SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
เทคโนโลยีด้านอาหาร
และโภชนาการ
เทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการคือ ?
เทคโนโลยีการอาหาร
เป็นหลักสูตรที่ศึกษาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตผลการเกษตรเป็น
ผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มีคุณภาพดี ปลอดภัย และสามารถเก็บรักษาได้นาน โดยใช้
กระบวนการแปรรูปด้านการใช้ความร้อน การแช่เย็น การแช่แข็ง การทาแห้ง และการใช้
สารเคมี เป็นต้น รวมทั้งการตรวจสอบคุณภาพอาหาร และการสุขาภิบาลโรงงาน
อุตสาหกรรมอาหาร โดยอาศัยหลักการวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อให้สอดคล้อง
กับนโยบายการส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ
โภชนาการ
โภชนาการ (Nutrition) หมายถึง ศาสตร์หรือความรู้เกี่ยวกับอาหาร (Food) ที่เมื่อนาเข้าสู่ร่างกาย
แล้วช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดี ทั้งในด้านการเจริญเติบโต การให้พลังงาน การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และ การสร้าง
เสริมภูมิต้านทานโรค โภชนาการจึงกินความกว้างกว่า “อาหาร” เพราะอาหารหลายชนิดที่กินแล้วรู้สึกอิ่มแต่ไม่เกิด
ประโยชน์ หรือ อาจก่อให้เกิดโทษต่อร่างกายได้ เช่น อาหารที่ปนเปื้อน ดังนั้น โภชนาการจึงต้องเรียนรู้ถึงคุณค่าหรือ
คุณประโยชน์ของ “ สารอาหาร (Nutrient) ” ที่ประกอบด้วย โปรตีน (Protein) คาร์โบไฮเดรต
(Carbohydrate) ไขมัน (Fat) วิตามิน (Vitamin) เกลือแร่ (Mineral) น้า (Water) การรู้จัก
รับประทานอาหารที่ให้สารอาหารที่เหมาะสมเพียงพอกับความต้องการของร่างกายซึ่งก็ขึ้นกับภาวะโภชนาการของ
แต่ละคนที่แตกต่างกันไปของ
ลักษณะงาน
ศึกษาและวิจัยการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรให้เป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม อาหารเพื่อใช้และบริโภค โดย
ใช้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นหลักประยุกต์ใช้ร่วมกัน โดยใช้กรรมวิธีต่าง ๆ เช่น การทาแห้ง
การใช้ความร้อน การแช่แข็ง การอาบรังสี การกลั่น การสกัด การแยก การผสม การรักษาผลิตผลการเกษตร โดย
การควบคุมอุณหภูมิและบรรยากาศ ตลอดจนกรรมวิธีการป้องกันการสูญเสียของอาหารหลังการเก็บเกี่ยว การ
ตรวจวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพอาหาร การจัดการบริหารงานโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร คุณค่าความปลอดภัย
ของอาหาร การส่งเสริมและการจาหน่ายจ่ายแจกผลิตภัณฑ์อาหาร
เทคโนโลยีที่ใช้ในด้านอาหารและโภชนาการ
RETORT / รีทอร ์ท
รีทอร์ท (retort) อาจเรียกว่า เครื่องฆ่าเชื้อ หรือ หม้อฆ่าเชื้อภายใต้แรงดัน หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้แปรรูปอาหาร
ด้วยความร้อน (thermal processing) เพื่อฆ่าเชื้ออาหารซึ่งบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิท
(hermectically sealed container) เช่น กระป๋ อง ขวดแก้ว ถุงทนร้อนสูง (retortable
pouch) โดยใช้อุณหภูมิสูงกว่า 100 องศาเซลเซียส เป็นอุปกรณ์สาคัญในการผลิตอาหารกระป๋ อง
(canning)
เป๊ ะปัง “เครื่องจักรผลิตอาหาร” ทาได้ทั้งจับจีบซาลาเปา-สานเกลียวแป้ง-ทอดเครป
การทางานของเครื่องจักรผลิตอาหาร ที่สามารถสร้างสรรค์วัตถุดิบอาหารจีนดั้งเดิม ทั้งซาลาเปา หมั่นโถว แผ่น
แป้งห่อเกี๊ยว หมาฮัวหรือขนมแป้งเกลียวทอด และเจียนปิ่งหรือเครปจีน ด้วยเวลาอันรวดเร็วและสัดส่วนเท่ากันเป๊ะ
เรียกว่าช่วยทุ่นแรงงานจนพึ่งพามนุษย์น้อยลงมากเลยทีเดียว
เครื่องจักรผลิตบิสกิตและไลน์การผลิต (BISCUIT PRODUCTION LINE)
เครื่องผลิตบิสกิตระดับอุตสาหกรรมมีกาลังการผลิตตั้งแต่ 2,000 กิโลกรัมต่อวัน จนถึง 25,000
กิโลกรัมต่อวัน สามารถผลิตบิสกิตตามสูตรที่ลูกค้าต้องการ และตามรูปร่างและขนาด โดยการเปลี่ยนแม่พิมพ์
(Mold) สามารถผลิตได้หลายชนิด เช่น บิสกิตหน้าคบีม, บิสกิตแซนด์วิช, บิสกิตแข็ง, บิสกิตอาหารสัตว์,
บิสกิตผสมผัก, บิสกิตรสผลไม้ เป็นต้น เครื่องจักรสามารถแยกสั่งซื้อ เช่น เครื่องรีดแป้งให้บาง (Vertical
Horizontal Laminator), เครื่องป้อนแป้งนิ่ม (Dough Feeding Machine), เครื่องตัด
(Cutting Machine), เครื่องแยก (Separation Machine), เครื่องพิมพ์ลาย
(Spamping Machine), เครื่องอบ (Oven), เครื่องสเปรย์เกลือหรือน้าตาล, เครื่องสเปรย์น้ามันพืช
, เครื่องลดอุณหภูมิ (Cooling Convey or) เป็นต้น
เครื่องจักรผลิตบิสกิตและไลน์การผลิต (BISCUIT PRODUCTION LINE)
การใช ้เครื่องอบแห้ง
การทาแห้งด้วยการอบ การอบเป็นการทาแห้งวิธีหนึ่งที่เกิดจากการนาอาหารไว้ในเตาอบที่มีความร้อน
สม่าเสมอ ในระยะเวลาที่เหมาะสม ซึ่งใช้เวลาการทาแห้งที่เร็วกว่าการตากแดด เพราะมีอุณหภูมิที่สูงกว่า แต่
สามารถกาหนดอุณหภูมิได้ การอบเป็นการระเหยน้าออกจากอาหารเมื่อขาดน้าจุลินทรีย์จะไม่สามารถเจริญเติบโต
ได้ เพราะไม่มีน้าไปทาปฏิกิริยากับเอนไซม์ การอบมักใช้อาหารที่มีขนาดเล็ก และมีปริมาณน้าไม่มากนัก การทา
แห้งด้วยการอบจึงไม่เหมาะสาหรับอาหารประเภทเนื้อสัตว์ซึ่งมีปริมาณน้ามากและมีขนาดใหญ่
บริษัทที่ใช้เทคโนโลยีในด้านอาหารและ
โภชนาการ
บริษัท R&B FOOD SUPPLY จากัด ( มหาชน ) ก้าวสู่ความสาเร็จอย่าง
ยั่งยืน ด้วยนวัตกรรมและการบริหาร SUPPLY CHAIN ที่ยอดเยี่ยม
บริษัท R&B FOOD SUPPLY จากัด (มหาชน) ก้าวสู่ความสาเร็จอย่างยั่งยืน ด้วยนวัตกรรมและการบริหาร
SUPPLY CHAIN ที่ยอดเยี่ยม เบื้องหลังสารพันอาหารและเครื่องดื่มที่เราคุ้นเคยและบริโภคในชีวิตประจาวัน โดย
เฉพาะที่จาหน่ายในร้านค้าปลีกรูปแบบต่างๆ ล้วนเกี่ยวพันกับ FOOD SUPPLY ด้วยกันทั้งสิ้น ทั้งในด้านการปรุงแต่ง
รสชาติ, กลิ่น, สี รวมถึงสร้างสรรค์คุณสมบัติอย่างไร ให้เหมือนกับธรรมชาติของอาหารชนิดนั้นๆมากที่สุด เพื่อให้เกิด
อรรถรสและเติมเต็มประสิทธิภาพของสินค้า ตามวัตถุประสงค์ของผลิตภัณฑ์อย่างไม่ขาดตกบกพร่อง โดยเบื้องหลังกลไกที่
สาคัญเหล่านี้มีบริษัท R&B FOOD SUPPLY จากัด (มหาชน) หรือ “RBF” ผู้นานวัตกรรมด้านกลิ่น รสชาติ
รูปลักษณ์และเนื้อสัมผัส ผู้อยู่เบื้องหลังการคิดค้นและสนับสนุนนวัตกรรมแก่บริษัทอาหารและเครื่องดื่มระดับประเทศ
มากมาย ซึ่ง “RBF” ก้าวสู่ความสาเร็จอย่างยั่งยืนทั้งในและต่างประเทศ ด้วยนวัตกรรมและการบริหาร SUPPLY
CHAIN ที่ยอดเยี่ยม
บริษัท R&B FOOD SUPPLY จากัด ( มหาชน )
“ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารซีพีเอฟ (CPF FOOD RESEARCH
AND DEVELOPMENT CENTER)
บริษัทได้ก่อตั้ง “ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารซีพีเอฟ (CPF FOOD RESEARCH AND
DEVELOPMENT CENTER)” ขึ้น ณ อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บนพื้นที่ 10 ไร่ ด้วยงบลงทุน
1,300 ล้านบาท สาหรับเป็นศูนย์กลางการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอาหาร ทั้งด้านงานวิจัยอาหารตามช่วงวัย กลุ่ม
ผลิตภัณฑ์อาหารห่วงใยสุขภาพ รวมถึงการพัฒนาสินค้าเพื่อตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมอาหารทั่วโลก โดย
มีโรงงานต้นแบบเป็นพื้นที่ในการทดลองผลิตสินค้าด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มโอกาสในการตอบสนองตลาดได้อย่าง
แม่นยาและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารซีพีเอฟมีบุคลากรที่ผสานความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเข้า
ด้วยกัน เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาหารที่รสชาติดี และมีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม รวมถึงมีกระบวนการผลิตและ
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัยและใส่ใจสิ่งแวดล้อม จากผู้เชี่ยวชาญหลากหลายด้าน อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร
ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และด้านศิลปศาสตร์การครัว รวมทั้งนักออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ จานวนกว่า 250 คน เพื่อ
ร่วมยกระดับกระบวนการทางานต้นแบบให้มีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดห่วงโซ่คุณค่าของเรา
“ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารซีพีเอฟ (CPF FOOD RESEARCH AND
DEVELOPMENT CENTER)
จบการนาเสนอ
จัดทำ
โดย

More Related Content

What's hot

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานBest Naklai
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคTANIKAN KUNTAWONG
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2gchom
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์tooktik40
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาAngkhana Nuwatthana
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกKiat Chaloemkiat
 
ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย
ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทยไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย
ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทยPattarapop Kantasan
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารWanlop Chimpalee
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptssuseradaad2
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 

What's hot (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดา
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย
ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทยไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย
ไล่ยุงด้วยสมุนไพรไทย
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงานบทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 

Similar to เทคโนโลยีด้านอาหารและโภชนาการ

เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพweerabong
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress 1234Nutthamon
 
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)Nanthakone RASPHONE
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)Roppon Picha
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืนsomporn Isvilanonda
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfPaanSuthahathai
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีnattieboice
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7Nokky Natti
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptพรพจน์ แสงแก้ว
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556Vorawut Wongumpornpinit
 
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 3
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 3สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 3
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 3Phiphat Tangchutongchai
 

Similar to เทคโนโลยีด้านอาหารและโภชนาการ (20)

เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
เรื่อง การพัฒนา web blog ด้วย wordpress
 
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
 
Nutrion fact
Nutrion factNutrion fact
Nutrion fact
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
 
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 3
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 3สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 3
สถานการณ์ภาคเกษตรการปรับตัวของเกษตรกร 3
 

เทคโนโลยีด้านอาหารและโภชนาการ

  • 2. เทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการคือ ? เทคโนโลยีการอาหาร เป็นหลักสูตรที่ศึกษาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตผลการเกษตรเป็น ผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มีคุณภาพดี ปลอดภัย และสามารถเก็บรักษาได้นาน โดยใช้ กระบวนการแปรรูปด้านการใช้ความร้อน การแช่เย็น การแช่แข็ง การทาแห้ง และการใช้ สารเคมี เป็นต้น รวมทั้งการตรวจสอบคุณภาพอาหาร และการสุขาภิบาลโรงงาน อุตสาหกรรมอาหาร โดยอาศัยหลักการวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อให้สอดคล้อง กับนโยบายการส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ
  • 3. โภชนาการ โภชนาการ (Nutrition) หมายถึง ศาสตร์หรือความรู้เกี่ยวกับอาหาร (Food) ที่เมื่อนาเข้าสู่ร่างกาย แล้วช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดี ทั้งในด้านการเจริญเติบโต การให้พลังงาน การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และ การสร้าง เสริมภูมิต้านทานโรค โภชนาการจึงกินความกว้างกว่า “อาหาร” เพราะอาหารหลายชนิดที่กินแล้วรู้สึกอิ่มแต่ไม่เกิด ประโยชน์ หรือ อาจก่อให้เกิดโทษต่อร่างกายได้ เช่น อาหารที่ปนเปื้อน ดังนั้น โภชนาการจึงต้องเรียนรู้ถึงคุณค่าหรือ คุณประโยชน์ของ “ สารอาหาร (Nutrient) ” ที่ประกอบด้วย โปรตีน (Protein) คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) ไขมัน (Fat) วิตามิน (Vitamin) เกลือแร่ (Mineral) น้า (Water) การรู้จัก รับประทานอาหารที่ให้สารอาหารที่เหมาะสมเพียงพอกับความต้องการของร่างกายซึ่งก็ขึ้นกับภาวะโภชนาการของ แต่ละคนที่แตกต่างกันไปของ
  • 4. ลักษณะงาน ศึกษาและวิจัยการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรให้เป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม อาหารเพื่อใช้และบริโภค โดย ใช้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นหลักประยุกต์ใช้ร่วมกัน โดยใช้กรรมวิธีต่าง ๆ เช่น การทาแห้ง การใช้ความร้อน การแช่แข็ง การอาบรังสี การกลั่น การสกัด การแยก การผสม การรักษาผลิตผลการเกษตร โดย การควบคุมอุณหภูมิและบรรยากาศ ตลอดจนกรรมวิธีการป้องกันการสูญเสียของอาหารหลังการเก็บเกี่ยว การ ตรวจวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพอาหาร การจัดการบริหารงานโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร คุณค่าความปลอดภัย ของอาหาร การส่งเสริมและการจาหน่ายจ่ายแจกผลิตภัณฑ์อาหาร
  • 6. RETORT / รีทอร ์ท รีทอร์ท (retort) อาจเรียกว่า เครื่องฆ่าเชื้อ หรือ หม้อฆ่าเชื้อภายใต้แรงดัน หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้แปรรูปอาหาร ด้วยความร้อน (thermal processing) เพื่อฆ่าเชื้ออาหารซึ่งบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิท (hermectically sealed container) เช่น กระป๋ อง ขวดแก้ว ถุงทนร้อนสูง (retortable pouch) โดยใช้อุณหภูมิสูงกว่า 100 องศาเซลเซียส เป็นอุปกรณ์สาคัญในการผลิตอาหารกระป๋ อง (canning)
  • 7. เป๊ ะปัง “เครื่องจักรผลิตอาหาร” ทาได้ทั้งจับจีบซาลาเปา-สานเกลียวแป้ง-ทอดเครป การทางานของเครื่องจักรผลิตอาหาร ที่สามารถสร้างสรรค์วัตถุดิบอาหารจีนดั้งเดิม ทั้งซาลาเปา หมั่นโถว แผ่น แป้งห่อเกี๊ยว หมาฮัวหรือขนมแป้งเกลียวทอด และเจียนปิ่งหรือเครปจีน ด้วยเวลาอันรวดเร็วและสัดส่วนเท่ากันเป๊ะ เรียกว่าช่วยทุ่นแรงงานจนพึ่งพามนุษย์น้อยลงมากเลยทีเดียว
  • 8. เครื่องจักรผลิตบิสกิตและไลน์การผลิต (BISCUIT PRODUCTION LINE) เครื่องผลิตบิสกิตระดับอุตสาหกรรมมีกาลังการผลิตตั้งแต่ 2,000 กิโลกรัมต่อวัน จนถึง 25,000 กิโลกรัมต่อวัน สามารถผลิตบิสกิตตามสูตรที่ลูกค้าต้องการ และตามรูปร่างและขนาด โดยการเปลี่ยนแม่พิมพ์ (Mold) สามารถผลิตได้หลายชนิด เช่น บิสกิตหน้าคบีม, บิสกิตแซนด์วิช, บิสกิตแข็ง, บิสกิตอาหารสัตว์, บิสกิตผสมผัก, บิสกิตรสผลไม้ เป็นต้น เครื่องจักรสามารถแยกสั่งซื้อ เช่น เครื่องรีดแป้งให้บาง (Vertical Horizontal Laminator), เครื่องป้อนแป้งนิ่ม (Dough Feeding Machine), เครื่องตัด (Cutting Machine), เครื่องแยก (Separation Machine), เครื่องพิมพ์ลาย (Spamping Machine), เครื่องอบ (Oven), เครื่องสเปรย์เกลือหรือน้าตาล, เครื่องสเปรย์น้ามันพืช , เครื่องลดอุณหภูมิ (Cooling Convey or) เป็นต้น
  • 10. การใช ้เครื่องอบแห้ง การทาแห้งด้วยการอบ การอบเป็นการทาแห้งวิธีหนึ่งที่เกิดจากการนาอาหารไว้ในเตาอบที่มีความร้อน สม่าเสมอ ในระยะเวลาที่เหมาะสม ซึ่งใช้เวลาการทาแห้งที่เร็วกว่าการตากแดด เพราะมีอุณหภูมิที่สูงกว่า แต่ สามารถกาหนดอุณหภูมิได้ การอบเป็นการระเหยน้าออกจากอาหารเมื่อขาดน้าจุลินทรีย์จะไม่สามารถเจริญเติบโต ได้ เพราะไม่มีน้าไปทาปฏิกิริยากับเอนไซม์ การอบมักใช้อาหารที่มีขนาดเล็ก และมีปริมาณน้าไม่มากนัก การทา แห้งด้วยการอบจึงไม่เหมาะสาหรับอาหารประเภทเนื้อสัตว์ซึ่งมีปริมาณน้ามากและมีขนาดใหญ่
  • 12. บริษัท R&B FOOD SUPPLY จากัด ( มหาชน ) ก้าวสู่ความสาเร็จอย่าง ยั่งยืน ด้วยนวัตกรรมและการบริหาร SUPPLY CHAIN ที่ยอดเยี่ยม บริษัท R&B FOOD SUPPLY จากัด (มหาชน) ก้าวสู่ความสาเร็จอย่างยั่งยืน ด้วยนวัตกรรมและการบริหาร SUPPLY CHAIN ที่ยอดเยี่ยม เบื้องหลังสารพันอาหารและเครื่องดื่มที่เราคุ้นเคยและบริโภคในชีวิตประจาวัน โดย เฉพาะที่จาหน่ายในร้านค้าปลีกรูปแบบต่างๆ ล้วนเกี่ยวพันกับ FOOD SUPPLY ด้วยกันทั้งสิ้น ทั้งในด้านการปรุงแต่ง รสชาติ, กลิ่น, สี รวมถึงสร้างสรรค์คุณสมบัติอย่างไร ให้เหมือนกับธรรมชาติของอาหารชนิดนั้นๆมากที่สุด เพื่อให้เกิด อรรถรสและเติมเต็มประสิทธิภาพของสินค้า ตามวัตถุประสงค์ของผลิตภัณฑ์อย่างไม่ขาดตกบกพร่อง โดยเบื้องหลังกลไกที่ สาคัญเหล่านี้มีบริษัท R&B FOOD SUPPLY จากัด (มหาชน) หรือ “RBF” ผู้นานวัตกรรมด้านกลิ่น รสชาติ รูปลักษณ์และเนื้อสัมผัส ผู้อยู่เบื้องหลังการคิดค้นและสนับสนุนนวัตกรรมแก่บริษัทอาหารและเครื่องดื่มระดับประเทศ มากมาย ซึ่ง “RBF” ก้าวสู่ความสาเร็จอย่างยั่งยืนทั้งในและต่างประเทศ ด้วยนวัตกรรมและการบริหาร SUPPLY CHAIN ที่ยอดเยี่ยม
  • 13. บริษัท R&B FOOD SUPPLY จากัด ( มหาชน )
  • 14. “ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารซีพีเอฟ (CPF FOOD RESEARCH AND DEVELOPMENT CENTER) บริษัทได้ก่อตั้ง “ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารซีพีเอฟ (CPF FOOD RESEARCH AND DEVELOPMENT CENTER)” ขึ้น ณ อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บนพื้นที่ 10 ไร่ ด้วยงบลงทุน 1,300 ล้านบาท สาหรับเป็นศูนย์กลางการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอาหาร ทั้งด้านงานวิจัยอาหารตามช่วงวัย กลุ่ม ผลิตภัณฑ์อาหารห่วงใยสุขภาพ รวมถึงการพัฒนาสินค้าเพื่อตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมอาหารทั่วโลก โดย มีโรงงานต้นแบบเป็นพื้นที่ในการทดลองผลิตสินค้าด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มโอกาสในการตอบสนองตลาดได้อย่าง แม่นยาและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารซีพีเอฟมีบุคลากรที่ผสานความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเข้า ด้วยกัน เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาหารที่รสชาติดี และมีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม รวมถึงมีกระบวนการผลิตและ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัยและใส่ใจสิ่งแวดล้อม จากผู้เชี่ยวชาญหลากหลายด้าน อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และด้านศิลปศาสตร์การครัว รวมทั้งนักออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ จานวนกว่า 250 คน เพื่อ ร่วมยกระดับกระบวนการทางานต้นแบบให้มีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดห่วงโซ่คุณค่าของเรา