SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์อำจกล่ำวได้ว่ำมำจำกแนวควำมคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนำเป็นวิธีกำรคำนวณต่ำง ๆ รวมทั้ง
อุปกรณ์ที่ช่วยในกำรคำนวณอย่ำงง่ำย ๆ
คือ" กระดำนคำนวณ" และ "ลูกคิด" ในศตวรรษที่ 17 เครื่องคำนวณแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กำเนิดขึ้นจำกนักคณิตศำสตร์ชำว
ฝรั่งเศษคือ Blaise Pascal
โดยเครื่องของเขำสำมำรถคำนวณกำรบวกกำรลบได้อย่ำงเที่ยงตรง และในศตวรรษเดียวกันนักคณิตศำสตร์ชำวเยอร์มัน คือ
Gottried Wilhelm von Leibniz
ได้สร้ำงเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สำมำรถคูณและหำรได้ด้วย
ในต้นศตวรรษที่ 19 ชำวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนำเครื่องทอผ้ำที่สำมำรถตั้งโปรแกรม
ได้ โดยเครื่องทอผ้ำนี้ ใช้บัตรขนำดใหญ่
ซึ่งได้เจำะรูไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลำยที่จะปัก บัตรเจำะรู(punched card) ที่ Jacquard ใช้นี้ ได้ถูกพัฒนำ
ต่อๆมำโดยผู้อื่น เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูล
และโปรแกรมเข้ำเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ
ต่อมำในศตวรรษเดียวกัน ชำวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทำกำรสร้ำงเครื่องสำหรับแก้สมกำรโดยใช้พลังงำนไอน้ำเรียกว่ำ difference
engine
และถัดจำกนั้นได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เมื่อเขำได้ทำกำรออกแบบ เครื่องจักรสำหรับทำกำรวิเครำะห์ (analytical engine)
โดยใช้พลังงำนจำกไอน้ำ ซึ่งได้มีกำรออกแบบให้ใช้บัตรเจำะรูของ Jacquard ในกำรป้อนข้อมูล ทำให้อุปกรณ์ชิ้นนี้ มีหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล
หน่วยแสดงผล และหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ครบตำมรูปแบบของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ แต่โชคไม่ดีที่แม้ว่ำแนวควำมคิดของเขำจะถูกต้องแต่เทคโนโลยีในขณะนั้น
ไม่เอื้ออำนวยต่อกำรสร้ำงเครื่องที่สำมำรถทำงำนได้จริง อย่ำงไรก็ดี Charles Babbage ก็ได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นบิดำของคอมพิวเตอร์คนแรก
และผู้ร่วมงำนของเขำคือ Augusta Ada Byron ก็ได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก
เครื่อง Difference Engine ของ Charles Babbage
จำกนั้นประมำณปี ค.ศ. 1886 Dr.Herman Hollerith ได้พัฒนำเครื่องจัดเรียงบัตรเจำะรูแบบ electromechanical ขึ้นซึ่งทำงำน
โดยใช้พลังงำนไฟฟ้ำ
และสำมำรถทำกำร จัดเรียง (sort) และ คัดเลือก (select) ข้อมูลได้ ต่อมำในปี ค.ศ. 1896 Hollerith ได้ทำกำรก่อตั้งบริษัทสำหรับเครื่องจักรใน
กำรจัดเรียงชื่อ
Tabulating Machine Company และในปี ค.ศ.1911 Hollerith ได้ขยำยกิจกำรโดยเข้ำหุ้นกับบริษัทอื่นอีก 2 บริษัทจัดตั้งเป็น
บริษัท Computing -Tabulating-Recording-Company ซึ่งประสบควำมสำเร็จเป็นอย่ำงมำก และในปี ค.ศ. 1924 ได้เปลี่ยนชื่อ
เป็น
International Business Corporation หรือที่รู้จักกันต่อมำในชื่อของบริษัท IBM นั่นเอง
เครื่องจัดเรียงบัตรเจำะรูของ Dr. Her Hollerith
ในปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จำก Harvard University ได้ร่วมมือกับบริษัท IBM ออกแบบคอมพิวเตอร์โดยใช้
ทฤษฎีของBabbage
และในปี ค.ศ.1944 Harvard mark I ก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ซึ่งมีขนำดยำว 5 ฟุต ใช้พลังงำนไฟฟ้ำและใช้ relay แทนเฟือง
แต่ยังทำงำนได้ช้ำคือใช้เวลำประมำณ 3-5 วินำทีสำหรับกำรคูณ
กำรพัฒนำที่สำคัญกับ Mark I ได้เกิดขึ้นปี 1946 ดดย Jonh Preper Eckert, Jr. และ Dr. Jonh W.Msuchly จำก
University of Pennsylvnia
ได้ออกแบบสร้ำงเครื่อง ENIAC ( Electronic Numeric Integator and Calcuator ) ซึ่งทำงำนได้เร็วอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วน
ล้ำนวินำทีในขณะที่ Mark I
ทำงำนอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วนพันล้ำนเท่ำ โดยหัวใจของควำมสำเร็จนี้ อยู่ที่กำรใช้หลอดสูญญำกำศมำแทนที่ relay นั่นเอง
และถัดจำกนั้น Mauchly และ Eckert ก็ทำกำรสร้ำง UNIVAC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อกำรค้ำเครื่องแรกของโลก
เครื่อง ENIAC สูง 10 ฟุต กว้ำง 10 ฟุต และยำว 10 ฟุต
กำรพัฒนำที่สำคัญได้เกิดขึ้นมำอีก เมื่อ Jonh von Neumann ซึ่งเป็นที่ปรึกษำของโครงกำร ENIAC ได้เสนอแผนสำหรับคอมพิวเตอร์เครื่อง
แรก
ที่จะทำกำรเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยโปรแกรมไว้ในหน่วยควำมจำที่เหมือนกับที่เก็บข้อมูลซึ่งพัฒนำกำรนี้ ทำให้สำมำรถเปลียนวงจรของคอมพิวเตอร์
ได้โดยอัตโนมัติแทนที่จะต้องทำกำรเปลี่ยนสวิทต์ด้วยมือเหมือนช่วงก่อน นอกจำกนี้ Dr. Von neumann ยังได้นำระบบเลขฐำนสองมำใช้ใน
คอมพิวเตอร์
ซึ่งหลักกำรต่ำงๆเหล่ำนี้ ได้ทำให้เครื่อง IAS ที่สร้ำงโดย Dr. von Neumann เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์เครื่องแรกของโลกเป็นกำรเปิด
ศักรำช
ของคอมพิวเตอร์อย่ำงแท้จริงและยังได้เป็นบิดำคอมพิวเตอร์คนที่ 2
ยุคของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง สำมำรถแบ่งออกได้โดยแบ่งส่วนประกอบของฮำร์ดแวร์ (Hardward ) เป็น 5 ยุคด้วยกัน
ยุคที่ 1 (The First Generation)ปี ค.ศ. 1951 – 1958
คอมพิวเตอร์ในยุคแรกนี้ ใช้หลอดสูญญำกำศในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ต้องกำรกำลังไฟฟ้ำเลี้ยงวงจรที่มีปริมำณมำกและทำให้มีควำมร้อน
เกิดขึ้นมำกจึงต้องติดตั้งเครื่องในห้องปรับอำกำศ ควำมเร็วในกำรทำงำนเป็นวินำที เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนำดใหญ่ สื่อที่ใช้ในกำรเก็บข้อมูล คือ บัตรเจำะรู
ภำษำคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมกำรทำงำน คือ ภำษำเครื่องซึ่งเป็นภำษำที่ใช้รหัสเลขฐำนสอง ทำให้เข้ำใจยำก
สรุป
อุปกรณ์ : ใช้หลอดไฟสูญญำกำศและวงจรไฟฟ้ำ
หน่วยวัดควำมเร็ว : วัดเป็นวินำที ( Second)
ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์ : ภำษำเครื่อง (Machine Language)
เครื่อง ENIAC สูง 10 ฟุต กว้ำง 10 ฟุต และยำว 10 ฟุต
MARK I
ยุคที่ 2 (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 – 1964
เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนำดเล็กลง กินไฟน้อยลง รำคำถูกลง เพรำะมีกำรประดิษฐ์ทรำนซิสเตอร์ขึ้นมำใช้แทนหลอดสูญญำกำศ ทำให้ทำงำนได้เร็วขึ้น ควำมเร็วใน
กำรทำงำนเท่ำกับ 1/103 วินำที (มิลลิเซคคั่น) และได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องมำกกว่ำใช้หลอดสูญญำกำศ ทรำนซิสเตอร์มีขนำดเล็กกว่ำหลอดสูญญำกำศ 200 เท่ำ และ
ได้มีกำรสร้ำงวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic core) มำใช้แทนดรัมแม่เหล็ก (Magnetic drum) เป็นหน่วยควำมจำภำยในซึ่งใช้ในกำรเก็บข้อมูล
และชุดคำสั่ง
ภำษำคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรแกรมในยุคที่ 2 นี้ คือ ภำษำแอสแซมบลี้ (Assembly) ซึ่งเป็นภำษำที่ใช้สัญลักษณ์แทนคำสั่งต่ำง ๆ ทำให้เขียนโปรแกรมได้
ง่ำยกว่ำภำษำเครื่องเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น IBM 1620,IBM 401, Honeywell
สรุป
อุปกรณ์ : ใช้ทรำนซิสเตอร์(Transistor) แทนหลอดไฟสูญญำกำศ
หน่วยวัดควำมเร็ว : วัดเป็นมิลลิวินำที ( Millisecond)
ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์ : ภำษำแอสแซมบลี (Assembly) , ภำษำฟอร์แทรน (FORTRAN)
ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 1620, IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 , Honey Well
ยุคที่ 3 (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 – 1970
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนำมำใช้ในยุคนี้ เป็นวงจรรวม หรือ เรียกว่ำไอซี (IC : Integrated Circuit) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่น
ซิลิคอน (silicon) บำง ๆ ที่ เรียกว่ำ ซิป (Chip) ในซิปแต่ละตัวจะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลำยพันตัว จึงทำให้คอมพิวเตอร์มีขนำดเล็ลงกว่ำเดิมแต่
ควำมเร็วในกำรทำงำนสูงขึ้น ควำมเร็วในกำรทำงำนเป็น 1/106 วินำที่ (ไมโครเซคคั่น) กินไฟน้อยลง ควำมร้อนลดลงปละประสิทธิภำพในกำรทำงำนเพิ่มขึ้น
แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะเป็นวงจรรวม คอมพิวเตอร์จะถูกออกแบบเพื่อใช้กับงำนแต่ละอย่ำง เช่น ใช้ในงำนคำนวณหรือใช้กับงำนธุรกิจ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนำมำใช้
วงจรรวมก็สำมำรถใช้กับงำนที่ซับซ้อนได้มำกขึ้น
IBM 360 เป็นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมที่สำมำรถทำงำนได้ทั้งกำรประมวลผลแฟ้มข้อมูล และวิเครำะห์ค่ำทำงคณิตศำสตร์ ต่อมำบริษัท DEC
(Digital Equiptment Corporation) ได้หันมำมุ่งผลิตคอมพิวเตอร์ขนำดเล็ก เพื่อหลีกเลี่ยงกำรแข่งขันกับ IBM มินิคอมพิวเตอร์
(Minicomputer) จึงถูกพัฒนำขึ้นเป็นครั้งแรก ในช่วงยุคที่ 2 และนิยมใช้กันแพร่หลำย DEC ได้แนะนำมินิคอมพิวเตอร์เครื่องแรก และ PDP1 เป็นหนึ่ง
ในมินิคอมพิวเตอร์ยุคแรกที่นิยมใช้กันแพร่หลำยโดยเฉพำะในกลุ่มของนักวิทยำศำสตร์ นักวิศวกร และนักวิจัยตำมมหำวิทยำลัย เทคโนโลยีทำงด้ำนซอฟต์แวร์ก็เกิดขึ้น
โปรแกรมมำตรฐำนได้ถูกเขียนขึ้นเพื่อใช้งำนกับคอมพิวเตอร์ที่เป็นวงจรรวม และใช้เครื่องมำหลังจำกที่ได้มีกำรปรับปรุงทำงด้ำนฮำร์ดแวร์
สรุป
อุปกรณ์ : ใช้วงจรแบบไอซี (IC) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่น ซิลิกอน ( Silicon)ที่เรียกว่ำ Chip
หน่วยวัดควำมเร็ว : วัดเป็นไมโครวินำที ( Microsecond)
ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์ : COBOL , PL/1 , RPG , BASIC
ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 360 , CDC 3300 , UNIVAC 9400 BURROUGH 7500 , PDP1
Honey Well
ยุคที่ 4 (The fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971
ในยุคนี้ ได้มีกำรพัฒนำเอำวงจรรวมหลำย ๆ วงจรมำรวมเป็นวงจรขนำดใหญ่ เรียกว่ำ LSI (Large Scalue Integrated) ลงในซิปแต่
ละอัน บริษัทอินเทล (Intel) ได้สร้ำงไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซึ่งเป็นซิป 1 อัน ที่ประกอบด้วยวงจรทั้งหมดที่ต้องใช้ในกำร
ประมวลผลโปรแกรม
ไมโครโปรเซสเซอร์ซิปที่ใช้ในเครื่องพีซี (PC : Personal Computer) มีขนำดกระทัดรัดประกอบด้วยส่วนประกอบของ ซีพียู (CPU)
2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) และ หน่วยคำนวณและตรรก (Arithmetic / Logic Unit)
ปัจจุบันได้มีกำรสร้ำงวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลำยหมื่นวงจรรวมอยู่ในซิปเดียว เป็นวงจร LSI (Large Scalue Integrated) และ
VLSI (Very Large Scale Integrated) ในยุคนี้ ได้มีกำรสร้ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนำดเล็ก ขนำดกลำง และขนำดใหญ่ ได้แก่
ไมโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับควำมนิยมมำกเพรำะ
มีขนำดเล็ก กระทัดรัดและรำคำถูกแต่มีประสิทธิภำพเพิ่มขึ้น ทำงำนเร็วขึ้น ควำมเร็วในกำรทำงำนเป็น 1/109 วินำที (นำโนเซคคั่น) และ 1/1012
วินำที (พิโคเซคคั่น) นอกจำกนี้ วงจร LSI ยังได้ถูกนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่เป็นกำรลด ค่ำใช้จ่ำยพร้อมกับเพิ่มประสิทธิภำพในกำร
ทำงำน
UNIVAC
สรุป
อุปกรณ์ : ใช้ระบบ LSI ( Large Scale Integrated ) ซึ่งเป็นวงจรที่ประกอบด้วยทรำนซิสเตอร์หลำยพันตัวและต่อมำได้รับกำรพัฒนำปรับปรุง
เป็น VLSI ซึ่งก็คือ Microprocessor หรือ CPU
หน่วยวัดควำมเร็ว : วัดเป็นนำโนวินำที ( Nanosecond) และพิโควินำที (Picosecond)
ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์ : ภำษำปำสคำล (PASCAL) , ภำษำซี (C)
ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 370
เนื่องจำกกำรเพิ่มควำมจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนำขึ้น เพื่อให้สำมำรถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจำนวณมหำ
ศำลที่ถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐำนข้อมูล (Data base ) นอกจำกนี้ ยังมีกำรถือกำเนิดขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเครื่อง
Altair ซึ่งใช้ชิฟ intel 8080 และถัดจำกนั้นก็เป็นยุคของเครื่อง และ ตำมลำดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มีกำรพัฒนำให้เป็นมิตรกับผู้ใช้ มีขนำดใหญ่
และซับซ้อนมำกขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีกำรนำเทคนิคต่ำง ๆ เช่น OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual
Programming มำเป็นเครื่องมือช่วยในกำรพัฒนำ
กำรพัฒนำที่สำคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือกำรพัฒนำเครื่อข่ำยคอมพิวเตอร์ควำมเร็วสูง ทำให้คอมพิวเตอร์สำมำรถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยกำรใช้งำน
ภำยในองค์กรนั้น ระบบเครื่อข่ำยท้องถิ่น (Local Araa Networks) ซึ่งนิยมเรียกว่ำ แลน (LANs) จะมีบทบำทในกำรเชื่องโยงเครื่องนับร้อยเข้ำ
ด้วยกันในพื้นที่ห่ำงไกลกันนัก ส่วนระบบเครื่องข่ำยระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทำหน้ำที่เชื่อมโยงเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่ำงไกลคนละซีกโลกเข้ำด้วยกัน
ยุคที่ 5 (The Fifth Generation) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 - 1989
ในยุคที่ 4 และยุคที่ 5 ก็จัดเป็นยุคของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันแต่ในยุคที่ 5 นี้ มีกำรใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยกำรจัดกำรและนำมำใช้สนับสนุนกำรตัดสินใจของ
ผู้บริหำรจึงเกิดสำขำ MIS (Management Information System) ขึ้น
ในปี ค.ศ 1980 ญี่ปุ่นได้พยำยำมที่จะสร้ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สำมำรถคิดและ ตัดสินใจได้เอง โดยสร้ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี “สติปัญญำ” เพื่อใช้ในกำร
ตัดสินใจแทนมนุษย์จึงเกิดสำขำใหม่ขึ้นเรียกว่ำ สำขำปัญญำประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) สำขำปัญญำประดิษฐ์เป็นสำขำที่เน้นถึงควำม
พยำยำมในกำรนำเอำกระบวนกำรทำงควำมคิดของมนุษย์มำใช้ในกำร แก้ปัญหำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ นอกจำกนี้ มีกำรตื่นตัวในกำรจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบ
ฐำนข้อมูล (Database) กำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้กับงำนทำงด้ำนกรำฟิก และมีกำรพัฒนำซอฟต์แวร์ (Software) เพื่อใช้กับงำนเฉพำะอย่ำง เช่น งำน
กำรเงิน งำนงบประมำณ งำนบัญชี งำนสต๊อกสินค้ำ เป็นต้น
IBM 370
ยุคที่ 6 (Sixth Generation) ปี ค.ศ. 1990- ปัจจุบัน
ที่ผ่ำนมำทั้ง 5 ยุค พัฒนำกำรของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทำงกำรปรับปรุงกำรผลิต และกำร เสริมสร้ำงควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรคำนวณของ
คอมพิวเตอร์
เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นกำรจำกัด ควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรป้อนข้อมูล ในปัจจุบัน ควำมต้องกำรทำงด้ำนกำรป้อนข้อมูลอย่ำงอิสระ โดยใช้เสียงและภำพ ซึ่ง
ถือเป็น
กำรป้อนข้อมูลโดยธรรมชำตินั้นสูงขึ้นเรื่อยๆ ควำมต้องกำรคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ไม่เป็นเพียงแต่เครื่องคำนวณ จึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งควำม
ต้องกำร
ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรแก้ปัญหำสังคม เศรษฐกิจ อุตสำหกรรม เทคโนโลยี กำรติดต่อระหว่ำงประเทศและอื่น ๆ ในช่วงทศวรรษปี 1990 เช่น
1) กำรพัฒนำด้ำนกำรผลิตของอุตสำหกรรม กำรตลำด ธุรกิจ
2) กำรพัฒนำทำงด้ำนกำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงประเทศ
3) กำรช่วยเหลือทำงด้ำนกำรประหยัดพลังงำน
4) กำรแก้ไขปัญหำของสังคม กำรศึกษำ กำรแพทย์
ควำมสำมำรถที่คอมพิวเตอร์ยุคที่ 6 ควรจะมี อำจแบ่งได้ดังนี้
1) กำรพัฒนำปัญญำให้คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสำมำรถนำไปใช้เป็นผู้ช่วยของมนุษย์ได้ สำหรับกำรพัฒนำด้ำนปัญญำของคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่ำ AI
(artificial intelligence) อำจกล่ำวได้ว่ำเป็นกำรพัฒนำด้ำนกำรป้อนข้อมูลด้วยเสียงและภำพ ควำมสำมำรถในกำรโต้ตอบด้วยภำษำพูด
ควำมสำมำรถในกำรเก็บข้อมูลในด้ำนควำมรู้และกำรนำควำมรู้ไปใช้ กำรค้นหำควำมรู้จำกข้อมูลมหำศำสล และอื่น ๆ
2) กำรลดควำมยำกลำบำกในกำรผลิตซอฟต์แวร์ เป็นกำรพัฒนำทำงด้ำนกำรเขียนโปรแกรม พัฒนำ ภำษำของโปรแกรมให้ง่ำยขึ้น วิธีกำรติดต่อกับผู้ใช้
และอื่น ๆ
https://www.youtube.com/w
atch?v=gPHw1TJZCfY
Youtube ที่
เกี่ยวข้อง
ผู้จัดทำ
น.ส.ธมลวรรณ พูนแก้ว
ชั้นม.5/3 เลขที่30
น.ส.กัญญำวีร์ ศรีพงษ์ประไพ
ชั้นม.5/3 เลขที่34

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมnawapornsattasan
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1Sindy Lsk
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นBeerza Kub
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ Pingsdz Pingsdz
 
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นRogozo Joosawa
 
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1Jansri Pinkam
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 

What's hot (17)

ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Comandtechno1
Comandtechno1Comandtechno1
Comandtechno1
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 

Viewers also liked

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Ploy Wantakan
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์Tang Pruedsapol
 
อุปกรณ์
อุปกรณ์อุปกรณ์
อุปกรณ์npitpon5678
 
Technology computer
Technology computerTechnology computer
Technology computerjubxjangg
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์RiewRue2
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)Nipat Deenan
 
Technology computer
Technology computerTechnology computer
Technology computertangsfq
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ chanakan12
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์SittichaiSppd
 
งานนะจ่ะ
งานนะจ่ะงานนะจ่ะ
งานนะจ่ะkao20082543
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4pp77772542
 
รีพีตเตอร์123
รีพีตเตอร์123รีพีตเตอร์123
รีพีตเตอร์123mayochikijo
 

Viewers also liked (20)

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์
อุปกรณ์อุปกรณ์
อุปกรณ์
 
Technology computer
Technology computerTechnology computer
Technology computer
 
G,kl n
G,kl nG,kl n
G,kl n
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
 
Technology computer
Technology computerTechnology computer
Technology computer
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Google glass
Google glassGoogle glass
Google glass
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Hololens
HololensHololens
Hololens
 
งานนะจ่ะ
งานนะจ่ะงานนะจ่ะ
งานนะจ่ะ
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Emailกัญญาวีร์
Emailกัญญาวีร์Emailกัญญาวีร์
Emailกัญญาวีร์
 
าา
 
รีพีตเตอร์123
รีพีตเตอร์123รีพีตเตอร์123
รีพีตเตอร์123
 
Com
ComCom
Com
 

Similar to วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นPises Tantimala
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..jurinthip
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอCreampyyy
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอCreampyyy
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์Arnon2516
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการdollar onohano
 

Similar to วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (20)

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  2แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  2
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 

More from Kanyawee Sriphongpraphai

นาย นิพัทธ์ ดีนาน ม
นาย นิพัทธ์ ดีนาน มนาย นิพัทธ์ ดีนาน ม
นาย นิพัทธ์ ดีนาน มKanyawee Sriphongpraphai
 
นางสาว กัญญาวีร์ ศรีพงษ์ประไพ ม
นางสาว กัญญาวีร์ ศรีพงษ์ประไพ มนางสาว กัญญาวีร์ ศรีพงษ์ประไพ ม
นางสาว กัญญาวีร์ ศรีพงษ์ประไพ มKanyawee Sriphongpraphai
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peoplewareบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ PeoplewareKanyawee Sriphongpraphai
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peoplewareบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ PeoplewareKanyawee Sriphongpraphai
 
ใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจKanyawee Sriphongpraphai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 

More from Kanyawee Sriphongpraphai (20)

ออ
ออออ
ออ
 
Workcom3
Workcom3Workcom3
Workcom3
 
Workcom2
Workcom2Workcom2
Workcom2
 
Workcom1
Workcom1Workcom1
Workcom1
 
ข่าวคอม
ข่าวคอมข่าวคอม
ข่าวคอม
 
นาย นิพัทธ์ ดีนาน ม
นาย นิพัทธ์ ดีนาน มนาย นิพัทธ์ ดีนาน ม
นาย นิพัทธ์ ดีนาน ม
 
ข่าว พรบ.คอม
ข่าว พรบ.คอมข่าว พรบ.คอม
ข่าว พรบ.คอม
 
อุปกรณ์เสริม
อุปกรณ์เสริมอุปกรณ์เสริม
อุปกรณ์เสริม
 
G,kl n
G,kl nG,kl n
G,kl n
 
อุปกรณ์เสริม
อุปกรณ์เสริมอุปกรณ์เสริม
อุปกรณ์เสริม
 
อุปกรณ์เสริม
อุปกรณ์เสริมอุปกรณ์เสริม
อุปกรณ์เสริม
 
นางสาว กัญญาวีร์ ศรีพงษ์ประไพ ม
นางสาว กัญญาวีร์ ศรีพงษ์ประไพ มนางสาว กัญญาวีร์ ศรีพงษ์ประไพ ม
นางสาว กัญญาวีร์ ศรีพงษ์ประไพ ม
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peoplewareบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peoplewareบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
 
นัท
นัทนัท
นัท
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
ใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
 
Com
ComCom
Com
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 2. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์ ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์อำจกล่ำวได้ว่ำมำจำกแนวควำมคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนำเป็นวิธีกำรคำนวณต่ำง ๆ รวมทั้ง อุปกรณ์ที่ช่วยในกำรคำนวณอย่ำงง่ำย ๆ คือ" กระดำนคำนวณ" และ "ลูกคิด" ในศตวรรษที่ 17 เครื่องคำนวณแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กำเนิดขึ้นจำกนักคณิตศำสตร์ชำว ฝรั่งเศษคือ Blaise Pascal โดยเครื่องของเขำสำมำรถคำนวณกำรบวกกำรลบได้อย่ำงเที่ยงตรง และในศตวรรษเดียวกันนักคณิตศำสตร์ชำวเยอร์มัน คือ Gottried Wilhelm von Leibniz ได้สร้ำงเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สำมำรถคูณและหำรได้ด้วย ในต้นศตวรรษที่ 19 ชำวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนำเครื่องทอผ้ำที่สำมำรถตั้งโปรแกรม ได้ โดยเครื่องทอผ้ำนี้ ใช้บัตรขนำดใหญ่ ซึ่งได้เจำะรูไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลำยที่จะปัก บัตรเจำะรู(punched card) ที่ Jacquard ใช้นี้ ได้ถูกพัฒนำ ต่อๆมำโดยผู้อื่น เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูล และโปรแกรมเข้ำเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ
  • 3. ต่อมำในศตวรรษเดียวกัน ชำวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทำกำรสร้ำงเครื่องสำหรับแก้สมกำรโดยใช้พลังงำนไอน้ำเรียกว่ำ difference engine และถัดจำกนั้นได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เมื่อเขำได้ทำกำรออกแบบ เครื่องจักรสำหรับทำกำรวิเครำะห์ (analytical engine) โดยใช้พลังงำนจำกไอน้ำ ซึ่งได้มีกำรออกแบบให้ใช้บัตรเจำะรูของ Jacquard ในกำรป้อนข้อมูล ทำให้อุปกรณ์ชิ้นนี้ มีหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล และหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ครบตำมรูปแบบของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ แต่โชคไม่ดีที่แม้ว่ำแนวควำมคิดของเขำจะถูกต้องแต่เทคโนโลยีในขณะนั้น ไม่เอื้ออำนวยต่อกำรสร้ำงเครื่องที่สำมำรถทำงำนได้จริง อย่ำงไรก็ดี Charles Babbage ก็ได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นบิดำของคอมพิวเตอร์คนแรก และผู้ร่วมงำนของเขำคือ Augusta Ada Byron ก็ได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก
  • 4. เครื่อง Difference Engine ของ Charles Babbage จำกนั้นประมำณปี ค.ศ. 1886 Dr.Herman Hollerith ได้พัฒนำเครื่องจัดเรียงบัตรเจำะรูแบบ electromechanical ขึ้นซึ่งทำงำน โดยใช้พลังงำนไฟฟ้ำ และสำมำรถทำกำร จัดเรียง (sort) และ คัดเลือก (select) ข้อมูลได้ ต่อมำในปี ค.ศ. 1896 Hollerith ได้ทำกำรก่อตั้งบริษัทสำหรับเครื่องจักรใน กำรจัดเรียงชื่อ Tabulating Machine Company และในปี ค.ศ.1911 Hollerith ได้ขยำยกิจกำรโดยเข้ำหุ้นกับบริษัทอื่นอีก 2 บริษัทจัดตั้งเป็น บริษัท Computing -Tabulating-Recording-Company ซึ่งประสบควำมสำเร็จเป็นอย่ำงมำก และในปี ค.ศ. 1924 ได้เปลี่ยนชื่อ เป็น International Business Corporation หรือที่รู้จักกันต่อมำในชื่อของบริษัท IBM นั่นเอง
  • 5. เครื่องจัดเรียงบัตรเจำะรูของ Dr. Her Hollerith ในปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จำก Harvard University ได้ร่วมมือกับบริษัท IBM ออกแบบคอมพิวเตอร์โดยใช้ ทฤษฎีของBabbage และในปี ค.ศ.1944 Harvard mark I ก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ซึ่งมีขนำดยำว 5 ฟุต ใช้พลังงำนไฟฟ้ำและใช้ relay แทนเฟือง แต่ยังทำงำนได้ช้ำคือใช้เวลำประมำณ 3-5 วินำทีสำหรับกำรคูณ กำรพัฒนำที่สำคัญกับ Mark I ได้เกิดขึ้นปี 1946 ดดย Jonh Preper Eckert, Jr. และ Dr. Jonh W.Msuchly จำก University of Pennsylvnia ได้ออกแบบสร้ำงเครื่อง ENIAC ( Electronic Numeric Integator and Calcuator ) ซึ่งทำงำนได้เร็วอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วน ล้ำนวินำทีในขณะที่ Mark I ทำงำนอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วนพันล้ำนเท่ำ โดยหัวใจของควำมสำเร็จนี้ อยู่ที่กำรใช้หลอดสูญญำกำศมำแทนที่ relay นั่นเอง และถัดจำกนั้น Mauchly และ Eckert ก็ทำกำรสร้ำง UNIVAC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อกำรค้ำเครื่องแรกของโลก
  • 6. เครื่อง ENIAC สูง 10 ฟุต กว้ำง 10 ฟุต และยำว 10 ฟุต กำรพัฒนำที่สำคัญได้เกิดขึ้นมำอีก เมื่อ Jonh von Neumann ซึ่งเป็นที่ปรึกษำของโครงกำร ENIAC ได้เสนอแผนสำหรับคอมพิวเตอร์เครื่อง แรก ที่จะทำกำรเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยโปรแกรมไว้ในหน่วยควำมจำที่เหมือนกับที่เก็บข้อมูลซึ่งพัฒนำกำรนี้ ทำให้สำมำรถเปลียนวงจรของคอมพิวเตอร์ ได้โดยอัตโนมัติแทนที่จะต้องทำกำรเปลี่ยนสวิทต์ด้วยมือเหมือนช่วงก่อน นอกจำกนี้ Dr. Von neumann ยังได้นำระบบเลขฐำนสองมำใช้ใน คอมพิวเตอร์ ซึ่งหลักกำรต่ำงๆเหล่ำนี้ ได้ทำให้เครื่อง IAS ที่สร้ำงโดย Dr. von Neumann เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์เครื่องแรกของโลกเป็นกำรเปิด ศักรำช ของคอมพิวเตอร์อย่ำงแท้จริงและยังได้เป็นบิดำคอมพิวเตอร์คนที่ 2 ยุคของคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง สำมำรถแบ่งออกได้โดยแบ่งส่วนประกอบของฮำร์ดแวร์ (Hardward ) เป็น 5 ยุคด้วยกัน ยุคที่ 1 (The First Generation)ปี ค.ศ. 1951 – 1958 คอมพิวเตอร์ในยุคแรกนี้ ใช้หลอดสูญญำกำศในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ต้องกำรกำลังไฟฟ้ำเลี้ยงวงจรที่มีปริมำณมำกและทำให้มีควำมร้อน เกิดขึ้นมำกจึงต้องติดตั้งเครื่องในห้องปรับอำกำศ ควำมเร็วในกำรทำงำนเป็นวินำที เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนำดใหญ่ สื่อที่ใช้ในกำรเก็บข้อมูล คือ บัตรเจำะรู ภำษำคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมกำรทำงำน คือ ภำษำเครื่องซึ่งเป็นภำษำที่ใช้รหัสเลขฐำนสอง ทำให้เข้ำใจยำก สรุป อุปกรณ์ : ใช้หลอดไฟสูญญำกำศและวงจรไฟฟ้ำ หน่วยวัดควำมเร็ว : วัดเป็นวินำที ( Second) ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์ : ภำษำเครื่อง (Machine Language)
  • 7. เครื่อง ENIAC สูง 10 ฟุต กว้ำง 10 ฟุต และยำว 10 ฟุต
  • 8. MARK I ยุคที่ 2 (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 – 1964 เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนำดเล็กลง กินไฟน้อยลง รำคำถูกลง เพรำะมีกำรประดิษฐ์ทรำนซิสเตอร์ขึ้นมำใช้แทนหลอดสูญญำกำศ ทำให้ทำงำนได้เร็วขึ้น ควำมเร็วใน กำรทำงำนเท่ำกับ 1/103 วินำที (มิลลิเซคคั่น) และได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องมำกกว่ำใช้หลอดสูญญำกำศ ทรำนซิสเตอร์มีขนำดเล็กกว่ำหลอดสูญญำกำศ 200 เท่ำ และ ได้มีกำรสร้ำงวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic core) มำใช้แทนดรัมแม่เหล็ก (Magnetic drum) เป็นหน่วยควำมจำภำยในซึ่งใช้ในกำรเก็บข้อมูล และชุดคำสั่ง ภำษำคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรแกรมในยุคที่ 2 นี้ คือ ภำษำแอสแซมบลี้ (Assembly) ซึ่งเป็นภำษำที่ใช้สัญลักษณ์แทนคำสั่งต่ำง ๆ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ ง่ำยกว่ำภำษำเครื่องเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น IBM 1620,IBM 401, Honeywell สรุป อุปกรณ์ : ใช้ทรำนซิสเตอร์(Transistor) แทนหลอดไฟสูญญำกำศ หน่วยวัดควำมเร็ว : วัดเป็นมิลลิวินำที ( Millisecond) ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์ : ภำษำแอสแซมบลี (Assembly) , ภำษำฟอร์แทรน (FORTRAN) ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 1620, IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 , Honey Well
  • 9. ยุคที่ 3 (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 – 1970 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนำมำใช้ในยุคนี้ เป็นวงจรรวม หรือ เรียกว่ำไอซี (IC : Integrated Circuit) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่น ซิลิคอน (silicon) บำง ๆ ที่ เรียกว่ำ ซิป (Chip) ในซิปแต่ละตัวจะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลำยพันตัว จึงทำให้คอมพิวเตอร์มีขนำดเล็ลงกว่ำเดิมแต่ ควำมเร็วในกำรทำงำนสูงขึ้น ควำมเร็วในกำรทำงำนเป็น 1/106 วินำที่ (ไมโครเซคคั่น) กินไฟน้อยลง ควำมร้อนลดลงปละประสิทธิภำพในกำรทำงำนเพิ่มขึ้น แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะเป็นวงจรรวม คอมพิวเตอร์จะถูกออกแบบเพื่อใช้กับงำนแต่ละอย่ำง เช่น ใช้ในงำนคำนวณหรือใช้กับงำนธุรกิจ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนำมำใช้ วงจรรวมก็สำมำรถใช้กับงำนที่ซับซ้อนได้มำกขึ้น IBM 360 เป็นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมที่สำมำรถทำงำนได้ทั้งกำรประมวลผลแฟ้มข้อมูล และวิเครำะห์ค่ำทำงคณิตศำสตร์ ต่อมำบริษัท DEC (Digital Equiptment Corporation) ได้หันมำมุ่งผลิตคอมพิวเตอร์ขนำดเล็ก เพื่อหลีกเลี่ยงกำรแข่งขันกับ IBM มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) จึงถูกพัฒนำขึ้นเป็นครั้งแรก ในช่วงยุคที่ 2 และนิยมใช้กันแพร่หลำย DEC ได้แนะนำมินิคอมพิวเตอร์เครื่องแรก และ PDP1 เป็นหนึ่ง ในมินิคอมพิวเตอร์ยุคแรกที่นิยมใช้กันแพร่หลำยโดยเฉพำะในกลุ่มของนักวิทยำศำสตร์ นักวิศวกร และนักวิจัยตำมมหำวิทยำลัย เทคโนโลยีทำงด้ำนซอฟต์แวร์ก็เกิดขึ้น โปรแกรมมำตรฐำนได้ถูกเขียนขึ้นเพื่อใช้งำนกับคอมพิวเตอร์ที่เป็นวงจรรวม และใช้เครื่องมำหลังจำกที่ได้มีกำรปรับปรุงทำงด้ำนฮำร์ดแวร์ สรุป อุปกรณ์ : ใช้วงจรแบบไอซี (IC) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่น ซิลิกอน ( Silicon)ที่เรียกว่ำ Chip หน่วยวัดควำมเร็ว : วัดเป็นไมโครวินำที ( Microsecond) ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์ : COBOL , PL/1 , RPG , BASIC ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 360 , CDC 3300 , UNIVAC 9400 BURROUGH 7500 , PDP1
  • 11. ยุคที่ 4 (The fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971 ในยุคนี้ ได้มีกำรพัฒนำเอำวงจรรวมหลำย ๆ วงจรมำรวมเป็นวงจรขนำดใหญ่ เรียกว่ำ LSI (Large Scalue Integrated) ลงในซิปแต่ ละอัน บริษัทอินเทล (Intel) ได้สร้ำงไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซึ่งเป็นซิป 1 อัน ที่ประกอบด้วยวงจรทั้งหมดที่ต้องใช้ในกำร ประมวลผลโปรแกรม ไมโครโปรเซสเซอร์ซิปที่ใช้ในเครื่องพีซี (PC : Personal Computer) มีขนำดกระทัดรัดประกอบด้วยส่วนประกอบของ ซีพียู (CPU) 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) และ หน่วยคำนวณและตรรก (Arithmetic / Logic Unit) ปัจจุบันได้มีกำรสร้ำงวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลำยหมื่นวงจรรวมอยู่ในซิปเดียว เป็นวงจร LSI (Large Scalue Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) ในยุคนี้ ได้มีกำรสร้ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนำดเล็ก ขนำดกลำง และขนำดใหญ่ ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับควำมนิยมมำกเพรำะ มีขนำดเล็ก กระทัดรัดและรำคำถูกแต่มีประสิทธิภำพเพิ่มขึ้น ทำงำนเร็วขึ้น ควำมเร็วในกำรทำงำนเป็น 1/109 วินำที (นำโนเซคคั่น) และ 1/1012 วินำที (พิโคเซคคั่น) นอกจำกนี้ วงจร LSI ยังได้ถูกนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่เป็นกำรลด ค่ำใช้จ่ำยพร้อมกับเพิ่มประสิทธิภำพในกำร ทำงำน
  • 13. สรุป อุปกรณ์ : ใช้ระบบ LSI ( Large Scale Integrated ) ซึ่งเป็นวงจรที่ประกอบด้วยทรำนซิสเตอร์หลำยพันตัวและต่อมำได้รับกำรพัฒนำปรับปรุง เป็น VLSI ซึ่งก็คือ Microprocessor หรือ CPU หน่วยวัดควำมเร็ว : วัดเป็นนำโนวินำที ( Nanosecond) และพิโควินำที (Picosecond) ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์ : ภำษำปำสคำล (PASCAL) , ภำษำซี (C) ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 370 เนื่องจำกกำรเพิ่มควำมจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนำขึ้น เพื่อให้สำมำรถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจำนวณมหำ ศำลที่ถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐำนข้อมูล (Data base ) นอกจำกนี้ ยังมีกำรถือกำเนิดขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเครื่อง Altair ซึ่งใช้ชิฟ intel 8080 และถัดจำกนั้นก็เป็นยุคของเครื่อง และ ตำมลำดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มีกำรพัฒนำให้เป็นมิตรกับผู้ใช้ มีขนำดใหญ่ และซับซ้อนมำกขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีกำรนำเทคนิคต่ำง ๆ เช่น OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programming มำเป็นเครื่องมือช่วยในกำรพัฒนำ กำรพัฒนำที่สำคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือกำรพัฒนำเครื่อข่ำยคอมพิวเตอร์ควำมเร็วสูง ทำให้คอมพิวเตอร์สำมำรถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยกำรใช้งำน ภำยในองค์กรนั้น ระบบเครื่อข่ำยท้องถิ่น (Local Araa Networks) ซึ่งนิยมเรียกว่ำ แลน (LANs) จะมีบทบำทในกำรเชื่องโยงเครื่องนับร้อยเข้ำ ด้วยกันในพื้นที่ห่ำงไกลกันนัก ส่วนระบบเครื่องข่ำยระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทำหน้ำที่เชื่อมโยงเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่ำงไกลคนละซีกโลกเข้ำด้วยกัน
  • 14. ยุคที่ 5 (The Fifth Generation) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 - 1989 ในยุคที่ 4 และยุคที่ 5 ก็จัดเป็นยุคของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันแต่ในยุคที่ 5 นี้ มีกำรใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยกำรจัดกำรและนำมำใช้สนับสนุนกำรตัดสินใจของ ผู้บริหำรจึงเกิดสำขำ MIS (Management Information System) ขึ้น ในปี ค.ศ 1980 ญี่ปุ่นได้พยำยำมที่จะสร้ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สำมำรถคิดและ ตัดสินใจได้เอง โดยสร้ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี “สติปัญญำ” เพื่อใช้ในกำร ตัดสินใจแทนมนุษย์จึงเกิดสำขำใหม่ขึ้นเรียกว่ำ สำขำปัญญำประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) สำขำปัญญำประดิษฐ์เป็นสำขำที่เน้นถึงควำม พยำยำมในกำรนำเอำกระบวนกำรทำงควำมคิดของมนุษย์มำใช้ในกำร แก้ปัญหำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ นอกจำกนี้ มีกำรตื่นตัวในกำรจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบ ฐำนข้อมูล (Database) กำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้กับงำนทำงด้ำนกรำฟิก และมีกำรพัฒนำซอฟต์แวร์ (Software) เพื่อใช้กับงำนเฉพำะอย่ำง เช่น งำน กำรเงิน งำนงบประมำณ งำนบัญชี งำนสต๊อกสินค้ำ เป็นต้น
  • 16. ยุคที่ 6 (Sixth Generation) ปี ค.ศ. 1990- ปัจจุบัน ที่ผ่ำนมำทั้ง 5 ยุค พัฒนำกำรของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทำงกำรปรับปรุงกำรผลิต และกำร เสริมสร้ำงควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรคำนวณของ คอมพิวเตอร์ เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นกำรจำกัด ควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรป้อนข้อมูล ในปัจจุบัน ควำมต้องกำรทำงด้ำนกำรป้อนข้อมูลอย่ำงอิสระ โดยใช้เสียงและภำพ ซึ่ง ถือเป็น กำรป้อนข้อมูลโดยธรรมชำตินั้นสูงขึ้นเรื่อยๆ ควำมต้องกำรคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ไม่เป็นเพียงแต่เครื่องคำนวณ จึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งควำม ต้องกำร ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรแก้ปัญหำสังคม เศรษฐกิจ อุตสำหกรรม เทคโนโลยี กำรติดต่อระหว่ำงประเทศและอื่น ๆ ในช่วงทศวรรษปี 1990 เช่น 1) กำรพัฒนำด้ำนกำรผลิตของอุตสำหกรรม กำรตลำด ธุรกิจ 2) กำรพัฒนำทำงด้ำนกำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงประเทศ 3) กำรช่วยเหลือทำงด้ำนกำรประหยัดพลังงำน 4) กำรแก้ไขปัญหำของสังคม กำรศึกษำ กำรแพทย์ ควำมสำมำรถที่คอมพิวเตอร์ยุคที่ 6 ควรจะมี อำจแบ่งได้ดังนี้ 1) กำรพัฒนำปัญญำให้คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสำมำรถนำไปใช้เป็นผู้ช่วยของมนุษย์ได้ สำหรับกำรพัฒนำด้ำนปัญญำของคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่ำ AI (artificial intelligence) อำจกล่ำวได้ว่ำเป็นกำรพัฒนำด้ำนกำรป้อนข้อมูลด้วยเสียงและภำพ ควำมสำมำรถในกำรโต้ตอบด้วยภำษำพูด ควำมสำมำรถในกำรเก็บข้อมูลในด้ำนควำมรู้และกำรนำควำมรู้ไปใช้ กำรค้นหำควำมรู้จำกข้อมูลมหำศำสล และอื่น ๆ 2) กำรลดควำมยำกลำบำกในกำรผลิตซอฟต์แวร์ เป็นกำรพัฒนำทำงด้ำนกำรเขียนโปรแกรม พัฒนำ ภำษำของโปรแกรมให้ง่ำยขึ้น วิธีกำรติดต่อกับผู้ใช้ และอื่น ๆ