SlideShare a Scribd company logo
1 of 100
Download to read offline
โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
จัดทาโดย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ที่ปรึกษาโครงงาน
นายสมศักดิ์ ทองปาน
ครูเชี่ยวชาญ
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
จัดทาโดย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ที่ปรึกษาโครงงาน
นายสมศักดิ์ ทองปาน
ครูเชี่ยวชาญ
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ค
เกี่ยวกับโครงงาน
หัวข้อเรื่อง : โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ศิลปะ รายวิชา นาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101
ผู้จัดทา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ระดับชั้น : ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ปรึกษาโครงงาน : นายสมศักดิ์ ทองปาน
สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การติดต่อ : โทร. 038 029050
โทรสาร 038 029051
มือถือ 081 7813788
ปีการศึกษา : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
ง
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้
ด้วยดี เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งจากครูสมศักดิ์ ทองปาน ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้
สละเวลาให้คาแนะนา ข้อคิดเห็น และได้ถ่ายทอดวิชาความรู้เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ใน
ขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ
โอกาสนี้
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณครูธัญญลักษณ์ เลิศมีศิลศรัทธา และครูพิชญา พลศิริที่ได้กรุณาให้
คาปรึกษา และคาแนะนาแก่คณะผู้จัดทา ซึ่งทาให้การทาโครงงานฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดความรู้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้นามาใช้
ประโยชน์ในโครงงานฉบับนี้ ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกาลังใจ
และความช่วยเหลือที่มีให้มาตลอด
สุดท้ายขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัวชองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่ได้
ช่วยเหลือให้การส่งเสริม สนับสนุน และเป็นกาลังใจที่สาคัญยิ่ง ตลอดจนทาให้การทาโครงงานในครั้งนี้ประสบ
ผลสาเร็จไปได้อย่างลุล่วง
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
พฤศจิกายน 2563
จ
ผู้จัดทา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ชื่อเรื่อง : โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
ที่การศึกษา : นายสมศักดิ์ ทองปาน
บทคัดย่อ
โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับนี้คณะผู้จัดทาเลือก
ทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟของชาวสุโขทัยและประวัติความเป็นมาของ
ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า มาเป็นเนื้อเรื่องในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุดนี้
ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ 1) เพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา 2) เพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์
วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียน
เล่นไฟ และ 3) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง
การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นการแสดงที่มีความยาวเนื้อเพลง
7 นาที 27 วินาที มีจุดประสงค์การแสดงเพื่อถ่ายทอดเนื้อหาเกี่ยวกับเอกลักษณ์และความสวยงามของ
ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ และประวัติของท้าวศรีจุฬาลักษณ์ โดยมีการแบ่งการแสดงเป็น 4 ตอน
ได้แก่ ตอนที่ 1 นางเรวดีนพมาศถวายตัวเข้าอยู่ในวัง ตอนที่ 2 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์และนางในประดิษฐ์กระทง
ประทีป ตอนที่ 3 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์นากระทงถวายพระร่วงเจ้า และตอนที่ 4 พระราชพิธีจองเปรียงลอยพระ
ประทีป ซึ่งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ได้ทาการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ในวันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน
พ.ศ.2563 เวลา 10.00 น. ถึง 12.30 น. ณ หอประชุมสุนทรเมธี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี
นครินทร์ ระยอง และทาการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์แบบสุ่ม
จานวน 100 คนโดยลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จานวน 10 ข้อ มี
ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.76 ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมากที่สุด โดยด้านที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุดคือ ด้าน
ภาพรวมของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ รองลงมาคือ ด้านการแสดงมีเนื้อหาที่น่าสนใจ มีความ
สร้างสรรค์, ความงดงามและลีลาในการแสดง จังหวะถูกต้องพร้อมเพรียง และด้านการแต่งกายมีความ
เหมาะสมกับการแสดง
(โครงงานมีจานวนทั้งสิ้น 100 หน้า)
ฉ
สารบัญ
หน้า
เกี่ยวกับโครงงาน ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ ค
สารบัญ ง
สารบัญรูปภาพ ช
สารบัญตาราง ฌ
สารบัญแผนภูมิ ญ
บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2
ขอบเขตของการศึกษา 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ 4
ความหมายของการส้รางสรรค์นาฏศิลป์ 4
รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ 6
นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 7
นาฏศิลป์พื้นเมือง 8
การใช้พื้นที่ การแปรแถวในการแสดง 9
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย 9
เครื่องแต่งกายในการสร้างสรรค์นาฏศิลป์ 11
อุปกรณ์ประกอบการแสดง 12
ประเพณีลอยกระทง 13
ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ สุโขทัย 13
ประวัติความเป็นมาวันลอยกระทง 15
งานลอยกระทงตามประเพณีของท้องถิ่น 17
ช
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประวัตินางนพมาศ 18
ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ 19
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
การสร้างสรรค์บทแสดง
ขั้นตอนและวิธีการสร้างสรรค์ 21
แนวคิดและแรงบันดาลใจ 21
การแบ่งช่วงการแสดง 22
การเคลื่อนไหวบนเวที และการแปรแถว 22
การประดิษฐ์แม่ท่าและกระบวนท่า 27
การแต่งกาย 46
เพลงและดนตรี 46
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 46
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ 47
การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
สถานที่การแสดง 50
ระยะเวลาที่ดาเนินการ 50
ประเมินผลการการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
เครื่องมือที่ใชในการประเมิน 51
การเก็บรวบรวมข้อมูล 52
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 52
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
วิเคราะห์ผลการทากิจกรรม 54
วิเคราะห์ผลความพึงพอใจในการดาเนินงาน 55
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการดาเนินงาน 60
อภิปรายผลการดาเนินงาน 62
ซ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ข้อเสนอแนะ 62
บรรณานุกรม 64
ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบการดาเนินงาน 67
ภาคผนวก ข หน้าที่รับผิดชอบ 74
ภาคผนวก ค แบบประเมินผลความพึงพอใจ 78
ภาคผนวก ง วิเคราะห์ผลความพึงพอใจ 80
ประวัติผู้จัดทา 85
ฌ
สารบัญรูปภาพ
หน้า
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
ภาพที่ 3.1 แถวปากผนังแบบคว่า 23
ภาพที่ 3.2 แถวปากผนังคู่ 23
ภาพที่ 3.3 แถวหน้ากระดาน 2 แถว และแถวรวมกลุ่ม 3 กลุ่ม 23
ภาพที่ 3.4 แถวปากผนัง 24
ภาพที่ 3.5 แถวสับหว่าง 24
ภาพที่ 3.6 แถวหน้ากระดานคู่ 2 กลุ่ม 24
ภาพที่ 3.7 แถวหน้ากระดานคู่ แบบที่ 1 25
ภาพที่ 3.8 แถวเฉียงคู่ 25
ภาพที่ 3.9 แถวหน้ากระดานคู่ แบบที่ 2 25
ภาพที่ 3.10 แถวสับหว่าง แบบที่ 2 26
ภาพที่ 3.11 แถวหน้ากระดานคู่ แบบที่ 1 26
ภาพที่ 3.12 แถวหน้ากระดานคู่ และแถวสับหว่าง 26
ภาพที่ 3.13-3.65 ท่าราที่ 1-30 26
ภาพที่ 3.66-3.67 การแต่งกายของผู้แสดงหญิงและผู้แสดงชาย 46
ภาพที่ 3.68-3.69 วาดโครงร่างและตัดไม้เป็นฉากหลัง 47
ภาพที่ 3.70-3.71 ทาสีกระดานไม้และลงลวดลาย 47
ภาพที่ 3.72-3.73 ติดกระดานไม้ตั้งเพื่อใช้เป็นฉากกั้น 47
ภาพที่ 3.74-3.75 ทาสีฉากกั้นขนาบข้าง 48
ภาพที่ 3.76-3.77 ตัดและผ่ากระบอกไม้ไผ่ 48
ภาพที่ 3.78-3.79 ทากระทงประทีปรูปดอกกระมุท 48
ภาพที่ 3.80-3.81 ทาโคมลอยทรงสี่เหลี่ยมและทรงกระบอก 49
ภาพที่ 3.82-3.83 ทากระดานดาและมีดพร้า 49
ภาพที่ 3.84-3.85 ตัดท่อนกล้วยและใบตอง 49
ภาพที่ 3.86-3.87 ซ้อมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 50
ภาพที่ 3.88-3.89 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการดาเนินงาน 50
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
ภาพที่ 4.1 บันทึกภาพเคลื่อนไหวการแสดงนาฏศิลป์ไทยในวันแสดงจริง 54
ภาพที่ 4.2 บันทึกภาพนิ่งการแสดงนาฏศิลป์ไทยในวันแสดงจริง 54
ญ
สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
ภาพที่ 4.3 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 55
ภาพที่ 4.4 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 55
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ภาพที่ 5.1-5.2 การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ในวันแสดงจริง 60
ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบการดาเนินงาน
ภาพที่ 1 ฉากกั้นรูปวัด 67
ภาพที่ 2 ฉากกั้นรูปพระราชวัง 67
ภาพที่ 3-4 ฉากกั้นตรงขนาบข้าง 67
ภาพที่ 5-6 กระทงประทีปรูปดอกกระมุท 68
ภาพที่ 7-8 โคมลอยทรงสี่เหลี่ยมและทรงกระบอก 68
ภาพที่ 9-10 มีดพร้าและผ้าไหม 68
ภาพที่ 11 ท่อนก้านกล้วยสาหรับทากระทง 69
ภาพที่ 12 ใบตอง 69
ภาพที่ 13-14 ซ้อมการแสดงนาฏศิลป์ 69
ภาพที่ 15-16 ซ้อมการแสดงนาฏศิลป์ 69
ภาพที่ 17-18 แต่งหน้าทาผมก่อนการแสดงจริง 50
ภาพที่ 19-20 แต่งการเตรียมตัวก่อนการแสดงจริง 50
ภาพที่ 21 ภาพรวมตอนจบของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 51
ภาพที่ 22-23 ภาพรวมสตาฟชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 51
ภาพที่ 24-25 ภาพรวมนักแสดงหญิงและชาย 51
ภาพที่ 26-27 แจกแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ชม 52
การแสดง
ฎ
สารบัญตาราง
หน้า
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับเพศผู้ตอบแบบสอบถาม 55
ตารางที่ 4.2 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 55
ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนผู้ตอบแบบประเมินในระดับความใจ 5 ระดับ 56
ตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลข้อมูล 57
ความพึงพอใจในการแสดง
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ตารางที่ 5.1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 61
ภาคผนวก ข หน้าที่รับผิดชอบ
ตารางที่ 1 หน้าที่รับผิดชอบของนักเรียนชั้นม. 6/4 ในการแสดงนาฏศิลป์ 74
ไทยสร้างสรรค์
ภาคผนวก จ วิเคราะห์ผลความพึงพอใจ
ตารางที่ 2 ผลวิเคราะห์คะแนนรวม ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยว 80
กับความพึงพอใจรายบุคคล
ตารางที่ 3 ผลวิเคราะห์คะแนนรวม ร้อยละคะแนน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน 84
มาตรฐาน และการแปลผลข้อมูลความพึงพอใจของผู้ประเมิน
ฏ
สารบัญแผนภูมิ
หน้า
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
แผนภูมิที่ 5.1 สรุปผลข้อมูลเกี่ยวกับเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม 62
แผนภูมิที่ 5.2 สรุปผลข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 61
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ
นาฏศิลป์ไทย จัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พุทธศักราช 2542 ได้ให้ความหมายของคาว่า “นาฏศิลป์” ไว้ว่า “เป็นศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรา”
ศิลปะประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมให้เกิดคุณค่ายิ่งขึ้น หรือ
เรียกว่า ศิลปะของการร้องราทาเพลง นายจันทนา รังรักษ์ กล่าวไว้ว่า การสร้างสรรค์หรือออกแบบนาฏศิลป์
ไทยเป็นสิ่งที่มนุษย์หรือศิลปินคน ๆ นั้นได้คิดค้นเพื่อให้เกิดความสวยงามมีเอกลักษณ์ มีการสอดแทรกแนวคิด
ลักษณะความเป็นอยู่หรือความเชื่อของมนุษย์ที่ต้องออกแบบให้อยู่บนพื้นฐานของธรรมชาติอย่างมีศิลปะ
วิถีชีวิตของชาวไทยที่ผูกพันกับแม่น้ามาอย่างช้านาน เมื่อถึงฤดูน้าหลากในเดือน 12 คืนที่จันทร์เต็ม
ดวง น้าจะเต็มตลิ่งสองฝั่งแม่น้า สะท้อนแสงนวลของดวงจันทร์ที่ส่องประกายลงบนผิวน้า สร้างบรรยากาศที่
สวยงาม สดชื่น และเยือกเย็น ชาวสุโขทัยจึงเริ่มประเพณีการเผาเทียน ลอยประทีปลงไปในน้าเพื่อเป็นการขอ
ขมาพระแม่คงคาที่ให้มนุษย์ได้ใช้น้าเพื่ออุปโภค บริโภค ชาวบ้านยังเชื่อว่าการสะเดาะเคราะห์ด้วยการลอย
ความทุกข์โศกโรคภัยไปกับแม่น้า ถือเป็นการบูชาพระผู้เป็นเจ้าในศาสนาพราหมณ์และสักการะรอยพระพุทธ
บาท นอกจากความเชื่อเหล่านี้แล้ว ยังมีตานานประวัติศาสตร์ของนางนพมาศ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า
ผู้มีรูปลักษณ์และคุณสมบัติที่งดงามเยี่ยงสตรีในอุดมคติ เป็นบุคคลที่ฉลาดถ่อมตัวเป็นอย่างยิ่ง จนได้ตาแหน่ง
ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ และได้สมญาว่า กวีหญิงคนแรกของไทย นางนพมาศได้คิดประดิษฐ์กระทงทาจากใบตอง
เป็นรูปดอกดอกบัว พานหมากสองชั้นร้อยกรองด้วยดอกไม้ และโคมลอยรูปดอกกระมุท ได้ถูกพระราชหทัย
พระร่วงเจ้าเป็นอย่างมาก จึงมีการนากระทงใช้ในพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีปพร้อมกับจุดตะคัน
บูชาพระรัตนตรัย วางบนฐานระเบียงโบสถ์ เกิดเป็นแสงส่องสว่างระยิบระยับ และมีเล่นพลุอย่างสวยงาม
ตระการตา ด้วยความเชื่อมุ่งมั่นของชาวไทยนี้ ชาวสุโขทัยจึงจัดงานประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟสืบ
ทอดมาจนถึงปัจจุบัน จนกลายเป็นประเพณีระดับประเทศ สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก
ความเป็นอยู่ของชาวไทยนาไปสู่ความเชื่อซึ่งก่อให้เกิดประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวสุโขทัย ที่
เล่าขานถึงความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้คนในอดีต ผลงานฝีมืออันวิจิตรสะท้อนถึงความประณีตของช่างศิลป์
ในสมัยนั้น ทั้งการเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง การสร้างสรรค์กระทง และจุดตะคันส่องสว่าง บ่งบอกถึงความ
ละเอียดอ่อนของความเป็นไทยได้อย่างน่าอัศจรรย์ใจ ด้วยเอกลักษณ์และความสวยงามของประเพณีนี้ ทาง
คณะผู้จัดทาจึงเลือกทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟและประวัติของท้าวศรี
จุฬาลักษณ์มาเป็นเนื้อเรื่องในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เพื่อเป็นการ
เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมไทยและทาการเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับศิลปะแห่งการละครและ
การฟ้อนรา
2
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับการแสดง
นาฏศิลป์ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา
2. เพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ
เป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ
3. เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง
ขอบเขตของการศึกษา
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ที่ทางคณะผู้จัดทาจะนามาใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ คือ เรื่อง
ท้าวศรีจุฬาลักษณ์กับประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ
2. ขอบเขตด้านสถานที่ สถานที่จัดซ้อมและทาการแสดง คือ หอประชุมสุนทรเมธี โรงเรียนเฉลิมพระ
เกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เลขที่ 1 หมู่ที่ 4 ตาบลนาตาขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000
3. ขอบเขตด้านประชากร ในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้น
ปีที่ 1 - 6 จานวน 1025 คนและคณะครูอาจารย์ จานวน 57 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียน
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี (แหล่งข้อมูล: swry.ac.th, ข้อมูลวันที่ 2 กรกฎาคม 2563)
4. ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่าง หรือผู้ชมเพื่อประเมินผลความพึงพอใจในการแสดงคือ นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1 - 6 และคณะครูอาจารย์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ใน
พระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
5. ขอบเขตด้านระยะเวลา ของโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ตั้งแต่
วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2563
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงศิลปะแห่งการละครที่มีการประดิษฐ์
ดัดแปลง หรือ ปรับปรุงท่าราขึ้นใหม่ให้มีความสวยงามและถูกต้องตามหลักนาฏศิลป์ไทย มีการใช้ท่าราที่ง่าย
ไม่ซับซ้อน จังหวะและเนื้อเพลงไม่ยาว และท่าราที่ไม่ซ้าท่ากันมาก
2. ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ หมายถึง ประเพณีที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และ
ขอขมาต่อพระแม่คงคา มีการลอยกระพระประทีปหรือกระทอง มักนิยมทาโคมลอย และจุดพลุไฟเล่นกัน ใน
วันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย
3
3. ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หมายถึง เรวดีนพมาศ หรือนางนพมาศ ผู้ได้ประดิษฐ์โคมรูปดอกบัว พาน
หมากสองชั้นรับแขกเมือง และพานดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย ใช้ในพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น พระราชพิธี
จองเปรียงลอยพระประทีป พระราชพิธีคเชนทรัศวสนาน พระราชพิธีจรดพระนังคัล เป็นต้น
4. ฉาก หมายถึง อุปกรณ์เสริมในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ และฉากกั้นประกอบเวทีละคร
เพื่อให้ดูสมจริงตามเนื้อเรื่องและการแสดง
5. นักแสดง หมายถึง บุคคลที่ราฟ้อนในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
6. สตาฟ หมายถึง Staff คณะผู้ทางานเบื้องหลังการแสดงราฟ้อน ทั้งฝ่ายผู้เตรียมฉากและอุปกรณ์
ฝ่ายช่างศิลป์ ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ และฝ่ายจัดทาผลการปฏิบัติงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้มีการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์
ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา
2. ได้ปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ
เป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ
3. ได้ศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การจัดทาโครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ คณะผู้จัดทาได้
ทาการศึกษาค้นคว้าแนวคิด เอกสารต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทาโครงงาน
และการแสดง ดังนี้
แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา (2561: 159) กล่าวว่า นาฏศิลป์ไทยบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของแต่
ละชาติแต่ละท้องถิ่นได้อย่างชัดเจนอีกทางหนึ่งนาฏศิลป์ไทยมีรูปแบบการแสดงที่ชัดเจนนอกจากจะแสดงเพื่อ
ความบันเทิงแล้วในการแสดงนาฏศิลป์ไทยแต่ละประเภทสามารถสื่อความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะและมองเห็น
ถึงคุณค่าความงาม ภูมิปัญญาของผู้สร้างสรรค์เห็นความงามของลีลาท่าราของนักแสดง ความไพเราะของเพลง
ที่ใช้ประกอบการแสดง ความงามของเครื่องแต่งกายแต่ละประเภท
การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ จัดเป็นหนึ่งในการพัฒนาความสามารถของมนุษย์ในด้าน
สุนทรียศาสตร์ความคิดริเริ่มในสิ่งแปลกใหม่จากประสบการณ์ การสั่งสมความรู้ การแก้ไขสถานการณ์การ
ประยุกต์ การสะท้อนสังคม การประยุกต์ปรับเปลี่ยนให้ทันกับสังคม วัฒนธรรมในโลกปัจจุบันกระบวนการ
สร้างสรรค์นาฏศิลป์เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยพัฒนาความงอกงามทางวัฒนธรรมอันหลากหลายให้เกิด
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์จึงเป็นกลไกสาคัญในการผลิตผลงานด้าน
ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ทั้งนี้ผู้สร้างสรรค์จึงมีความจาเป็นในการเข้าใจกระบวนการออกแบบผลงาน ซึ่งเป็น
หนึ่งในการประมวลองค์ความรู้ด้านนาฏศิลป์สาหรับผู้เรียนในบทนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ได้แก่ความหมายของการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ประเภทและลักษณะของ
นาฏศิลป์ รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ และคุณลักษณะผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ (ปิ่นเกศ วัชร
ปาณ, 2559: 1)
2. ความหมายของการส้รางสรรค์นาฏศิลป์
นาฏศิลป์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมายว่า ศิลปะแห่งการ
ละคร หรือการฟ้อนรา
กรมศิลปากร (2525: 29) กล่าวว่านาฏศิลป์หมายถึงการร่ายราของโขน ละครฟ้อนและระบา
อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และจาตุรงค์ มนตรีศาสตร์ (2525, หน้า 66, อ้างถึงในกีรติณ เชียงใหม่, 2547,
หน้า 27) ได้ให้ความหมายของคาว่า “นาฏศิลป์” ว่าหมายถึง การร้องราทาเพลงการให้ความบันเทิงใจอันร่วม
ด้วยความโน้มเอียงของอารมณ์ และความรู้สึกโดยอาศัยการละครเป็นหลัก หากแต่ศิลปะประเภทนี้จาต้อง
5
อาศัยการดนตรีและการร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดคุณค่าในทางศิลปะยิ่งขึ้น
การสร้างสรรค์ ตามการให้คาจัดความของราชบัณฑิตยสถาน (2554) ได้ให้ความหมายไว้ว่าสร้างให้มี
ให้เป็นขึ้น (มักใช้เป็นนามธรรม) มีลักษณะริเริ่มในทางที่ดี เช่นความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะสร้างสรรค์ นอกจากนี้
การสร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์ ยังรวมถึงการประยุกต์ ซึ่งคานิยามกล่าวว่า เป็นการนาความรู๎ในวิทยาการ
ต่าง ๆ มาปรับให้เป็นประโยชน์
การสร้างสรรค์ และการประยุกต์ ในทางนาฏศิลป์แล้วไม่สามารถแยกออกจากกันได๎อยางเด็ดขาด จึง
เป็นการสร้างขึ้นใหม่จากความรู๎พื้นฐานดั้งเดิม นาความคิดใหม่มาปรับเปลี่ยน แต่งเติมในรูปแบบใหม่ เป็นการ
สร้างองค์ความรู๎ใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม
นอกจากนี้ความหมายของการสร้างสรรค์ผลงานด้านนาฏศิลป์ มีผู้เชี่ยวชาญด้านนาฏศิลป์
หลายท่าน ได้ให้คาจากัดความไว้อย่างน่าสนใจ ดังนี้
จันทนา รังรักษ์ (2555) การสร้างสรรค์หรือออกแบบนาฏยศิลป์เป็นสิ่งที่มนุษย์หรือศิลปินคนนั้น ๆ ได้
คิดค้นเพื่อให้เกิดความสวยงามมีเอกลักษณ์มีการสอดแทรกแนวคิดลักษณะความเป็นอยู่หรือความเชื่อของ
มนุษย์ที่ต้องออกแบบให้อยู่บนพื้นฐานของธรรมชาติอย่างมีศิลปะ
ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์ ราชบัณฑิต ได้ให้ความหมายของ Choreography หรือ
นาฏยประดิษฐ์ ที่หมายความรวมถึงการสร้างสรรค์นาฏศิลป์ ไว้ว่า “นาฏยประดิษฐ์ หมายถึง การคิด การ
ออกแบบและการสร้างสรรค์ แนวคิด รูปแบบและกลวิธีแนวนาฏยศิลป์ชุดหนึ่ง ที่แสดงโดยผู้แสดงคนเดียวหรือ
หลายคน ทั้งนี้รวมถึงการปรับปรุงผลงานในอดีต นาฏยประดิษฐ์จึงเป็นการทางานที่ครอบคลุม ปรัชญา เนื้อหา
ความหมาย ท่าราท่าเต้น การแปรแถว การตั้งซุ้ม การแสดงเดี่ยว การแสดงหมู่ การกาหนดดนตรี เพลงเครื่อง
แต่งกายฉากและส่วนประกอบอื่น ๆ ที่สาคัญในการทาให้นาฏยศิลป์ชุดหนึ่งสมบูรณ์ตามที่ตั้งใจไว้ ผู้ออกแบบ
นาฏยศิลป์ เรียกกันโดยทั่วไปว่า ผู้อานวยการฝึกซ่อม หรือ ผู้ประดิษฐ์ท่ารา แต่ในที่นี้ขอเสนอคาใหม่ว่า นัก
นาฏยประดิษฐ์ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Choreography”
ฉันทนา เอี่ยมสกุล (2550) นาฏศิลป์สร้างสรรค์คือกระบวนการที่ครูนาฏศิลป์หรือศิลปินคิด
วิธีดาเนินการคิดประดิษฐ์ท่าราให้สอดคล้องกับจังหวะทานองหรือเพลงจากความคิดและความรู้สึกผ่าน
กระบวนการที่ต้องใช้ทักษะและความชานาญจนได้ผลงานที่ตนพึงพอใจ
มาลินี อาชายุทการ (2547: 3) ได้กล่าวถึง ความหมายของคาว่า Choreography มีรากศัพท์มาจาก
ภาษากรีก ดังนี้ Chores – Dance , Graphy – Write และกล่าวถึงนาฏศิลป์สร้างสรรค์ว่านาฏศิลป์สร้างสรรค์
หมายถึง การแสดงการฟ้อนราให้แปลกใหม่ ไม่เหมือนใคร การทาการฟ้อนราให้วิจิตรพิสดารในแนวทางหรือ
หลักการที่เป็นข้อมูลใหม่ แปลกใหม่ ไม่ซ้าแบบใคร (มาลินี อาชายุทธการ, 2556: 25)
พีรพงศ์ เสนไสย (2546: 2) ได้กล่าวถึงความหมายของคาว่า Choreography หมายถึง การจัดการ
ทางสรีระรางกายให้เกิดเป็นระบาโดยกระบวนการเรียงร้อยท่าทางอยางเป็นระบบโดยมีเจตนารมย์และ
วัตถุประสงค์ชัดเจน
6
จึงสรุปความหมายของการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏศิลป์ได้ว่า การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
หรือเรียกว่านาฏยประดิษฐ์ เกิดจากผู้สร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์กาหนดแนวคิดรูปแบบจากการสั่งสม
ประสบการณ์ขึ้นในชุดการแสดงที่ใหม่อย่างเป็นระบบ ผ่านนักแสดงที่ถ่ายทอดเรื่องราว อาจเป็นผลงานเดี่ยว
หรือกลุ่มก็ได้โดยอาศัยองค์ประกอบในงานศิลปะในการสร้างสรรค์งานให้ตรงเจตนาของผู้สร้างสรรค์
การสร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์ เป็นพลวัตทางสังคมและวัฒนธรรมที่สามารถขับเคลื่อนได้
ตลอดเวลาไม่จากัดเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งของสังคม สามารถก่อให้เกิดปรากฏการณ์ที่มีความสาคัญต่อ
เอกลักษณ์ของชาติ เป็นสิ่งสนับสนุนอันก่อเกิดให้เห็นถึงความงดงามในอัตลักษณ์ของชนชาติอย่างเหมาะสม
ทั้งยังเป็นเครื่องบ่งบอกถึงสายสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศอย่างทั่วถึงและใน
ขณะเดียวกันยังเป็นสิ่งช่วยผลักดันให้เอกลักษณ์นั้นคงอยู่ การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์มีความจาเป็นอย่าง
ยิ่งที่ต้องทราบถึง ประเภทและลักษณะของนาฏศิลป์ อันเป็นพื้นฐานหนึ่งของความรู้ที่จะนาไปสร้างสรรค์ได้ ซึ่ง
ผู้เขียนจะขอกล่าวในลาดับต่อไป (ปิ่นเกศ วัชรปาณ, 2559: 2)
3. รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์
การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์นั้น สามารถสร้างสรรค์นาฏศิลป์ในลักษณะของการราหรือเต้นเป็นชุด
สั้น ๆ อย่างระบาเบ็ดเตล็ดหรือเรียกว่า นาฏศิลป์สร้างสรรค์ ที่ต้องอาศัยความรู้ ประสบการณ์เดิม และนามา
สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ภายใต้ความคิดอย่างมีระบบในการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ จึงเป็นการคิดชุดการแสดง
ขึ้นมาใหม่ให้แตกต่างจากชุดที่มีอยู่เดิม ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์จากรูปแบบใดเป็นพื้นฐาน เช่น การนาเอา
12 เพลงไทยสากลมาประกอบกับจินตลีลาที่มีลักษณะมีพื้นฐานท่าราไทยแต่รูปแบบการใช้เท้า การใช้จังหวะ
ในการเคลื่อนไหวเป็นแบบการประยุกต์ท่าบัลเล่ต์
รูปแบบนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ดังกล่าวนี้ เป็นการสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นในช่วง 50 ปี และแพรหลายใน
ราวปีพ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน ที่สถาบันการศึกษาหลายแห่งเริ่มมีภาควิชานาฏยศิลป์มีการวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการด้านนาฏศิลป์ด้วยการประดิษฐ์นาฏศิลป์สร้างสรรค์ขึ้นใหม่
นอกจากนี้ยังพบว่า มีการประกวดนาฏศิลป์สร้างสรรค์ประเภทนาฏศิลป์ไทย (แบบดั้งเดิม)จากงาน
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนของสานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กาหนดการแข่งขันประเภทนี้ยิ่งส่งผลให้
การประดิษฐ์นาฏศิลป์ใหม่ ๆ เพิ่มจานวนขึ้นอยางรวดเร็ว นับเป็นปรากฎการณ์ทางวัฒนธรรมของชาติที่เกิดขึ้น
จากภูมิปัญญานักนาฏยประดิษฐ์ทุกระดับการศึกษา เน้นย้าให้เห็นว่านาฏศิลป์ไทยยังคงสืบทอด มีการปรับตัว
ให้สอดคล้องกับสังคมทุกยุคทุกสมัย
จึงแบ่งรูปแบบของการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ที่มักพบในการทาผลงานในวงการการศึกษาและ
นามาเป็นรูปแบบการสร้างสรรค์งานเพื่อใช้ในการวัดผลความรู้ด้านนาฏศิลป์ของนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ใน
หลายสถาบันเพื่อการเป็นประโยชน์ในการทาผลงานไว้ดังนี้
7
1. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
2. นาฏศิลป์ร่วมสมัย หรือนาฏศิลป์ประยุกต์
4. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ของงานศิลปหัตกรรมนักเรียนกิจกรรมนาฏศิลป์ไทย
ประยุกต์ได้ถูกยกออกจากกิจกรรมการแข่งขันนาฏศิลป์ไทย โดยได้บรรจุกิจกรรมนาฏศิลป์สร้างสรรค์เข้ามา
แทนที่จนกระทั่งถึงปัจจุบัน (ปีการศึกษา 2554) (อรรจมาภรณ์ ชัยวิสุทธิ์, 2556: 2) ซึ่งในการให้คาจากัดความ
ของการแข่งขันประเภทนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ในการประกวดนี้พบว่า มีการให้คาจากัดความแตกต่างกัน
ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 – 2558 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ คือการแสดงที่
นอกเหนือจากนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ เป็นการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่คิดประดิษฐ์ สร้างขึ้นใหม่ทั้งเพลง ดนตรี
เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่ารา สอดคล้องตามกรอบแนวคิดที่กาหนด และไม่เกี่ยวข้องกับการแสดง
นาฏศิลป์พื้นเมือง และนาฏศิลป์สากล (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64, 2558: 8)
ในปี พ.ศ. 2559 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึงการแสดงนาฏศิลป์
ไทยที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ทั้งท่ารา เพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่าราสอดคล้องตามกรอบแนวคิดที่
กาหนดขึ้น ทั้งนี้จะแสดงออกมาในรูปแบบของระบาเบ็ดเตล็ด หรือการแสดงพื้นเมืองก็ได้ (ศิลปหัตถกรรม
นักเรียน ครั้งที่ 65, 2559: 8)
ในปี พ.ศ. 2560 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงนาฏศิลป์
ไทยที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ทั้งท่ารา เพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่ารา สอดคล้องตามกรอบแนวคิด
ที่กาหนดขึ้น โดยผ่านทักษะกระบวนการกลุ่มอย่างเป็นระบบแล้ว นาเสนอในรูปแบบของโครงงานและการ
แสดง 1 ชุด ซึ่งจะออกมาในรูปแบบของประเภทระบาเบ็ดเตล็ดหรือการแสดงพื้นเมืองในเชิงสร้างสรรค์
นาฎศิลป์ไทยสร้างสรรค์ประเภทนาฏศิลป์พื้นเมือง เป็นการแสดงที่เกิดขึ้นจากการนาเอานาฏศิลป์
พื้นบ้านทั้ง 4 ภาคของไทย และรวมถึงศิลปะการแสดงพื้นบ้านตามท้องถิ่นต่าง ๆ ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง
อย่างเห็นได้ชัด นามาสร้างสรรค์ให้เห็นถึงวิถีชีวิตท้องถิ่น หรือเรียกการสร้างสรรค์นี้ได้อีกอยางหนึ่งว่า
นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ซึ่งมีทั้งจากการประดิษฐ์โดยกรมศิลปากร นานาฏศิลป์พื้นบ้าน 4 ภาคที่กรม
ศิลปากรได้ศึกษาท่าราและนาท่ารามาปรับปรุงเผยแพรโดยทั่วไป จัดว่าเป็นนาฏศิลป์มาตรฐาน (แบบแผนตาม
แบบฉบับกรมศิลปากร) ส่วนท่าราแม่บทอีสาน โนราห์ภาคใต้ หรือ ฟ้อนเล็บตามคุ้มเจ้า เหล่านี้ขอยกเป็น
นาฏศิลป์พื้นเมืองดั้งเดิมจากนี้เมื่อมีผู้ผลิตนาฏศิลป์พื้นบ้านโดยใช้ท่าดั้งเดิมอยู่มากบ้าง น้อยบ้าง และนาเนื้อ
เรื่อง บทร้อง เนื้อหาใหม่มาสร้างสรรค์ท่าราโดยใช้วงดนตรีและเพลงพื้นเมืองตามท๎องถิ่นนั้น ๆ ให้จัดว่าเป็น
นาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมืองสร้างสรรค
ปิ่นเกศ วัชรปาณ (2559: 14) ได้อธิบายไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ จึงมีลักษณะในเกณฑ์การ
ประกวดฯ ว่า มีรูปแบบที่สร้างสรรค์ท่ารา เพลง ดนตรี เครื่องแต่งกาย ในลีลาท่าราไทย ทั้งแบบ นาฏศิลป์ไทย
8
มาตรฐานหรือ แบบนาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมือง ในลักษณะการแสดงชุดสั้น ๆ หรือเรียกว่า ระบาเบ็ดเตล็ดที่
มีเนื้อหาใหม่ ภายใต้กรอบแนวคิดใหม่โดยมีผ่านกระบวนการกลุ่ม ที่มีเนื้อหาเชิงสร้างสรรค์
5. นาฏศิลป์พื้นเมือง
ในที่นี้หมายถึง นาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมืองทั้ง 4 ภาคของไทยที่สามารถนานาฏยลักษณ์มาเป็น
รูปแบบการสร้างสรรค์ ซึ่งอาจนามาเพียงโครงสร้างท่ารา หรือเลือกเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งมาประยุกต์ใหม่
เช่น นาเอาการวาดมือฟ้อนแบบภาคเหนือ มาเป็นเอกลักษณ์ในการสร้างสรรค์ท่ามาผสมผสานกับ รูปแบบเท้า
แบบบัลเล่ต์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการกาหนดแนวคิดของชุดระบา เช่น
นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ ชุดฟ้อนเล็บ
ฟ้อนเล็บหรือเรียกกันว่าฟ้อนครัวทาน ฟ้อนเมืองบ้าง ฟ้อนเล็บบ้าง ทั้ง 3 ชื่อนี้เป็นการฟ้อนชนิด
เดียวกัน แต่เรียกไปตามสถานการณ์ของการฟ้อน เช่น การฟ้อนครัวทาน คือ การฟ้อนนาขบวนแห่ของ
ชาวบ้านที่จัดขึ้นเรียกว่า “ครัวทาน” ซึ่งประกอบด้วย เครื่องอัฐบริขาร (ตั้งแต่ไม้กวาดหม้อน้ายา และเงินทอง)
เพราะประเพณีทางเหนือนั้นเมื่อพ้นการทานาแล้วชาวบ้านก็จะมุ่งทาบุญมีการบูรณะวัด เป็นต้น ถ้าหมู่บ้านใด
บูรณะวัดเรียบร้อยแล้วก็นิยมบอกบุญไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ ก็ให้มาช่วยทาบุญฉลอง เช่น ฉลองโบสถ์ วิหาร เป็น
ต้น จึงเรียกว่าฟ้อนครัวทาน หรือฟ้อนเมืองสมัยโบราณจะหาดูได้ยาก ถ้าจะดูการฟ้อนที่สวยงามและมีลีลาอัน
อ่อนช้อยต้องเป็นฟ้อนของคุ้มเจ้าหลวง เพราะผู้ฟ้อนส่วนมากล้วนแต่ฝึกหัดมาอย่างดี ใช้แสดงประกอบพิธี
เฉพาะในงานสาคัญในพระราชฐานเท่านั้นผู้ฟ้อนโดยมากล้วนแต่เป็นเจ้านายเชื้อพระวงศ์ฝ่ายในทั้งสิ้น
รูปแบบการใช้มือ การฟ้อนเล็บมีลักษณะการใช้มือที่เป็นเอกลักษณ์ในท่าการม้วนมือ บิดมือ กรายมือ
จีบส่งหลัง ทั้งที่เป็นท่าเลียนแบบธรรมชาติและท่าที่ประดิษฐ์ขึ้นในท่าแม่บทราไทยมาตรฐาน การใช้รูปแบบมือ
ของฟ้อนเล็บมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในด้านการวาดวงแขนในหลายระดับ มีการนาเอาท่าแม่บทมาผสมกับการ
แวดแขนอย่างกลมกลืน โดยเฉพาะการสวมใส่เล็บทองเหลืองที่กรีดกรายเป็นจุดเด่นของชุดการแสดงที่ทาให้
น่าสนใจ
รูปแบบการย่าเท้า ก้าวเท้า การย้าเท้าในชุดฟ้อนเล็บมีลักษณะการก้าวยืดจนสุดและย่อใหม่ในทุก ๆ
การก้าว ทาให้การฟ้อนมีความสง่างามของท่วงท่าการเคลื่อนไหว การก้าวจะเกิดทุกจังหวะของการตีกลองที่
เชื่องช้าการก้าวยืด – ย่อในลักษณะนี้ เป็นการเคลื่อนไหวที่อาศัยความพร้อมเพรียงของผู้ฟ้อน
รูปแบบการใช้ล่าตัว มีการใช้การโยนตัวไปด้านหน้า ในลักษณะผู้แสดงหันข้างเพื่อการก้าวโย้ตัว หรือ
เรียกได้ว่าเหวี่ยงตัวเพื่อเปลี่ยนจากท่าหนึ่งไปสู่อีกท่าหนึ่ง ซึ่งส่วนใหญ่แล้วในท่าฟ้อนมักจะมีการใช้ลาตัวที่ยืด
ตรง เพื่อให้เกิดความสง่าของผู้แสดง
ท่าราหลัก ได้แก่ ท่าบิดบัวบาน ท่ากังหันร่อน ท่าพิสมัยเรียงหมอน ท่าสะบัดจีบ ท่าจีบหงาย ท่าตั้งวง
หน้า
9
6. การใช้พื้นที่ การแปรแถวในการแสดง
การใช้พื้นที่บนเวทีเป็นส่วนสาคัญในการสื่อความหมายของชุดการแสดงอีกอย่างหนึ่งที่นักนาฏย
ประดิษฐ์ต้องทาความเข้าใจถึงองค์ประกอบความสาคัญบนเวที ซึ่งประกอบไปด้วย ลักษณะเวที ตาแหน่งเวที
การใช้พื้นที่ และการแปรแถว
ตาแหน่งเวที คือ บริเวณที่ใช้เป็นส่วนของการแสดงทั้งหมด มักอยู่ด้านหลังกรอบโพรซีเนียม บางครั้ง
อาจจะกาหนดให้ออกมาด้านหน้าเวทีที่ต่อเติมเป็นพิเศษ อาณาเขตของ acting area นี้จะสิ้นสุดที่ผนังของฉาก
ที่อยู่ด้านหลังสุดซึ่งอาจจะเป็นยกพื้นสูงหรือเป็นระดับพื้นปกติ เนื้อที่ของเวทีทั้งหมดอาจจะเป็น acting area
เช่นการราละครแบบที่มีเต้นราประกอบ นิยมแบ่งพื้นที่เวทีออกเป็นส่วน ๆ เพื่อความสะดวกในการทางาน
เบื้องหลังฉาก การออกแบบฉาก การแสดง และกากับการแสดง โดยอาศัยซ้ายมือและขวามือของนักแสดงเมื่อ
หันหน้ามาทางผู้ชมเป็นหลักดังนี้ คือ
1. Down stage คือ พื้นที่ของเวทีที่อยู่ใกล้กับคนดูมากที่สุด
2. Up stage คือ พื้นที่เวทีที่อยู่ด้านในที่ไกลจากผู้ชม
3. Center stage คือ พื้นที่ของเวทีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง up stage กับ down stage
4. Off stage คือ พื้นที่ด้านนอกทางซ้ายมือ ขวามือ หรือด้านหลังของพื้นที่ที่ใช้ในการแสดง
5. Back stage คือ พื้นที่ที่อยู่ด้านหลังฉาก หรือด้านหลัง cyclorama
7. องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีความงดงาม อ่อนช้อย และเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยที่อยู่คู่
ชาติไทยมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันการแสดงนาฏศิลป์ไทยแต่ละประเภทที่มีความงดงามนั้นจะต้องมี
องค์ประกอบนาศิลป์ที่ช่วยให้การแสดงมีความงดงามและสมบูรณ์ ดังนี้
การฟ้อนราเป็นท่าทางของการเยื้องกรายฟ้อนที่สวยงาม โดยมีมนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าราเหล่านั้นให้
ถูกต้องตามแบบแผน รวมทั้งบทบาท และลักษะของตัวละคร ประเภทของการแสดงและการสื่อความหมายที่
ชัดเจน
จังหวะ เป็นส่วนย่อยของบทเพลงที่ดาเนินไปเป็นระยะและสม่าเสมอ การฝึกหัดนาฏศิลป์ไทย
จาเป็นต้องใช้จังหวะเป็นพื้นฐานในการฝึกหัดเพราะจังหวะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ และมีอยู่ในตัวมนุษย์
ทุกคน หากผู้เรียนมีทักษะทางการฟังจังหวะแล้วก็สามารถราได้สวยงาม แต่ถ้าผู้เรียนไม่เข้าใจจังหวะก็จะทาให้
ราไม่ถูกจังหวะหรือเรียกว่า “บอดจังหวะ” การราก็จะไม่สวยงามและไม่ถูกต้อง
เนื้อร้องและทานองเพลง การแสดงลีลาท่าราแต่ละครั้งจะต้องสอดคล้องตามเนื้อร้อง และทานอง
เพลง ทั้งนี้เพื่อบอกความหมายของท่ารา ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในการแสดงได้ตามเนื้อเรื่อง ตลอดจน
สามารถสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจตรงกันได้ เช่น การแสดงอารมณ์รัก ผู้ราจะประสานมือทาบไว้ที่หน้าอก
ใบหน้ายิ้มละไม สายตามองไปยังตัวละครที่ราคู่กัน เป็นต้น
10
การแต่งกาย ในการแสดงนาฏศิลป์ สามารถบ่งบอกถึงยศ และบรรดาศักดิ์ของนักแสดงละครตัวนั้น ๆ
โดยเฉพาะการแสดงโขน การแต่งกายจะเปรียบเสมือนแทนสีกายของตัวละคร เช่น เมื่อแสดงเป็นหนุมาน
นักแสดงจะต้องแต่งกายด้วยชุดสีขาวมีลายปักเป็นลายทักษิณาวัตร สวมหัวโขนลิงสีขาว ปากอ้า เป็นต้น
การแต่งหน้า เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทาให้นักแสดงสวยงาม และอาพรางข้อบกพร่องบนใบหน้าของ
นักแสดงได้ นอกจากนี้ก็ยังสามารถใช้วิธีการแต่งหน้า เพื่อบอกวัยบอกลักษณะเฉพาะของตัวละครได้ เช่น
แต่งหน้านักแสดงหนุ่มให้เป็นคนแก่ แต่งหน้าให้นักแสดงเป็นตัวตลก เป็นต้น
เครื่องดนตรีที่บรรเลงประกอบการแสดง การแสดงนาฏศิลป์จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้เครื่องดนตรี
บรรเลงประกอบการแสดงดังนั้นนักแสดงจะต้องราให้สอดคล้องตามเนื้อร้อง และทานองเพลง ในขณะเดียวกัน
ดนตรีก็เป็นองค์ประกอบหลักที่สาคัญในการช่วยเสริมให้การแสดงสมบูรณ์ และสามารถสื่อความหมายได้
ชัดเจนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการแสดงให้สมจริงยิ่งขึ้นด้วย
อุปกรณ์การแสดงละคร การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุด อาจต้องมีอุปกรณ์ประกอบการแสดงละคร
ด้วย เช่น ระบาพัด ระบานกเขา ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนร่ม เป็นต้น อุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ประกอบการ
แสดงจะต้องมีความสมบูรณ์ สวยงาม และสวมใส่ได้พอดี หากเป็นอุปกรณ์ที่ต้องนามาใช้ประกอบการแสดง
เช่น กลอง ร่ม เป็นต้น นักแสดงจะต้องมีทักษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างคล่องแคล่วสามารถจัดวางตาแหน่งให้
อยู่ในระดับที่ถูกต้องสวยงาม
11
8. เครื่องแต่งกายในการสร้างสรรค์นาฏศิลป์
เครื่องแต่งกายในการสร้างสรรค์นาฏศิลป์นั้น จาเป็นต้องศึกษาเรื่องขององค์ประกอบศิลป์ในทาง
ทัศนศิลป์ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ อันได้แก่
1. ขนาดและสัดส่วน ให้มีความสัมพันธ์กันในรูปร่างของผู้แสดง ไม่ดูแล้วผิดสัดส่วน
2. ความกลมกลืน การตกแต่งจากสี วัสดุ ที่ดูแล้วโดดเด่นเป็นพิเศษ แต่เมื่อพิจารณาแล้วไม่เข้ากันก็จัด
ว่าไม่กลมกลืน
3. การตัดกัน ทาได้หลายวิธี ทั้งในด้านลวดลาย สี สามารถสร้างให้ดูแปลกตา
4. เอกภาพ มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับความกลมกลืน เอกภาพในการออกแบบการแต่งกาย
นาฏศิลป์ อาจหมายรวมถึงดูแล้วไม่ขัดตา ไม่มากจนเกินไป แต่มีความงามเฉพาะเจาะจง
5. การเน้น เป็นการเพิ่มจุดเด่นของเครื่องแต่งกาย เช่น สร้อยคอ สายสังวาล ชฎา
6. สี เป็นส่วนสาคัญในการมองเห็น การให้ความรู้สึกด้านอารมณ์ของการแสดง เพิ่มความน่าสนใจ
และเป็นสิ่งที่ในชุดระบาควรพิจารณาเป็นหลัก ตามหลักการใช้สีในจิตวิทยาให้ความรู้สึกแตกต่างกันดังนี้
สีแดง เย้ายวน ร้อนแรง เชื่อมั่น เปิดเผย
สีเหลือง ร่าเริง อ่อนโยน มีพลัง จินตนาการ สดใส
สีเขียว สุขุม เยือกเย็น
สีฟ้า ความสุขสงบ พักผ่อน สดชื่น เรียบง่าย
สีม่วง สูงส่ง สง่า ศรัทธา
สีขาว สะอาด บริสุทธิ์ นักคิด ทรงพลัง
สีดา มั่นใจ น่าเกรงขาม ดุดัน โดดเดี่ยว
สีน้าเงิน ผู้นา มั่นคง อบอุ่น
การออกแบบเครื่องแต่งกายในการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ส่วนใหญ่จะพบลักษณะเด่นสาหรับ
เครื่องแต่งกายที่ใช้ในการแสดง ซึ่งสามารถสรุปหลักการออกแบบได้ดังนี้
1. นาโครงสร้างของรูปแบบการแต่งกายมาเป็นโครงสร้างหลัก เช่น เส้นกรอบนอกของรูปทรงใน
เครื่องแต่งกายไทย ชฎา มีส่วนแหลม กระบังหน้า กรอบหน้าทรงเหลี่ยม นามาใส่รายละเอียดใหม่ภายใต้กรอบ
แนวคิดในผลงาน
2. ลักษณะของวัสดุ เช่น ผ้า ลวดลายผ้า เชือก เถาวัลย์ กระดุม ขนนก ลูกปัดเครื่องประดับโลหะ การ
ประยุกต์จากวัสดุธรรมชาตินามาเป็นส่วนเสริมให้ดูมีมิติ เพิ่มเอกลักษณ์ของชุด
3. รูปแบบเครื่องแต่งกายท้องถิ่น เช่น ชนเผ่า ใส่ผ้าพื้นเมือง ทาตัว ใส่สร้อยคอใหญ่ผู้สร้างสรรค์
สามารถนามาประยุกต์ใช้ในงานที่ต้องการแสดงถึงวัฒนธรรมท้องถิ่น
4. การใช้เครื่องแต่งกายเพื่อสื่อความหมายพิเศษ เช่น เป็นตัวเอก ตัวรอง ปีศาจ นางฟ้าพญายักษ์
เครื่องแต่งกายที่นามาออกแบบต้องสื่อความหมายในตัวอย่างชัดเจน ไม่คลุมเครือ
12
5. การใช้เครื่องแต่งกายเป็นอุปกรณ์การแสดง เช่น การออกแบบกระโปรงยาว บาน เป็นกลีบดอกไม้
ในการแสดงใช้ผู้แสดงเป็นดอกไม้ กระโปรงคือ กลีบดอกไม้ หมุนตัวตลอดเวลา ลักษณะเช่นนี้เครื่องแต่งกาย
จัดว่าเป็นหลักของการแสดงจึงต้องออกแบบให้เหมาะสม ไม่สะดุดล้ม หรือทาให้เกิดการผิดพลาดของผู้แสดง
6. ออกแบบตามจารีตปฏิบัติ เช่น เครื่องแต่งกายไทยตามแบบจารีต ไม่ควรนามาประยุกต์ในลักษณะ
การแสดงแบบมาตรฐาน หรือทาให้ผิดเพี้ยนจากเดิม เพราะเป็นเครื่องแต่งกายเลียนแบบของกษัตริย์
9. อุปกรณ์ประกอบการแสดง
อุปกรณ์ประกอบการแสดง เป็นส่วนหนึ่งที่พบในการแสดง ใช้สื่อความหมายในการแสดงลักษณะการ
เลือกใช้อุปกรณ์การแสดงในนาฏศิลป์แต่ละประเภทแตกต่างกันไป สามารถสรุปการสื่อความหมายในการใช้
อุปกรณ์ได้ดังนี้
1. นาฏศิลป์ไทยแบบมาตรฐานและพื้นเมือง
นาฏศิลป์ไทยแบบมาตรฐานและพื้นเมือง มีการใช้อุปกรณ์การแสดงเพื่อประกอบความสวยงาม และ
เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา เช่น จีนราพัด รากิ่งไม้เงินทอง ราดาบ รากริช ราพลอง ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน
ฟ้อนเก็บใบชา เซิ้งกระติ๊บ ร่อนแร่
2. นาฏศิลป์ประยุกต์
อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ประยุกต์ เป็นองค์ประกอบนาฏศิลป์ที่สาคัญอย่างหนึ่งที่ทาให้
การแสดงมีความสมบูรณ์ ซึ่งไม่มีข้อกาหนดในการเลือกใช้ที่ตายตัว ผู้สร้างสรรค์ สามารถออกแบบอุปกรณ์ได้
ตามจินตนาการ ทั้งนี้มีทั้งการสื่อความหมายเชิงนามธรรม และรูปธรรมเช่น การใช้ผ้าสีฟ้าขนาดใหญ่ มีคนถือ
ผ้าด้านข้างของเวทีทั้ง 2 ฝั่งในลักษณะขึงเป็นแนวนอนกลางเวทีสื่อถึงสายน้า ลักษณะเช่นนี้จัดว่าเป็นการสื่อ
เลียนแบบธรรมชาติที่เป็นรูปธรรมที่มีอยู่จริง ลักษณะการสื่ออุปกรณ์การแสดงแบบนามธรรม เป็นลักษณะที่
ต้องการให้เห็นถึงการเปรียบเทียบเชิงสัญลักษณ์ หรือเชิงปรัชญา เช่น การใช้กล่องกระดาษ 3 ใบ มีขนาด
ต่างกัน ในการแสดงนาฏศิลป์ประยุกต์ชุดความโลภ กล่องแต่ละใบนั้นต้องการสื่อถึง ความโลภของมนุษย์ใน
ด้านต่าง ๆ ที่ไม่เท่ากันและยังแทนความหายนะที่มนุษย์พบจุดจบในตอนท้ายเรื่อง
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์

More Related Content

What's hot

เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 

What's hot (20)

เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 

Similar to โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์

ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1JunyapornTakumnoi
 
เตรียมสอบ O net 57 ศิลปะชุด1
เตรียมสอบ O net 57  ศิลปะชุด1เตรียมสอบ O net 57  ศิลปะชุด1
เตรียมสอบ O net 57 ศิลปะชุด1jutarattubtim
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1cookie47
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1rojanasak tipnek
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ParattakornDokrueankham
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะprrimhuffy
 
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7aL43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7aThanakrit Muangjun
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2Manas Panjai
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...kruood
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนาเล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนาPutnaree Sooily
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556sawed kodnara
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdfNamkang Udchachon
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยครูเย็นจิตร บุญศรี
 

Similar to โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (20)

เทียนแพ
เทียนแพเทียนแพ
เทียนแพ
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
 
เตรียมสอบ O net 57 ศิลปะชุด1
เตรียมสอบ O net 57  ศิลปะชุด1เตรียมสอบ O net 57  ศิลปะชุด1
เตรียมสอบ O net 57 ศิลปะชุด1
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O-net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 1
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7aL43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
 
Physical
PhysicalPhysical
Physical
 
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนาเล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
 

More from ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 

More from ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล (7)

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
 
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 

โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์

  • 1. โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ จัดทาโดย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่ปรึกษาโครงงาน นายสมศักดิ์ ทองปาน ครูเชี่ยวชาญ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ จัดทาโดย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่ปรึกษาโครงงาน นายสมศักดิ์ ทองปาน ครูเชี่ยวชาญ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. ค เกี่ยวกับโครงงาน หัวข้อเรื่อง : โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ศิลปะ รายวิชา นาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101 ผู้จัดทา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ระดับชั้น : ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ปรึกษาโครงงาน : นายสมศักดิ์ ทองปาน สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การติดต่อ : โทร. 038 029050 โทรสาร 038 029051 มือถือ 081 7813788 ปีการศึกษา : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
  • 4. ง กิตติกรรมประกาศ โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยดี เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งจากครูสมศักดิ์ ทองปาน ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ สละเวลาให้คาแนะนา ข้อคิดเห็น และได้ถ่ายทอดวิชาความรู้เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ใน ขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณครูธัญญลักษณ์ เลิศมีศิลศรัทธา และครูพิชญา พลศิริที่ได้กรุณาให้ คาปรึกษา และคาแนะนาแก่คณะผู้จัดทา ซึ่งทาให้การทาโครงงานฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดความรู้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้นามาใช้ ประโยชน์ในโครงงานฉบับนี้ ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกาลังใจ และความช่วยเหลือที่มีให้มาตลอด สุดท้ายขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัวชองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่ได้ ช่วยเหลือให้การส่งเสริม สนับสนุน และเป็นกาลังใจที่สาคัญยิ่ง ตลอดจนทาให้การทาโครงงานในครั้งนี้ประสบ ผลสาเร็จไปได้อย่างลุล่วง ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล พฤศจิกายน 2563
  • 5. จ ผู้จัดทา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ชื่อเรื่อง : โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ที่การศึกษา : นายสมศักดิ์ ทองปาน บทคัดย่อ โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับนี้คณะผู้จัดทาเลือก ทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟของชาวสุโขทัยและประวัติความเป็นมาของ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า มาเป็นเนื้อเรื่องในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุดนี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ 1) เพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา 2) เพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ และ 3) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นการแสดงที่มีความยาวเนื้อเพลง 7 นาที 27 วินาที มีจุดประสงค์การแสดงเพื่อถ่ายทอดเนื้อหาเกี่ยวกับเอกลักษณ์และความสวยงามของ ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ และประวัติของท้าวศรีจุฬาลักษณ์ โดยมีการแบ่งการแสดงเป็น 4 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 นางเรวดีนพมาศถวายตัวเข้าอยู่ในวัง ตอนที่ 2 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์และนางในประดิษฐ์กระทง ประทีป ตอนที่ 3 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์นากระทงถวายพระร่วงเจ้า และตอนที่ 4 พระราชพิธีจองเปรียงลอยพระ ประทีป ซึ่งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ได้ทาการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ในวันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 เวลา 10.00 น. ถึง 12.30 น. ณ หอประชุมสุนทรเมธี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นครินทร์ ระยอง และทาการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์แบบสุ่ม จานวน 100 คนโดยลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จานวน 10 ข้อ มี ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.76 ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมากที่สุด โดยด้านที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุดคือ ด้าน ภาพรวมของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ รองลงมาคือ ด้านการแสดงมีเนื้อหาที่น่าสนใจ มีความ สร้างสรรค์, ความงดงามและลีลาในการแสดง จังหวะถูกต้องพร้อมเพรียง และด้านการแต่งกายมีความ เหมาะสมกับการแสดง (โครงงานมีจานวนทั้งสิ้น 100 หน้า)
  • 6. ฉ สารบัญ หน้า เกี่ยวกับโครงงาน ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค สารบัญ ง สารบัญรูปภาพ ช สารบัญตาราง ฌ สารบัญแผนภูมิ ญ บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตของการศึกษา 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ 4 ความหมายของการส้รางสรรค์นาฏศิลป์ 4 รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ 6 นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 7 นาฏศิลป์พื้นเมือง 8 การใช้พื้นที่ การแปรแถวในการแสดง 9 องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย 9 เครื่องแต่งกายในการสร้างสรรค์นาฏศิลป์ 11 อุปกรณ์ประกอบการแสดง 12 ประเพณีลอยกระทง 13 ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ สุโขทัย 13 ประวัติความเป็นมาวันลอยกระทง 15 งานลอยกระทงตามประเพณีของท้องถิ่น 17
  • 7. ช สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประวัตินางนพมาศ 18 ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ 19 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน การสร้างสรรค์บทแสดง ขั้นตอนและวิธีการสร้างสรรค์ 21 แนวคิดและแรงบันดาลใจ 21 การแบ่งช่วงการแสดง 22 การเคลื่อนไหวบนเวที และการแปรแถว 22 การประดิษฐ์แม่ท่าและกระบวนท่า 27 การแต่งกาย 46 เพลงและดนตรี 46 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 46 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ 47 การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ สถานที่การแสดง 50 ระยะเวลาที่ดาเนินการ 50 ประเมินผลการการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ เครื่องมือที่ใชในการประเมิน 51 การเก็บรวบรวมข้อมูล 52 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 52 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน วิเคราะห์ผลการทากิจกรรม 54 วิเคราะห์ผลความพึงพอใจในการดาเนินงาน 55 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการดาเนินงาน 60 อภิปรายผลการดาเนินงาน 62
  • 8. ซ สารบัญ (ต่อ) หน้า ข้อเสนอแนะ 62 บรรณานุกรม 64 ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบการดาเนินงาน 67 ภาคผนวก ข หน้าที่รับผิดชอบ 74 ภาคผนวก ค แบบประเมินผลความพึงพอใจ 78 ภาคผนวก ง วิเคราะห์ผลความพึงพอใจ 80 ประวัติผู้จัดทา 85
  • 9. ฌ สารบัญรูปภาพ หน้า บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ภาพที่ 3.1 แถวปากผนังแบบคว่า 23 ภาพที่ 3.2 แถวปากผนังคู่ 23 ภาพที่ 3.3 แถวหน้ากระดาน 2 แถว และแถวรวมกลุ่ม 3 กลุ่ม 23 ภาพที่ 3.4 แถวปากผนัง 24 ภาพที่ 3.5 แถวสับหว่าง 24 ภาพที่ 3.6 แถวหน้ากระดานคู่ 2 กลุ่ม 24 ภาพที่ 3.7 แถวหน้ากระดานคู่ แบบที่ 1 25 ภาพที่ 3.8 แถวเฉียงคู่ 25 ภาพที่ 3.9 แถวหน้ากระดานคู่ แบบที่ 2 25 ภาพที่ 3.10 แถวสับหว่าง แบบที่ 2 26 ภาพที่ 3.11 แถวหน้ากระดานคู่ แบบที่ 1 26 ภาพที่ 3.12 แถวหน้ากระดานคู่ และแถวสับหว่าง 26 ภาพที่ 3.13-3.65 ท่าราที่ 1-30 26 ภาพที่ 3.66-3.67 การแต่งกายของผู้แสดงหญิงและผู้แสดงชาย 46 ภาพที่ 3.68-3.69 วาดโครงร่างและตัดไม้เป็นฉากหลัง 47 ภาพที่ 3.70-3.71 ทาสีกระดานไม้และลงลวดลาย 47 ภาพที่ 3.72-3.73 ติดกระดานไม้ตั้งเพื่อใช้เป็นฉากกั้น 47 ภาพที่ 3.74-3.75 ทาสีฉากกั้นขนาบข้าง 48 ภาพที่ 3.76-3.77 ตัดและผ่ากระบอกไม้ไผ่ 48 ภาพที่ 3.78-3.79 ทากระทงประทีปรูปดอกกระมุท 48 ภาพที่ 3.80-3.81 ทาโคมลอยทรงสี่เหลี่ยมและทรงกระบอก 49 ภาพที่ 3.82-3.83 ทากระดานดาและมีดพร้า 49 ภาพที่ 3.84-3.85 ตัดท่อนกล้วยและใบตอง 49 ภาพที่ 3.86-3.87 ซ้อมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 50 ภาพที่ 3.88-3.89 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการดาเนินงาน 50 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ภาพที่ 4.1 บันทึกภาพเคลื่อนไหวการแสดงนาฏศิลป์ไทยในวันแสดงจริง 54 ภาพที่ 4.2 บันทึกภาพนิ่งการแสดงนาฏศิลป์ไทยในวันแสดงจริง 54
  • 10. ญ สารบัญรูปภาพ (ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ภาพที่ 4.3 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 55 ภาพที่ 4.4 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 55 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ ภาพที่ 5.1-5.2 การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ในวันแสดงจริง 60 ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบการดาเนินงาน ภาพที่ 1 ฉากกั้นรูปวัด 67 ภาพที่ 2 ฉากกั้นรูปพระราชวัง 67 ภาพที่ 3-4 ฉากกั้นตรงขนาบข้าง 67 ภาพที่ 5-6 กระทงประทีปรูปดอกกระมุท 68 ภาพที่ 7-8 โคมลอยทรงสี่เหลี่ยมและทรงกระบอก 68 ภาพที่ 9-10 มีดพร้าและผ้าไหม 68 ภาพที่ 11 ท่อนก้านกล้วยสาหรับทากระทง 69 ภาพที่ 12 ใบตอง 69 ภาพที่ 13-14 ซ้อมการแสดงนาฏศิลป์ 69 ภาพที่ 15-16 ซ้อมการแสดงนาฏศิลป์ 69 ภาพที่ 17-18 แต่งหน้าทาผมก่อนการแสดงจริง 50 ภาพที่ 19-20 แต่งการเตรียมตัวก่อนการแสดงจริง 50 ภาพที่ 21 ภาพรวมตอนจบของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 51 ภาพที่ 22-23 ภาพรวมสตาฟชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 51 ภาพที่ 24-25 ภาพรวมนักแสดงหญิงและชาย 51 ภาพที่ 26-27 แจกแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ชม 52 การแสดง
  • 11. ฎ สารบัญตาราง หน้า บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับเพศผู้ตอบแบบสอบถาม 55 ตารางที่ 4.2 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 55 ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนผู้ตอบแบบประเมินในระดับความใจ 5 ระดับ 56 ตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลข้อมูล 57 ความพึงพอใจในการแสดง บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ ตารางที่ 5.1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 61 ภาคผนวก ข หน้าที่รับผิดชอบ ตารางที่ 1 หน้าที่รับผิดชอบของนักเรียนชั้นม. 6/4 ในการแสดงนาฏศิลป์ 74 ไทยสร้างสรรค์ ภาคผนวก จ วิเคราะห์ผลความพึงพอใจ ตารางที่ 2 ผลวิเคราะห์คะแนนรวม ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยว 80 กับความพึงพอใจรายบุคคล ตารางที่ 3 ผลวิเคราะห์คะแนนรวม ร้อยละคะแนน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน 84 มาตรฐาน และการแปลผลข้อมูลความพึงพอใจของผู้ประเมิน
  • 12. ฏ สารบัญแผนภูมิ หน้า บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ แผนภูมิที่ 5.1 สรุปผลข้อมูลเกี่ยวกับเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม 62 แผนภูมิที่ 5.2 สรุปผลข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 61
  • 13. บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ นาฏศิลป์ไทย จัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ได้ให้ความหมายของคาว่า “นาฏศิลป์” ไว้ว่า “เป็นศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรา” ศิลปะประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมให้เกิดคุณค่ายิ่งขึ้น หรือ เรียกว่า ศิลปะของการร้องราทาเพลง นายจันทนา รังรักษ์ กล่าวไว้ว่า การสร้างสรรค์หรือออกแบบนาฏศิลป์ ไทยเป็นสิ่งที่มนุษย์หรือศิลปินคน ๆ นั้นได้คิดค้นเพื่อให้เกิดความสวยงามมีเอกลักษณ์ มีการสอดแทรกแนวคิด ลักษณะความเป็นอยู่หรือความเชื่อของมนุษย์ที่ต้องออกแบบให้อยู่บนพื้นฐานของธรรมชาติอย่างมีศิลปะ วิถีชีวิตของชาวไทยที่ผูกพันกับแม่น้ามาอย่างช้านาน เมื่อถึงฤดูน้าหลากในเดือน 12 คืนที่จันทร์เต็ม ดวง น้าจะเต็มตลิ่งสองฝั่งแม่น้า สะท้อนแสงนวลของดวงจันทร์ที่ส่องประกายลงบนผิวน้า สร้างบรรยากาศที่ สวยงาม สดชื่น และเยือกเย็น ชาวสุโขทัยจึงเริ่มประเพณีการเผาเทียน ลอยประทีปลงไปในน้าเพื่อเป็นการขอ ขมาพระแม่คงคาที่ให้มนุษย์ได้ใช้น้าเพื่ออุปโภค บริโภค ชาวบ้านยังเชื่อว่าการสะเดาะเคราะห์ด้วยการลอย ความทุกข์โศกโรคภัยไปกับแม่น้า ถือเป็นการบูชาพระผู้เป็นเจ้าในศาสนาพราหมณ์และสักการะรอยพระพุทธ บาท นอกจากความเชื่อเหล่านี้แล้ว ยังมีตานานประวัติศาสตร์ของนางนพมาศ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า ผู้มีรูปลักษณ์และคุณสมบัติที่งดงามเยี่ยงสตรีในอุดมคติ เป็นบุคคลที่ฉลาดถ่อมตัวเป็นอย่างยิ่ง จนได้ตาแหน่ง ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ และได้สมญาว่า กวีหญิงคนแรกของไทย นางนพมาศได้คิดประดิษฐ์กระทงทาจากใบตอง เป็นรูปดอกดอกบัว พานหมากสองชั้นร้อยกรองด้วยดอกไม้ และโคมลอยรูปดอกกระมุท ได้ถูกพระราชหทัย พระร่วงเจ้าเป็นอย่างมาก จึงมีการนากระทงใช้ในพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีปพร้อมกับจุดตะคัน บูชาพระรัตนตรัย วางบนฐานระเบียงโบสถ์ เกิดเป็นแสงส่องสว่างระยิบระยับ และมีเล่นพลุอย่างสวยงาม ตระการตา ด้วยความเชื่อมุ่งมั่นของชาวไทยนี้ ชาวสุโขทัยจึงจัดงานประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟสืบ ทอดมาจนถึงปัจจุบัน จนกลายเป็นประเพณีระดับประเทศ สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ความเป็นอยู่ของชาวไทยนาไปสู่ความเชื่อซึ่งก่อให้เกิดประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวสุโขทัย ที่ เล่าขานถึงความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้คนในอดีต ผลงานฝีมืออันวิจิตรสะท้อนถึงความประณีตของช่างศิลป์ ในสมัยนั้น ทั้งการเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง การสร้างสรรค์กระทง และจุดตะคันส่องสว่าง บ่งบอกถึงความ ละเอียดอ่อนของความเป็นไทยได้อย่างน่าอัศจรรย์ใจ ด้วยเอกลักษณ์และความสวยงามของประเพณีนี้ ทาง คณะผู้จัดทาจึงเลือกทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟและประวัติของท้าวศรี จุฬาลักษณ์มาเป็นเนื้อเรื่องในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เพื่อเป็นการ เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมไทยและทาการเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับศิลปะแห่งการละครและ การฟ้อนรา
  • 14. 2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับการแสดง นาฏศิลป์ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา 2. เพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ 3. เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ที่ทางคณะผู้จัดทาจะนามาใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ คือ เรื่อง ท้าวศรีจุฬาลักษณ์กับประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ 2. ขอบเขตด้านสถานที่ สถานที่จัดซ้อมและทาการแสดง คือ หอประชุมสุนทรเมธี โรงเรียนเฉลิมพระ เกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เลขที่ 1 หมู่ที่ 4 ตาบลนาตาขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000 3. ขอบเขตด้านประชากร ในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้น ปีที่ 1 - 6 จานวน 1025 คนและคณะครูอาจารย์ จานวน 57 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี (แหล่งข้อมูล: swry.ac.th, ข้อมูลวันที่ 2 กรกฎาคม 2563) 4. ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่าง หรือผู้ชมเพื่อประเมินผลความพึงพอใจในการแสดงคือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1 - 6 และคณะครูอาจารย์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ใน พระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 5. ขอบเขตด้านระยะเวลา ของโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ตั้งแต่ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงศิลปะแห่งการละครที่มีการประดิษฐ์ ดัดแปลง หรือ ปรับปรุงท่าราขึ้นใหม่ให้มีความสวยงามและถูกต้องตามหลักนาฏศิลป์ไทย มีการใช้ท่าราที่ง่าย ไม่ซับซ้อน จังหวะและเนื้อเพลงไม่ยาว และท่าราที่ไม่ซ้าท่ากันมาก 2. ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ หมายถึง ประเพณีที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และ ขอขมาต่อพระแม่คงคา มีการลอยกระพระประทีปหรือกระทอง มักนิยมทาโคมลอย และจุดพลุไฟเล่นกัน ใน วันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย
  • 15. 3 3. ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หมายถึง เรวดีนพมาศ หรือนางนพมาศ ผู้ได้ประดิษฐ์โคมรูปดอกบัว พาน หมากสองชั้นรับแขกเมือง และพานดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย ใช้ในพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น พระราชพิธี จองเปรียงลอยพระประทีป พระราชพิธีคเชนทรัศวสนาน พระราชพิธีจรดพระนังคัล เป็นต้น 4. ฉาก หมายถึง อุปกรณ์เสริมในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ และฉากกั้นประกอบเวทีละคร เพื่อให้ดูสมจริงตามเนื้อเรื่องและการแสดง 5. นักแสดง หมายถึง บุคคลที่ราฟ้อนในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 6. สตาฟ หมายถึง Staff คณะผู้ทางานเบื้องหลังการแสดงราฟ้อน ทั้งฝ่ายผู้เตรียมฉากและอุปกรณ์ ฝ่ายช่างศิลป์ ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ และฝ่ายจัดทาผลการปฏิบัติงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้มีการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา 2. ได้ปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ 3. ได้ศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง
  • 16. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การจัดทาโครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ คณะผู้จัดทาได้ ทาการศึกษาค้นคว้าแนวคิด เอกสารต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทาโครงงาน และการแสดง ดังนี้ แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา (2561: 159) กล่าวว่า นาฏศิลป์ไทยบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ ละชาติแต่ละท้องถิ่นได้อย่างชัดเจนอีกทางหนึ่งนาฏศิลป์ไทยมีรูปแบบการแสดงที่ชัดเจนนอกจากจะแสดงเพื่อ ความบันเทิงแล้วในการแสดงนาฏศิลป์ไทยแต่ละประเภทสามารถสื่อความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะและมองเห็น ถึงคุณค่าความงาม ภูมิปัญญาของผู้สร้างสรรค์เห็นความงามของลีลาท่าราของนักแสดง ความไพเราะของเพลง ที่ใช้ประกอบการแสดง ความงามของเครื่องแต่งกายแต่ละประเภท การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ จัดเป็นหนึ่งในการพัฒนาความสามารถของมนุษย์ในด้าน สุนทรียศาสตร์ความคิดริเริ่มในสิ่งแปลกใหม่จากประสบการณ์ การสั่งสมความรู้ การแก้ไขสถานการณ์การ ประยุกต์ การสะท้อนสังคม การประยุกต์ปรับเปลี่ยนให้ทันกับสังคม วัฒนธรรมในโลกปัจจุบันกระบวนการ สร้างสรรค์นาฏศิลป์เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยพัฒนาความงอกงามทางวัฒนธรรมอันหลากหลายให้เกิด ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์จึงเป็นกลไกสาคัญในการผลิตผลงานด้าน ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ทั้งนี้ผู้สร้างสรรค์จึงมีความจาเป็นในการเข้าใจกระบวนการออกแบบผลงาน ซึ่งเป็น หนึ่งในการประมวลองค์ความรู้ด้านนาฏศิลป์สาหรับผู้เรียนในบทนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ได้แก่ความหมายของการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ประเภทและลักษณะของ นาฏศิลป์ รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ และคุณลักษณะผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ (ปิ่นเกศ วัชร ปาณ, 2559: 1) 2. ความหมายของการส้รางสรรค์นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมายว่า ศิลปะแห่งการ ละคร หรือการฟ้อนรา กรมศิลปากร (2525: 29) กล่าวว่านาฏศิลป์หมายถึงการร่ายราของโขน ละครฟ้อนและระบา อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และจาตุรงค์ มนตรีศาสตร์ (2525, หน้า 66, อ้างถึงในกีรติณ เชียงใหม่, 2547, หน้า 27) ได้ให้ความหมายของคาว่า “นาฏศิลป์” ว่าหมายถึง การร้องราทาเพลงการให้ความบันเทิงใจอันร่วม ด้วยความโน้มเอียงของอารมณ์ และความรู้สึกโดยอาศัยการละครเป็นหลัก หากแต่ศิลปะประเภทนี้จาต้อง
  • 17. 5 อาศัยการดนตรีและการร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดคุณค่าในทางศิลปะยิ่งขึ้น การสร้างสรรค์ ตามการให้คาจัดความของราชบัณฑิตยสถาน (2554) ได้ให้ความหมายไว้ว่าสร้างให้มี ให้เป็นขึ้น (มักใช้เป็นนามธรรม) มีลักษณะริเริ่มในทางที่ดี เช่นความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะสร้างสรรค์ นอกจากนี้ การสร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์ ยังรวมถึงการประยุกต์ ซึ่งคานิยามกล่าวว่า เป็นการนาความรู๎ในวิทยาการ ต่าง ๆ มาปรับให้เป็นประโยชน์ การสร้างสรรค์ และการประยุกต์ ในทางนาฏศิลป์แล้วไม่สามารถแยกออกจากกันได๎อยางเด็ดขาด จึง เป็นการสร้างขึ้นใหม่จากความรู๎พื้นฐานดั้งเดิม นาความคิดใหม่มาปรับเปลี่ยน แต่งเติมในรูปแบบใหม่ เป็นการ สร้างองค์ความรู๎ใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม นอกจากนี้ความหมายของการสร้างสรรค์ผลงานด้านนาฏศิลป์ มีผู้เชี่ยวชาญด้านนาฏศิลป์ หลายท่าน ได้ให้คาจากัดความไว้อย่างน่าสนใจ ดังนี้ จันทนา รังรักษ์ (2555) การสร้างสรรค์หรือออกแบบนาฏยศิลป์เป็นสิ่งที่มนุษย์หรือศิลปินคนนั้น ๆ ได้ คิดค้นเพื่อให้เกิดความสวยงามมีเอกลักษณ์มีการสอดแทรกแนวคิดลักษณะความเป็นอยู่หรือความเชื่อของ มนุษย์ที่ต้องออกแบบให้อยู่บนพื้นฐานของธรรมชาติอย่างมีศิลปะ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์ ราชบัณฑิต ได้ให้ความหมายของ Choreography หรือ นาฏยประดิษฐ์ ที่หมายความรวมถึงการสร้างสรรค์นาฏศิลป์ ไว้ว่า “นาฏยประดิษฐ์ หมายถึง การคิด การ ออกแบบและการสร้างสรรค์ แนวคิด รูปแบบและกลวิธีแนวนาฏยศิลป์ชุดหนึ่ง ที่แสดงโดยผู้แสดงคนเดียวหรือ หลายคน ทั้งนี้รวมถึงการปรับปรุงผลงานในอดีต นาฏยประดิษฐ์จึงเป็นการทางานที่ครอบคลุม ปรัชญา เนื้อหา ความหมาย ท่าราท่าเต้น การแปรแถว การตั้งซุ้ม การแสดงเดี่ยว การแสดงหมู่ การกาหนดดนตรี เพลงเครื่อง แต่งกายฉากและส่วนประกอบอื่น ๆ ที่สาคัญในการทาให้นาฏยศิลป์ชุดหนึ่งสมบูรณ์ตามที่ตั้งใจไว้ ผู้ออกแบบ นาฏยศิลป์ เรียกกันโดยทั่วไปว่า ผู้อานวยการฝึกซ่อม หรือ ผู้ประดิษฐ์ท่ารา แต่ในที่นี้ขอเสนอคาใหม่ว่า นัก นาฏยประดิษฐ์ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Choreography” ฉันทนา เอี่ยมสกุล (2550) นาฏศิลป์สร้างสรรค์คือกระบวนการที่ครูนาฏศิลป์หรือศิลปินคิด วิธีดาเนินการคิดประดิษฐ์ท่าราให้สอดคล้องกับจังหวะทานองหรือเพลงจากความคิดและความรู้สึกผ่าน กระบวนการที่ต้องใช้ทักษะและความชานาญจนได้ผลงานที่ตนพึงพอใจ มาลินี อาชายุทการ (2547: 3) ได้กล่าวถึง ความหมายของคาว่า Choreography มีรากศัพท์มาจาก ภาษากรีก ดังนี้ Chores – Dance , Graphy – Write และกล่าวถึงนาฏศิลป์สร้างสรรค์ว่านาฏศิลป์สร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงการฟ้อนราให้แปลกใหม่ ไม่เหมือนใคร การทาการฟ้อนราให้วิจิตรพิสดารในแนวทางหรือ หลักการที่เป็นข้อมูลใหม่ แปลกใหม่ ไม่ซ้าแบบใคร (มาลินี อาชายุทธการ, 2556: 25) พีรพงศ์ เสนไสย (2546: 2) ได้กล่าวถึงความหมายของคาว่า Choreography หมายถึง การจัดการ ทางสรีระรางกายให้เกิดเป็นระบาโดยกระบวนการเรียงร้อยท่าทางอยางเป็นระบบโดยมีเจตนารมย์และ วัตถุประสงค์ชัดเจน
  • 18. 6 จึงสรุปความหมายของการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏศิลป์ได้ว่า การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ หรือเรียกว่านาฏยประดิษฐ์ เกิดจากผู้สร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์กาหนดแนวคิดรูปแบบจากการสั่งสม ประสบการณ์ขึ้นในชุดการแสดงที่ใหม่อย่างเป็นระบบ ผ่านนักแสดงที่ถ่ายทอดเรื่องราว อาจเป็นผลงานเดี่ยว หรือกลุ่มก็ได้โดยอาศัยองค์ประกอบในงานศิลปะในการสร้างสรรค์งานให้ตรงเจตนาของผู้สร้างสรรค์ การสร้างสรรค์ผลงานทางนาฏศิลป์ เป็นพลวัตทางสังคมและวัฒนธรรมที่สามารถขับเคลื่อนได้ ตลอดเวลาไม่จากัดเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งของสังคม สามารถก่อให้เกิดปรากฏการณ์ที่มีความสาคัญต่อ เอกลักษณ์ของชาติ เป็นสิ่งสนับสนุนอันก่อเกิดให้เห็นถึงความงดงามในอัตลักษณ์ของชนชาติอย่างเหมาะสม ทั้งยังเป็นเครื่องบ่งบอกถึงสายสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศอย่างทั่วถึงและใน ขณะเดียวกันยังเป็นสิ่งช่วยผลักดันให้เอกลักษณ์นั้นคงอยู่ การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์มีความจาเป็นอย่าง ยิ่งที่ต้องทราบถึง ประเภทและลักษณะของนาฏศิลป์ อันเป็นพื้นฐานหนึ่งของความรู้ที่จะนาไปสร้างสรรค์ได้ ซึ่ง ผู้เขียนจะขอกล่าวในลาดับต่อไป (ปิ่นเกศ วัชรปาณ, 2559: 2) 3. รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์นั้น สามารถสร้างสรรค์นาฏศิลป์ในลักษณะของการราหรือเต้นเป็นชุด สั้น ๆ อย่างระบาเบ็ดเตล็ดหรือเรียกว่า นาฏศิลป์สร้างสรรค์ ที่ต้องอาศัยความรู้ ประสบการณ์เดิม และนามา สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ภายใต้ความคิดอย่างมีระบบในการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ จึงเป็นการคิดชุดการแสดง ขึ้นมาใหม่ให้แตกต่างจากชุดที่มีอยู่เดิม ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์จากรูปแบบใดเป็นพื้นฐาน เช่น การนาเอา 12 เพลงไทยสากลมาประกอบกับจินตลีลาที่มีลักษณะมีพื้นฐานท่าราไทยแต่รูปแบบการใช้เท้า การใช้จังหวะ ในการเคลื่อนไหวเป็นแบบการประยุกต์ท่าบัลเล่ต์ รูปแบบนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ดังกล่าวนี้ เป็นการสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นในช่วง 50 ปี และแพรหลายใน ราวปีพ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน ที่สถาบันการศึกษาหลายแห่งเริ่มมีภาควิชานาฏยศิลป์มีการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการด้านนาฏศิลป์ด้วยการประดิษฐ์นาฏศิลป์สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ นอกจากนี้ยังพบว่า มีการประกวดนาฏศิลป์สร้างสรรค์ประเภทนาฏศิลป์ไทย (แบบดั้งเดิม)จากงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนของสานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กาหนดการแข่งขันประเภทนี้ยิ่งส่งผลให้ การประดิษฐ์นาฏศิลป์ใหม่ ๆ เพิ่มจานวนขึ้นอยางรวดเร็ว นับเป็นปรากฎการณ์ทางวัฒนธรรมของชาติที่เกิดขึ้น จากภูมิปัญญานักนาฏยประดิษฐ์ทุกระดับการศึกษา เน้นย้าให้เห็นว่านาฏศิลป์ไทยยังคงสืบทอด มีการปรับตัว ให้สอดคล้องกับสังคมทุกยุคทุกสมัย จึงแบ่งรูปแบบของการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ที่มักพบในการทาผลงานในวงการการศึกษาและ นามาเป็นรูปแบบการสร้างสรรค์งานเพื่อใช้ในการวัดผลความรู้ด้านนาฏศิลป์ของนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ใน หลายสถาบันเพื่อการเป็นประโยชน์ในการทาผลงานไว้ดังนี้
  • 19. 7 1. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 2. นาฏศิลป์ร่วมสมัย หรือนาฏศิลป์ประยุกต์ 4. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ของงานศิลปหัตกรรมนักเรียนกิจกรรมนาฏศิลป์ไทย ประยุกต์ได้ถูกยกออกจากกิจกรรมการแข่งขันนาฏศิลป์ไทย โดยได้บรรจุกิจกรรมนาฏศิลป์สร้างสรรค์เข้ามา แทนที่จนกระทั่งถึงปัจจุบัน (ปีการศึกษา 2554) (อรรจมาภรณ์ ชัยวิสุทธิ์, 2556: 2) ซึ่งในการให้คาจากัดความ ของการแข่งขันประเภทนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ในการประกวดนี้พบว่า มีการให้คาจากัดความแตกต่างกัน ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 – 2558 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ คือการแสดงที่ นอกเหนือจากนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ เป็นการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่คิดประดิษฐ์ สร้างขึ้นใหม่ทั้งเพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่ารา สอดคล้องตามกรอบแนวคิดที่กาหนด และไม่เกี่ยวข้องกับการแสดง นาฏศิลป์พื้นเมือง และนาฏศิลป์สากล (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64, 2558: 8) ในปี พ.ศ. 2559 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึงการแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ทั้งท่ารา เพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่าราสอดคล้องตามกรอบแนวคิดที่ กาหนดขึ้น ทั้งนี้จะแสดงออกมาในรูปแบบของระบาเบ็ดเตล็ด หรือการแสดงพื้นเมืองก็ได้ (ศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ 65, 2559: 8) ในปี พ.ศ. 2560 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ทั้งท่ารา เพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่ารา สอดคล้องตามกรอบแนวคิด ที่กาหนดขึ้น โดยผ่านทักษะกระบวนการกลุ่มอย่างเป็นระบบแล้ว นาเสนอในรูปแบบของโครงงานและการ แสดง 1 ชุด ซึ่งจะออกมาในรูปแบบของประเภทระบาเบ็ดเตล็ดหรือการแสดงพื้นเมืองในเชิงสร้างสรรค์ นาฎศิลป์ไทยสร้างสรรค์ประเภทนาฏศิลป์พื้นเมือง เป็นการแสดงที่เกิดขึ้นจากการนาเอานาฏศิลป์ พื้นบ้านทั้ง 4 ภาคของไทย และรวมถึงศิลปะการแสดงพื้นบ้านตามท้องถิ่นต่าง ๆ ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง อย่างเห็นได้ชัด นามาสร้างสรรค์ให้เห็นถึงวิถีชีวิตท้องถิ่น หรือเรียกการสร้างสรรค์นี้ได้อีกอยางหนึ่งว่า นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ซึ่งมีทั้งจากการประดิษฐ์โดยกรมศิลปากร นานาฏศิลป์พื้นบ้าน 4 ภาคที่กรม ศิลปากรได้ศึกษาท่าราและนาท่ารามาปรับปรุงเผยแพรโดยทั่วไป จัดว่าเป็นนาฏศิลป์มาตรฐาน (แบบแผนตาม แบบฉบับกรมศิลปากร) ส่วนท่าราแม่บทอีสาน โนราห์ภาคใต้ หรือ ฟ้อนเล็บตามคุ้มเจ้า เหล่านี้ขอยกเป็น นาฏศิลป์พื้นเมืองดั้งเดิมจากนี้เมื่อมีผู้ผลิตนาฏศิลป์พื้นบ้านโดยใช้ท่าดั้งเดิมอยู่มากบ้าง น้อยบ้าง และนาเนื้อ เรื่อง บทร้อง เนื้อหาใหม่มาสร้างสรรค์ท่าราโดยใช้วงดนตรีและเพลงพื้นเมืองตามท๎องถิ่นนั้น ๆ ให้จัดว่าเป็น นาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมืองสร้างสรรค ปิ่นเกศ วัชรปาณ (2559: 14) ได้อธิบายไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ จึงมีลักษณะในเกณฑ์การ ประกวดฯ ว่า มีรูปแบบที่สร้างสรรค์ท่ารา เพลง ดนตรี เครื่องแต่งกาย ในลีลาท่าราไทย ทั้งแบบ นาฏศิลป์ไทย
  • 20. 8 มาตรฐานหรือ แบบนาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมือง ในลักษณะการแสดงชุดสั้น ๆ หรือเรียกว่า ระบาเบ็ดเตล็ดที่ มีเนื้อหาใหม่ ภายใต้กรอบแนวคิดใหม่โดยมีผ่านกระบวนการกลุ่ม ที่มีเนื้อหาเชิงสร้างสรรค์ 5. นาฏศิลป์พื้นเมือง ในที่นี้หมายถึง นาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมืองทั้ง 4 ภาคของไทยที่สามารถนานาฏยลักษณ์มาเป็น รูปแบบการสร้างสรรค์ ซึ่งอาจนามาเพียงโครงสร้างท่ารา หรือเลือกเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งมาประยุกต์ใหม่ เช่น นาเอาการวาดมือฟ้อนแบบภาคเหนือ มาเป็นเอกลักษณ์ในการสร้างสรรค์ท่ามาผสมผสานกับ รูปแบบเท้า แบบบัลเล่ต์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการกาหนดแนวคิดของชุดระบา เช่น นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ ชุดฟ้อนเล็บ ฟ้อนเล็บหรือเรียกกันว่าฟ้อนครัวทาน ฟ้อนเมืองบ้าง ฟ้อนเล็บบ้าง ทั้ง 3 ชื่อนี้เป็นการฟ้อนชนิด เดียวกัน แต่เรียกไปตามสถานการณ์ของการฟ้อน เช่น การฟ้อนครัวทาน คือ การฟ้อนนาขบวนแห่ของ ชาวบ้านที่จัดขึ้นเรียกว่า “ครัวทาน” ซึ่งประกอบด้วย เครื่องอัฐบริขาร (ตั้งแต่ไม้กวาดหม้อน้ายา และเงินทอง) เพราะประเพณีทางเหนือนั้นเมื่อพ้นการทานาแล้วชาวบ้านก็จะมุ่งทาบุญมีการบูรณะวัด เป็นต้น ถ้าหมู่บ้านใด บูรณะวัดเรียบร้อยแล้วก็นิยมบอกบุญไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ ก็ให้มาช่วยทาบุญฉลอง เช่น ฉลองโบสถ์ วิหาร เป็น ต้น จึงเรียกว่าฟ้อนครัวทาน หรือฟ้อนเมืองสมัยโบราณจะหาดูได้ยาก ถ้าจะดูการฟ้อนที่สวยงามและมีลีลาอัน อ่อนช้อยต้องเป็นฟ้อนของคุ้มเจ้าหลวง เพราะผู้ฟ้อนส่วนมากล้วนแต่ฝึกหัดมาอย่างดี ใช้แสดงประกอบพิธี เฉพาะในงานสาคัญในพระราชฐานเท่านั้นผู้ฟ้อนโดยมากล้วนแต่เป็นเจ้านายเชื้อพระวงศ์ฝ่ายในทั้งสิ้น รูปแบบการใช้มือ การฟ้อนเล็บมีลักษณะการใช้มือที่เป็นเอกลักษณ์ในท่าการม้วนมือ บิดมือ กรายมือ จีบส่งหลัง ทั้งที่เป็นท่าเลียนแบบธรรมชาติและท่าที่ประดิษฐ์ขึ้นในท่าแม่บทราไทยมาตรฐาน การใช้รูปแบบมือ ของฟ้อนเล็บมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในด้านการวาดวงแขนในหลายระดับ มีการนาเอาท่าแม่บทมาผสมกับการ แวดแขนอย่างกลมกลืน โดยเฉพาะการสวมใส่เล็บทองเหลืองที่กรีดกรายเป็นจุดเด่นของชุดการแสดงที่ทาให้ น่าสนใจ รูปแบบการย่าเท้า ก้าวเท้า การย้าเท้าในชุดฟ้อนเล็บมีลักษณะการก้าวยืดจนสุดและย่อใหม่ในทุก ๆ การก้าว ทาให้การฟ้อนมีความสง่างามของท่วงท่าการเคลื่อนไหว การก้าวจะเกิดทุกจังหวะของการตีกลองที่ เชื่องช้าการก้าวยืด – ย่อในลักษณะนี้ เป็นการเคลื่อนไหวที่อาศัยความพร้อมเพรียงของผู้ฟ้อน รูปแบบการใช้ล่าตัว มีการใช้การโยนตัวไปด้านหน้า ในลักษณะผู้แสดงหันข้างเพื่อการก้าวโย้ตัว หรือ เรียกได้ว่าเหวี่ยงตัวเพื่อเปลี่ยนจากท่าหนึ่งไปสู่อีกท่าหนึ่ง ซึ่งส่วนใหญ่แล้วในท่าฟ้อนมักจะมีการใช้ลาตัวที่ยืด ตรง เพื่อให้เกิดความสง่าของผู้แสดง ท่าราหลัก ได้แก่ ท่าบิดบัวบาน ท่ากังหันร่อน ท่าพิสมัยเรียงหมอน ท่าสะบัดจีบ ท่าจีบหงาย ท่าตั้งวง หน้า
  • 21. 9 6. การใช้พื้นที่ การแปรแถวในการแสดง การใช้พื้นที่บนเวทีเป็นส่วนสาคัญในการสื่อความหมายของชุดการแสดงอีกอย่างหนึ่งที่นักนาฏย ประดิษฐ์ต้องทาความเข้าใจถึงองค์ประกอบความสาคัญบนเวที ซึ่งประกอบไปด้วย ลักษณะเวที ตาแหน่งเวที การใช้พื้นที่ และการแปรแถว ตาแหน่งเวที คือ บริเวณที่ใช้เป็นส่วนของการแสดงทั้งหมด มักอยู่ด้านหลังกรอบโพรซีเนียม บางครั้ง อาจจะกาหนดให้ออกมาด้านหน้าเวทีที่ต่อเติมเป็นพิเศษ อาณาเขตของ acting area นี้จะสิ้นสุดที่ผนังของฉาก ที่อยู่ด้านหลังสุดซึ่งอาจจะเป็นยกพื้นสูงหรือเป็นระดับพื้นปกติ เนื้อที่ของเวทีทั้งหมดอาจจะเป็น acting area เช่นการราละครแบบที่มีเต้นราประกอบ นิยมแบ่งพื้นที่เวทีออกเป็นส่วน ๆ เพื่อความสะดวกในการทางาน เบื้องหลังฉาก การออกแบบฉาก การแสดง และกากับการแสดง โดยอาศัยซ้ายมือและขวามือของนักแสดงเมื่อ หันหน้ามาทางผู้ชมเป็นหลักดังนี้ คือ 1. Down stage คือ พื้นที่ของเวทีที่อยู่ใกล้กับคนดูมากที่สุด 2. Up stage คือ พื้นที่เวทีที่อยู่ด้านในที่ไกลจากผู้ชม 3. Center stage คือ พื้นที่ของเวทีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง up stage กับ down stage 4. Off stage คือ พื้นที่ด้านนอกทางซ้ายมือ ขวามือ หรือด้านหลังของพื้นที่ที่ใช้ในการแสดง 5. Back stage คือ พื้นที่ที่อยู่ด้านหลังฉาก หรือด้านหลัง cyclorama 7. องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีความงดงาม อ่อนช้อย และเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยที่อยู่คู่ ชาติไทยมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันการแสดงนาฏศิลป์ไทยแต่ละประเภทที่มีความงดงามนั้นจะต้องมี องค์ประกอบนาศิลป์ที่ช่วยให้การแสดงมีความงดงามและสมบูรณ์ ดังนี้ การฟ้อนราเป็นท่าทางของการเยื้องกรายฟ้อนที่สวยงาม โดยมีมนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าราเหล่านั้นให้ ถูกต้องตามแบบแผน รวมทั้งบทบาท และลักษะของตัวละคร ประเภทของการแสดงและการสื่อความหมายที่ ชัดเจน จังหวะ เป็นส่วนย่อยของบทเพลงที่ดาเนินไปเป็นระยะและสม่าเสมอ การฝึกหัดนาฏศิลป์ไทย จาเป็นต้องใช้จังหวะเป็นพื้นฐานในการฝึกหัดเพราะจังหวะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ และมีอยู่ในตัวมนุษย์ ทุกคน หากผู้เรียนมีทักษะทางการฟังจังหวะแล้วก็สามารถราได้สวยงาม แต่ถ้าผู้เรียนไม่เข้าใจจังหวะก็จะทาให้ ราไม่ถูกจังหวะหรือเรียกว่า “บอดจังหวะ” การราก็จะไม่สวยงามและไม่ถูกต้อง เนื้อร้องและทานองเพลง การแสดงลีลาท่าราแต่ละครั้งจะต้องสอดคล้องตามเนื้อร้อง และทานอง เพลง ทั้งนี้เพื่อบอกความหมายของท่ารา ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในการแสดงได้ตามเนื้อเรื่อง ตลอดจน สามารถสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจตรงกันได้ เช่น การแสดงอารมณ์รัก ผู้ราจะประสานมือทาบไว้ที่หน้าอก ใบหน้ายิ้มละไม สายตามองไปยังตัวละครที่ราคู่กัน เป็นต้น
  • 22. 10 การแต่งกาย ในการแสดงนาฏศิลป์ สามารถบ่งบอกถึงยศ และบรรดาศักดิ์ของนักแสดงละครตัวนั้น ๆ โดยเฉพาะการแสดงโขน การแต่งกายจะเปรียบเสมือนแทนสีกายของตัวละคร เช่น เมื่อแสดงเป็นหนุมาน นักแสดงจะต้องแต่งกายด้วยชุดสีขาวมีลายปักเป็นลายทักษิณาวัตร สวมหัวโขนลิงสีขาว ปากอ้า เป็นต้น การแต่งหน้า เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทาให้นักแสดงสวยงาม และอาพรางข้อบกพร่องบนใบหน้าของ นักแสดงได้ นอกจากนี้ก็ยังสามารถใช้วิธีการแต่งหน้า เพื่อบอกวัยบอกลักษณะเฉพาะของตัวละครได้ เช่น แต่งหน้านักแสดงหนุ่มให้เป็นคนแก่ แต่งหน้าให้นักแสดงเป็นตัวตลก เป็นต้น เครื่องดนตรีที่บรรเลงประกอบการแสดง การแสดงนาฏศิลป์จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้เครื่องดนตรี บรรเลงประกอบการแสดงดังนั้นนักแสดงจะต้องราให้สอดคล้องตามเนื้อร้อง และทานองเพลง ในขณะเดียวกัน ดนตรีก็เป็นองค์ประกอบหลักที่สาคัญในการช่วยเสริมให้การแสดงสมบูรณ์ และสามารถสื่อความหมายได้ ชัดเจนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการแสดงให้สมจริงยิ่งขึ้นด้วย อุปกรณ์การแสดงละคร การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุด อาจต้องมีอุปกรณ์ประกอบการแสดงละคร ด้วย เช่น ระบาพัด ระบานกเขา ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนร่ม เป็นต้น อุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ประกอบการ แสดงจะต้องมีความสมบูรณ์ สวยงาม และสวมใส่ได้พอดี หากเป็นอุปกรณ์ที่ต้องนามาใช้ประกอบการแสดง เช่น กลอง ร่ม เป็นต้น นักแสดงจะต้องมีทักษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างคล่องแคล่วสามารถจัดวางตาแหน่งให้ อยู่ในระดับที่ถูกต้องสวยงาม
  • 23. 11 8. เครื่องแต่งกายในการสร้างสรรค์นาฏศิลป์ เครื่องแต่งกายในการสร้างสรรค์นาฏศิลป์นั้น จาเป็นต้องศึกษาเรื่องขององค์ประกอบศิลป์ในทาง ทัศนศิลป์ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ อันได้แก่ 1. ขนาดและสัดส่วน ให้มีความสัมพันธ์กันในรูปร่างของผู้แสดง ไม่ดูแล้วผิดสัดส่วน 2. ความกลมกลืน การตกแต่งจากสี วัสดุ ที่ดูแล้วโดดเด่นเป็นพิเศษ แต่เมื่อพิจารณาแล้วไม่เข้ากันก็จัด ว่าไม่กลมกลืน 3. การตัดกัน ทาได้หลายวิธี ทั้งในด้านลวดลาย สี สามารถสร้างให้ดูแปลกตา 4. เอกภาพ มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับความกลมกลืน เอกภาพในการออกแบบการแต่งกาย นาฏศิลป์ อาจหมายรวมถึงดูแล้วไม่ขัดตา ไม่มากจนเกินไป แต่มีความงามเฉพาะเจาะจง 5. การเน้น เป็นการเพิ่มจุดเด่นของเครื่องแต่งกาย เช่น สร้อยคอ สายสังวาล ชฎา 6. สี เป็นส่วนสาคัญในการมองเห็น การให้ความรู้สึกด้านอารมณ์ของการแสดง เพิ่มความน่าสนใจ และเป็นสิ่งที่ในชุดระบาควรพิจารณาเป็นหลัก ตามหลักการใช้สีในจิตวิทยาให้ความรู้สึกแตกต่างกันดังนี้ สีแดง เย้ายวน ร้อนแรง เชื่อมั่น เปิดเผย สีเหลือง ร่าเริง อ่อนโยน มีพลัง จินตนาการ สดใส สีเขียว สุขุม เยือกเย็น สีฟ้า ความสุขสงบ พักผ่อน สดชื่น เรียบง่าย สีม่วง สูงส่ง สง่า ศรัทธา สีขาว สะอาด บริสุทธิ์ นักคิด ทรงพลัง สีดา มั่นใจ น่าเกรงขาม ดุดัน โดดเดี่ยว สีน้าเงิน ผู้นา มั่นคง อบอุ่น การออกแบบเครื่องแต่งกายในการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ส่วนใหญ่จะพบลักษณะเด่นสาหรับ เครื่องแต่งกายที่ใช้ในการแสดง ซึ่งสามารถสรุปหลักการออกแบบได้ดังนี้ 1. นาโครงสร้างของรูปแบบการแต่งกายมาเป็นโครงสร้างหลัก เช่น เส้นกรอบนอกของรูปทรงใน เครื่องแต่งกายไทย ชฎา มีส่วนแหลม กระบังหน้า กรอบหน้าทรงเหลี่ยม นามาใส่รายละเอียดใหม่ภายใต้กรอบ แนวคิดในผลงาน 2. ลักษณะของวัสดุ เช่น ผ้า ลวดลายผ้า เชือก เถาวัลย์ กระดุม ขนนก ลูกปัดเครื่องประดับโลหะ การ ประยุกต์จากวัสดุธรรมชาตินามาเป็นส่วนเสริมให้ดูมีมิติ เพิ่มเอกลักษณ์ของชุด 3. รูปแบบเครื่องแต่งกายท้องถิ่น เช่น ชนเผ่า ใส่ผ้าพื้นเมือง ทาตัว ใส่สร้อยคอใหญ่ผู้สร้างสรรค์ สามารถนามาประยุกต์ใช้ในงานที่ต้องการแสดงถึงวัฒนธรรมท้องถิ่น 4. การใช้เครื่องแต่งกายเพื่อสื่อความหมายพิเศษ เช่น เป็นตัวเอก ตัวรอง ปีศาจ นางฟ้าพญายักษ์ เครื่องแต่งกายที่นามาออกแบบต้องสื่อความหมายในตัวอย่างชัดเจน ไม่คลุมเครือ
  • 24. 12 5. การใช้เครื่องแต่งกายเป็นอุปกรณ์การแสดง เช่น การออกแบบกระโปรงยาว บาน เป็นกลีบดอกไม้ ในการแสดงใช้ผู้แสดงเป็นดอกไม้ กระโปรงคือ กลีบดอกไม้ หมุนตัวตลอดเวลา ลักษณะเช่นนี้เครื่องแต่งกาย จัดว่าเป็นหลักของการแสดงจึงต้องออกแบบให้เหมาะสม ไม่สะดุดล้ม หรือทาให้เกิดการผิดพลาดของผู้แสดง 6. ออกแบบตามจารีตปฏิบัติ เช่น เครื่องแต่งกายไทยตามแบบจารีต ไม่ควรนามาประยุกต์ในลักษณะ การแสดงแบบมาตรฐาน หรือทาให้ผิดเพี้ยนจากเดิม เพราะเป็นเครื่องแต่งกายเลียนแบบของกษัตริย์ 9. อุปกรณ์ประกอบการแสดง อุปกรณ์ประกอบการแสดง เป็นส่วนหนึ่งที่พบในการแสดง ใช้สื่อความหมายในการแสดงลักษณะการ เลือกใช้อุปกรณ์การแสดงในนาฏศิลป์แต่ละประเภทแตกต่างกันไป สามารถสรุปการสื่อความหมายในการใช้ อุปกรณ์ได้ดังนี้ 1. นาฏศิลป์ไทยแบบมาตรฐานและพื้นเมือง นาฏศิลป์ไทยแบบมาตรฐานและพื้นเมือง มีการใช้อุปกรณ์การแสดงเพื่อประกอบความสวยงาม และ เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา เช่น จีนราพัด รากิ่งไม้เงินทอง ราดาบ รากริช ราพลอง ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนเก็บใบชา เซิ้งกระติ๊บ ร่อนแร่ 2. นาฏศิลป์ประยุกต์ อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ประยุกต์ เป็นองค์ประกอบนาฏศิลป์ที่สาคัญอย่างหนึ่งที่ทาให้ การแสดงมีความสมบูรณ์ ซึ่งไม่มีข้อกาหนดในการเลือกใช้ที่ตายตัว ผู้สร้างสรรค์ สามารถออกแบบอุปกรณ์ได้ ตามจินตนาการ ทั้งนี้มีทั้งการสื่อความหมายเชิงนามธรรม และรูปธรรมเช่น การใช้ผ้าสีฟ้าขนาดใหญ่ มีคนถือ ผ้าด้านข้างของเวทีทั้ง 2 ฝั่งในลักษณะขึงเป็นแนวนอนกลางเวทีสื่อถึงสายน้า ลักษณะเช่นนี้จัดว่าเป็นการสื่อ เลียนแบบธรรมชาติที่เป็นรูปธรรมที่มีอยู่จริง ลักษณะการสื่ออุปกรณ์การแสดงแบบนามธรรม เป็นลักษณะที่ ต้องการให้เห็นถึงการเปรียบเทียบเชิงสัญลักษณ์ หรือเชิงปรัชญา เช่น การใช้กล่องกระดาษ 3 ใบ มีขนาด ต่างกัน ในการแสดงนาฏศิลป์ประยุกต์ชุดความโลภ กล่องแต่ละใบนั้นต้องการสื่อถึง ความโลภของมนุษย์ใน ด้านต่าง ๆ ที่ไม่เท่ากันและยังแทนความหายนะที่มนุษย์พบจุดจบในตอนท้ายเรื่อง