 4.8 ปัจจัยร่วมในการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานเองได้ หากไม่มีผู้ใช้ที่ทาหน้าที่เปิดเครื่อง และสั่งงานต่าง ๆ ผ่าน Input Unit แต่ถึงแม้ว่าจะมีผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์แล้วก็ตาม หากไม่มี Software Computer ควบคุมการทางาน เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทางานเองได้เช่นกัน ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าปัจจัยร่วมในการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์นั้นประกอบไปด้วย อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) และ ซอฟต์แวร์ (Software) และบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Peopleware) www.themegallery.com Company Logo
  • 68. (Hardware) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่ ใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอุปกรณ์ต่อพ่วงชนิดต่าง ๆ จาแนกตาม ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้แก่ Input Unit Central Processing Unit Output Unit Memory Unit www.themegallery.com Company Logo
  • 69. ซอฟต์แวร์ (Software) เป็นชุดคาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามคาสั่ง บางครั้ง เรียกว่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ ซอฟต์แวร ์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร ์ประยุกต์ (Application Software) www.themegallery.com Company Logo
  • 70. Peopleware บุคลากรคอมพิวเตอร์ หมายถึง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ งาน การดูแลและควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ อาจเป็นบุคคลเดียวหรือกล่มบุคคล ตามการจัดแบ่งโครงสร้างขององค์กร บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ เป็น - ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) - ผู้ดูแลและซ่อมบารุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Technician) - โปรแกรมเมอร์ (Programmer) - นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis) - ผู้บริหารระบบ (System Administrator) www.themegallery.com Company Logo
  • 71. 4.9 รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ 4.9.1 การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computing) คือ การใช้งานคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเพื่อ ทางานต่าง ๆ ตามที่ต้องการ โดยไม่มีการใช้โปรแกรมร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อื่น หรือไม่มีการติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นเลย 4.9.2 การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) เป็นระบบที่รวมการทางานทุกอย่างไว้ที่คอมพิวเตอร์ เพียงเครื่องเดียว การประมวลผลประเภทนี้จะมีข้อเสียคือ หากมี ข้อมูลจานวนมาก การประมวลผลจะช้าลง เนื่องจากมีเพียงเครื่องแม่ข่ายเท่านั้นที่ ทาการประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลทุกส่วนนั่นเอง จึงได้มีการแก้ปัญหาด้วยการ ประมวลผลแบบกระจาย www.themegallery.com
  • 73. 4.9.3 การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) จากข้อจากัดของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคือ ไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการของผู้ใช้ภายในองค์กรได้อย่างทั่วถึง และข้อจากัดของการประมวลผล แบบรวมศูนย์ที่ค่อนข้างล่าช้า ดังนั้นจึงต้องมีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อกระจาย และแจกจ่ายการใช้งานข้อมูลและทรัพยากรต่าง ๆ ให้สามารถใช้ร่วมกันได้ให้ทั่ว ทั้งองค์กรและระหว่างหน่วยงานย่อยขององค์กร เช่น ฐานข้อมูล ข่าวสาร เครื่อง คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องโทรสาร และเครื่องสแกนเนอร์ เป็นต้น นอกจากนี้การกระจายข้อมูลและทรัพยากรต่าง ๆ ทาให้การประมวลผลมีความ รวดเร็วมากขึ้น www.themegallery.com Company Logo
  • 76. ข้อจากัดของคอมพิวเตอร์  การวางระบบคอมพิวเตอร์ต้องใช้เวลานานมาก การที่หน่วยงานใดตัดสินใจ นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ต้องวางระบบงานเสียก่อน ว่าจะนาคอมพิวเตอร์มาช่วย ในการทางานด้านใด แล้วยังจะต้องมีการเรียนโปรแกรมคาสั่ง เพื่อสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งขั้นตอนในการวางระบบงาน จาเป็นต้องใช้เวลาพอสมควร การรบกวนระบบงานปกติ เมื่อมีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในหน่วยงานที่ไม่เคยใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์มาก่อน แน่นอนว่าต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบงานเดิม เช่น การเปลี่ยนวิธีการทางาน หรือคุณสมบัติของพนักงาน โดยการส่งพนักงานไป ฝึกอบรม การใช้งานคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบต่อ จิตใจของพนักงาน และอาจสร้างความไม่พอใจ และก่อให้เกิดความวุ่นวายหลาก ประการขึ้นได้ ในระยะแรก ๆ ที่ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับระบบงานใหม่ Company Logo
  • 77. การทางานขึ้นอยู่กับมนุษย์ คอมพิวเตอร์เป็นได้แค่เครื่องมือช่วยมนุษย์ในการ ทางาน ทั้งนี้เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีความคิดเป็นของตัวเอง และทางาน ได้รับคาสั่งจากมนุษย์เท่านั้น ไม่ว่างานที่สั่งให้ทาจะถูกหรือผิด เครื่อง คอมพิวเตอร์ไม่รู้จักคิดหรือปรับปรุงวิธีการทางานให้ดีขึ้น
  • 78. คอมพิวเตอร์มีความหมายว่าอย่างไร จงอธิบาย คอมพิวเตอร์มีลักษณะที่สาคัญอย่างไรบ้าง จงบอกประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์โดยละเอียด เราสามารถแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ได้จากเกณฑ์อะไรบ้าง และแต่ละเกณฑ์ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง จงอธิบาย Hardware ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง และแต่ละส่วนมีหน้าที่อย่างไร จงอธิบาย Software มีกี่ประเภทอะไรบ้าง จงอธิบาย ระบบปฏิบัติการที่นักศึกษารู้จักมีอะไรบ้าง และมีลักษณะเป็นอย่างไร จง ยกตัวอย่างมา 3 อย่าง www.themegallery.com Company Logo