SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน ฝนกรด (acid rain)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายชญานนท์ อะทุน ชั้น ม.6/7 เลขที่ 5
นายอนุสรณ์ น้อยหลู่ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 44
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายชญานนท์ อะทุน เลขที่ 5 2. นายอนุสรณ์ น้อยหลู่ เลขที่ 44
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ฝนกรด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
acid rain
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายชญานนท์ อะทุน
นายอนุสรณ์ น้อยหลู่
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน 17 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันโลกของเราได้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) ซึ่งมีสาเหตุจากการปล่อยก๊าซ
มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซึ่งก๊าชเหล่านี้นอกจากจะเป็นตัวการที่ทาให้เกิด
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) แล้วยังทาให้เกิดปัญหาที่น้อยคนรู้จักนั่นก็คือ ฝนกรด (acid rain) ผู้จัดทาเลือก
หัวข้อนี้มาทาโครงงานเพื่อที่จะไขคาถามว่า ฝนกรดคืออะไร ฝนกรดเกิดได้อย่างไร แล้วมีผลกระทบอย่างไร ถ้าปัญหา
ฝนกรดนี้เกิดขึ้นแล้วเราจะมีแนวทางการแก้ปัญหาและจะป้องกันอย่างไรให้ถูกวิธี และผู้จัดทาหวังว่าผู้ที่ได้ศึกษาเรื่อง
ฝนกรดแล้วจะทาให้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบันนี้ และช่วยกันอนุรักษ์โลกนี้ไว้ให้สวยงามต่อๆไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษากระบวนการการเกิดฝนกรด
2. เพื่อศึกษาผลกระทบจากฝนกรด
3. เพื่อศึกษาวิธีและแนวทางในการแก้ไขปัญหาฝนกรด
4. เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงปัญหาฝนกรดที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ขอบเขตโครงงาน
เป็นโครงงานที่ศึกษาเฉพาะกระบวนการเกิด ปัญหาและผลกระทบ วิธีและแนวทางในการแก้ไขปัญหาฝนกรด
3
หลักการและทฤษฎี
ฝนกรด (acid rain) หมายถึง น้าฝนที่มีค่าความเป็นกรด-เบส (pH value) ต่ากว่าระดับ ๕.๖ กรดในน้าฝน
เกิดจากการละลายน้าของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไนทริกออกไซด์ ที่มีอยู่ในบรรยากาศ ซึ่ง
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจากการกระทาของมนุษย์ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างซีกโลกเหนือและใต้ ประเทศ
อุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตร จึงใช้เชื้อเพลิงมากกว่าซีกโลกใต้ประมาณ ๑๖ เท่า จึงทาให้เกิด
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกไซด์ของกามะถัน และออกไซด์ของไนโตรเจน มากกว่าปกติ เมื่อฝนตกลงมาจึงละลาย
ก๊าซเหล่านั้น ทาให้น้าฝนมีค่าความเป็นกรดสูงขึ้น สาหรับธาตุไนโตรเจน ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย
เมื่อตายไป ซากพืชและสัตว์จะเน่าสลาย มีก๊าซแอมโมเนียเกิดขึ้น จุลินทรีย์บางกลุ่มจะเปลี่ยนก๊าซแอมโมเนียให้เป็น
สารจาพวกไนไทรต์ และไนเทรต และจุลินทรีย์กลุ่มอื่น ก็อาจจะแปลงสารดังกล่าว ย้อนกลับไปเป็นก๊าซไนโตรเจนใน
บรรยากาศได้ ส่วนพืชจาพวกถั่วมีความสามารถต่างจากพืชอื่นคือ ดึงก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศมาใช้ได้โดยตรง
แล้วทาให้เกิดปุ๋ยในดินเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นปรากฏการณ์ฟ้าผ่า จะทาให้ก๊าซไนโตรเจนกลายเป็นสารประกอบ
ไนโตรเจนได้ จากการทางานของเครื่องยนต์ของรถ เรือ และเครื่องบิน ก็ทาให้เกิดก๊าซไนทริกออกไซด์ได้เช่นกัน และ
เมื่อไปทาปฏิกิริยากับโอโซนต่อไป ก็จะทาให้เกิดก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ เมื่อเกิดฝนจะละลายน้า ทาให้เกิดกรด
ไนทรัส และกรดไนทริก ที่กล่าวมานี้เป็นตัวอย่างแสดงความแปรปรวนของสารประกอบไนโตรเจน ดังนั้นจึงคาดเดา
ปริมาณของสารประกอบไนโตรเจนในบรรยากาศได้ค่อนข้างยาก แต่พอที่จะเห็นได้ว่า ออกไซด์ของไนโตรเจนเกิดจาก
ตามวิถีธรรมชาติมากกว่าที่จะเกิดจากการกระทาของมนุษย์นับสิบเท่า
ความเสียหายที่เกิดจากฝนกรด
ด้วยเหตุที่สารมลพิษต่างๆ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์เหล่านี้ อยู่ใน
สภาวะที่เป็นก๊าซ นอกจากนั้นสภาพแวดล้อมแต่ละแห่ง ยังทาให้ก๊าซบางชนิดเกิดการแปรปรวนเปลี่ยนรูปไปได้อย่าง
สลับซับซ้อน ดังนั้นจึงไม่อาจคาดคะเนการเกิด และสถานที่ที่จะมีฝนกรดเกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน เช่น ในสหรัฐอเมริกา
มีปล่องควันของโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ ระบายมลพิษออกสู่บรรยากาศในชั้นสูงเป็นจานวนมาก แต่ไม่เกิดปัญหาฝนกรด
ในท้องถิ่นของอเมริกา แต่กลับไปเกิดฝนกรดข้ามพรมแดนในประเทศแคนาดา เป็นต้น ดังนั้นการศึกษาหาสาเหต เพื่อ
วางแนวทางควบคุม และป้องกัน จึงมีความยุ่งยากมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นกรดในอากาศมิใช่ว่าจะลงสู่พื้นดินโดย
ละลายปนมากับน้าฝนแต่ทางเดียวเท่านั้น แต่อาจสัมผัสกับพืชหรือพื้นดินได้โดยตรง ในลักษณะที่แห้ง (dry
deposition) ก็ได้ ซึ่งก็เป็นอันตรายได้เช่นกัน ไม่ว่าก๊าซเหล่านั้นจะลงสู่บริเวณพื้นดิน หรือแหล่งที่มีหิมะปกคลุมก็ตาม
ความเสียหายที่เกิดจากฝนกรดหรือจาก กรดในบรรยากาศมีหลายประการดังนี้
๑. ทาให้ดินเปรี้ยว และขาดธาตุอาหารสาคัญของพืช เช่น โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และโซเดียม
แต่ถ้าดินและหินที่น้าฝนไหลผ่านมีสารประกอบพวกคาร์บอเนต หรือหินปูนอยู่บ้าง ก็จะช่วยลดความเป็นกรดลงได้
บ้างเช่นกัน
๒. ถ้าในดินมีโลหะหนัก เช่น อะลูมิเนียม และปรอท ฝนกรดก็จะทาให้สารอะลูมิเนียมซัลเฟต ออกจากเนื้อ
ดิน เข้าไปละลายอยู่ในน้าใต้ดิน แล้วระงับการแตกรากของพืช ในที่สุดพืชจะหยุดโต และอาจจะตาย หากรับเชื้อโรค
ต่างๆ หรือแม้แต่เผชิญต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ หรือฤดูกาลแต่เพียงน้อย ดังเช่น ป่า Black forest ใน
ประเทศ เยอรมนี เป็นต้น
๓. ลดความอุดมสมบูรณ์ตามปกติของเนื้อดิน เพราะกรดในดินไปยับยั้งการทางานของจุลินทรีย์บางกลุ่ม ที่
ควบคุมการแปลงซากพืชซากสัตว์ให้กลายเป็นแอมโมเนียมไนไทรต์ และไนเทรต ซึ่งเป็นปุ๋ยของพืช
๔. ถ้าน้าฝนมีค่าความเป็นกรด-เบสต่ากว่า ๕.๖ จนถึง ๓ แล้ว จะทาให้เกิดริ้วรอยเป็นจุด หรือเป็นลายบนพืช
4
บางชนิด เช่น มะเขือเทศ ผัก ขม และทาให้ราคาพืชตกต่า
๕. เมื่อกรดในบรรยากาศ หรือฝนกรด ลงสู่น้าในทะเลสาบ และลาธารหลายแห่งในสวีเดน นอรเว และ
แคนาดา ปรากฏว่า มีมอส (moss) ขึ้นปกคลุมพื้นทะเลสาบ เช่น ในประเทศสวีเดน และมีสาหร่ายเส้นและมอสขึ้นใน
ลาธารของประเทศนอร์เวย์ มีผลทาให้สัตว์น้าขนาดเล็ก ซึ่งอาศัยอยู่ตามท้องน้าบางชนิดหายสาบสูญไป และเมื่อฝน
กรดปลดปล่อยอะลูมิเนียมในดินออกมาเจือปนอยู่ในน้าใต้ดิน และไหลลงสู่แหล่งน้า ก็จะทาให้เหงือกปลาเกิดความ
ระคายเคือง ปลาจะยิ่งสร้างเมือกห่อหุ้มส่วนที่ระคายเคืองนั้น ทาให้การถ่ายเทออกซิเจนที่เหงือกไม่สะดวก ในที่สุด
ปลาจะขาดอากาศหายใจ เพราะปลาหายใจทางเหงือก ปลาแซลมอน และปลาเทราต์ในทะเลสาบ และลาธารของ
ประเทศนอร์เวย์ มีจานวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด และใน พ.ศ. ๒๕๑๙ ระหว่างที่หิมะละลายในฤดูใบไม้ผลิ มีปลาใน
แม่น้าแห่งหนึ่งตายเป็นจานวนมาก มีผู้สันนิษฐานว่า เป็นเพราะปลาสูญเสียสมดุลของเกลือแร่ในเลือด ส่วนทากและ
หอยทาก ซึ่งทนกรดได้น้อยที่สุด ไม่ปรากฏว่า มีหลงเหลืออยู่ในทะเลสาบของนอร์เวย์เลย เมื่อน้ามีค่าความเป็นกรด-
เบส ต่ากว่า ๕.๒ ส่วนปลาบางชนิด เช่น ปลาซาลามานเดอร์ และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า เช่น กบ ซึ่งเป็นสัตว์ที่ทนได้ดี
ที่สุด ยังพบว่า ถ้าน้าเป็นกรดสูงจะยับยั้งการแพร่พันธุ์ของปลาและกบได้ ดังนั้น นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งกิน
สัตว์น้าต่างๆ เป็นอาหาร จึงได้รับผลกระทบไปด้วย และในขณะที่ปลาในน้าลดน้อยลง แมลงในน้าก็มีจานวนเพิ่มมาก
ขึ้น และจะเป็นแมลงที่มีความสามารถทนกรดได้ดี และอาจมีสารพิษพวกอะลูมิเนียมอยู่ในแมลง ดังนั้นเมื่อนกกิน
แมลง อะลูมิเนียมจึงสะสมในกระดูกนก ทาให้เปลือกไข่ของนกบางลง โอกาสที่ลูกนกจะรอดเป็นตัวก็ลดน้อยลง จากที่
กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า เมื่อเกิดฝนกรดขึ้น จะมีผลกระทบ ตั้งแต่พืช สัตว์ชั้นต่า ต่อเนื่องกันมาจนถึงสัตว์ปีก และสัตว์ที่
เลี้ยงลูกด้วยนม
๖. น้าที่เป็นกรดอาจส่งผลต่อน้าดื่มของประชาชน บางแห่งในประเทศสวีเดนยังคงใช้ท่อทองแดงส่งน้า จึง
อาจทาให้ท่อผุกร่อน และน้าเจือทองแดงมากขึ้น หากเป็นท่อเหล็กก็อาจเกิดผลคล้ายคลึงกัน ผมของสตรีชาวสวีเดนผู้
หนึ่ง เปลี่ยนจากสีทองเป็นสีเขียว เมื่อสระผมด้วยน้าบ่อ ซึ่งมีทองแดงซัลเฟต
๗. น้าฝนกรดอาจกัดกร่อนสิ่งก่อสร้างต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโบราณวัตถุ หรือสิ่งที่มีคุณค่าทางศิลปะ วิหาร
พาเธนอน ในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีก และเสาทราจัน ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ถูกกรดกัดกร่อนอย่างเห็นได้ชัด
การควบคุมการเกิดฝนกรด
ก็คือ การควบคุมกาเนิดสารประกอบของซัลเฟอร์ และไนโตรเจนนั่นเอง ซึ่งอาจมีวิธีการหลายวิธี เช่น
๑. การเลือกใช้เชื้อเพลิงที่มีการปนเปื้อนของซัลเฟอร์น้อย
๒. ปรับปรุงการสันดาป เพื่อควบคุมการเกิดสารประกอบออกไซด์ไนโตรเจน ด้วยการลดอุณหภูมิให้ต่าลงกว่า
๑๕๐๐ องศาเซลเซียส
๓. ควบคุมปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการสันดาป
๔. การติดตั้งอุปกรณ์ เพื่อกาจัดมลพิษก่อนระบายออกสู่บรรยากาศ ซึ่งจะต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง และเพิ่มความ
ยุ่งยากในการบารุงรักษาอีกไม่น้อย การสร้างปล่องควันสูงลิบลิ่วไม่สามารถแก้ปัญหามลพิษทางอากาศได้ แต่เป็นการ
ผลักภาระปัญหาจากสถานที่ใกล้เคียง ไปยังแหล่งที่อยู่ห่างไกลมากกว่าเท่านั้น
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ที่เหมาะสม
3. จัดทาโครงงาน
4. ตรวจและแก้ไขโครงงาน
5. นาเสนอโดยรูปแบบ Powerpoint
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. แหล่งอ้างอิงที่เหมาะสม
งบประมาณ : 30 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ชญานนท์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล อนุสรณ์
3 จัดทาโครงร่างงาน ชญานนท์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ชญานนท์,อนุสรณ์
5 ปรับปรุงทดสอบ อนุสรณ์
6 การทาเอกสารรายงาน ชญานนท์,อนุสรณ์
7 ประเมินผลงาน ชญานนท์
8 นาเสนอโครงงาน ชญานนท์,อนุสรณ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เข้าใจกระบวนการการเกิดฝนกรด
2. ตระหนักถึงผลกระทบจากฝนกรด
3. ทุกคนพยายามหาวิธีและแนวทางในการแก้ไขปัญหาฝนกรด
4. ทุกคนตระหนักถึงปัญหาฝนกรดที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. วิทยาศาสตร์
2. ภูมิศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=15&chap=10&page=t15-10-
infodetail09.html

More Related Content

What's hot

แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาP'kob Nong'kob
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำFrank My-doft
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีApinya Phuadsing
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ladda3
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมtanapatwangklaew
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4Mevenwen Singollo
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5Janchai Pokmoonphon
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2Ko Kung
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 

What's hot (20)

แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
 
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่  2โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่  2
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
 
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 

Similar to แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด

แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์chayanon Atoon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jiranun Phahonthammasan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
งานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอมงานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอม0866589628
 
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝนโครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝนPloy Pony
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNumpuengz' Piacker
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือJiranun Phahonthammasan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์thunnattapat
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 

Similar to แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด (20)

แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
at 1
at 1at 1
at 1
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
งานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอมงานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอม
 
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝนโครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 

แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน ฝนกรด (acid rain) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายชญานนท์ อะทุน ชั้น ม.6/7 เลขที่ 5 นายอนุสรณ์ น้อยหลู่ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 44 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นายชญานนท์ อะทุน เลขที่ 5 2. นายอนุสรณ์ น้อยหลู่ เลขที่ 44 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ฝนกรด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) acid rain ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายชญานนท์ อะทุน นายอนุสรณ์ น้อยหลู่ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 17 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันโลกของเราได้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) ซึ่งมีสาเหตุจากการปล่อยก๊าซ มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซึ่งก๊าชเหล่านี้นอกจากจะเป็นตัวการที่ทาให้เกิด ภาวะโลกร้อน (Global Warming) แล้วยังทาให้เกิดปัญหาที่น้อยคนรู้จักนั่นก็คือ ฝนกรด (acid rain) ผู้จัดทาเลือก หัวข้อนี้มาทาโครงงานเพื่อที่จะไขคาถามว่า ฝนกรดคืออะไร ฝนกรดเกิดได้อย่างไร แล้วมีผลกระทบอย่างไร ถ้าปัญหา ฝนกรดนี้เกิดขึ้นแล้วเราจะมีแนวทางการแก้ปัญหาและจะป้องกันอย่างไรให้ถูกวิธี และผู้จัดทาหวังว่าผู้ที่ได้ศึกษาเรื่อง ฝนกรดแล้วจะทาให้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบันนี้ และช่วยกันอนุรักษ์โลกนี้ไว้ให้สวยงามต่อๆไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษากระบวนการการเกิดฝนกรด 2. เพื่อศึกษาผลกระทบจากฝนกรด 3. เพื่อศึกษาวิธีและแนวทางในการแก้ไขปัญหาฝนกรด 4. เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงปัญหาฝนกรดที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ขอบเขตโครงงาน เป็นโครงงานที่ศึกษาเฉพาะกระบวนการเกิด ปัญหาและผลกระทบ วิธีและแนวทางในการแก้ไขปัญหาฝนกรด
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี ฝนกรด (acid rain) หมายถึง น้าฝนที่มีค่าความเป็นกรด-เบส (pH value) ต่ากว่าระดับ ๕.๖ กรดในน้าฝน เกิดจากการละลายน้าของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไนทริกออกไซด์ ที่มีอยู่ในบรรยากาศ ซึ่ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจากการกระทาของมนุษย์ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างซีกโลกเหนือและใต้ ประเทศ อุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตร จึงใช้เชื้อเพลิงมากกว่าซีกโลกใต้ประมาณ ๑๖ เท่า จึงทาให้เกิด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกไซด์ของกามะถัน และออกไซด์ของไนโตรเจน มากกว่าปกติ เมื่อฝนตกลงมาจึงละลาย ก๊าซเหล่านั้น ทาให้น้าฝนมีค่าความเป็นกรดสูงขึ้น สาหรับธาตุไนโตรเจน ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย เมื่อตายไป ซากพืชและสัตว์จะเน่าสลาย มีก๊าซแอมโมเนียเกิดขึ้น จุลินทรีย์บางกลุ่มจะเปลี่ยนก๊าซแอมโมเนียให้เป็น สารจาพวกไนไทรต์ และไนเทรต และจุลินทรีย์กลุ่มอื่น ก็อาจจะแปลงสารดังกล่าว ย้อนกลับไปเป็นก๊าซไนโตรเจนใน บรรยากาศได้ ส่วนพืชจาพวกถั่วมีความสามารถต่างจากพืชอื่นคือ ดึงก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศมาใช้ได้โดยตรง แล้วทาให้เกิดปุ๋ยในดินเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นปรากฏการณ์ฟ้าผ่า จะทาให้ก๊าซไนโตรเจนกลายเป็นสารประกอบ ไนโตรเจนได้ จากการทางานของเครื่องยนต์ของรถ เรือ และเครื่องบิน ก็ทาให้เกิดก๊าซไนทริกออกไซด์ได้เช่นกัน และ เมื่อไปทาปฏิกิริยากับโอโซนต่อไป ก็จะทาให้เกิดก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ เมื่อเกิดฝนจะละลายน้า ทาให้เกิดกรด ไนทรัส และกรดไนทริก ที่กล่าวมานี้เป็นตัวอย่างแสดงความแปรปรวนของสารประกอบไนโตรเจน ดังนั้นจึงคาดเดา ปริมาณของสารประกอบไนโตรเจนในบรรยากาศได้ค่อนข้างยาก แต่พอที่จะเห็นได้ว่า ออกไซด์ของไนโตรเจนเกิดจาก ตามวิถีธรรมชาติมากกว่าที่จะเกิดจากการกระทาของมนุษย์นับสิบเท่า ความเสียหายที่เกิดจากฝนกรด ด้วยเหตุที่สารมลพิษต่างๆ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์เหล่านี้ อยู่ใน สภาวะที่เป็นก๊าซ นอกจากนั้นสภาพแวดล้อมแต่ละแห่ง ยังทาให้ก๊าซบางชนิดเกิดการแปรปรวนเปลี่ยนรูปไปได้อย่าง สลับซับซ้อน ดังนั้นจึงไม่อาจคาดคะเนการเกิด และสถานที่ที่จะมีฝนกรดเกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน เช่น ในสหรัฐอเมริกา มีปล่องควันของโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ ระบายมลพิษออกสู่บรรยากาศในชั้นสูงเป็นจานวนมาก แต่ไม่เกิดปัญหาฝนกรด ในท้องถิ่นของอเมริกา แต่กลับไปเกิดฝนกรดข้ามพรมแดนในประเทศแคนาดา เป็นต้น ดังนั้นการศึกษาหาสาเหต เพื่อ วางแนวทางควบคุม และป้องกัน จึงมีความยุ่งยากมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นกรดในอากาศมิใช่ว่าจะลงสู่พื้นดินโดย ละลายปนมากับน้าฝนแต่ทางเดียวเท่านั้น แต่อาจสัมผัสกับพืชหรือพื้นดินได้โดยตรง ในลักษณะที่แห้ง (dry deposition) ก็ได้ ซึ่งก็เป็นอันตรายได้เช่นกัน ไม่ว่าก๊าซเหล่านั้นจะลงสู่บริเวณพื้นดิน หรือแหล่งที่มีหิมะปกคลุมก็ตาม ความเสียหายที่เกิดจากฝนกรดหรือจาก กรดในบรรยากาศมีหลายประการดังนี้ ๑. ทาให้ดินเปรี้ยว และขาดธาตุอาหารสาคัญของพืช เช่น โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และโซเดียม แต่ถ้าดินและหินที่น้าฝนไหลผ่านมีสารประกอบพวกคาร์บอเนต หรือหินปูนอยู่บ้าง ก็จะช่วยลดความเป็นกรดลงได้ บ้างเช่นกัน ๒. ถ้าในดินมีโลหะหนัก เช่น อะลูมิเนียม และปรอท ฝนกรดก็จะทาให้สารอะลูมิเนียมซัลเฟต ออกจากเนื้อ ดิน เข้าไปละลายอยู่ในน้าใต้ดิน แล้วระงับการแตกรากของพืช ในที่สุดพืชจะหยุดโต และอาจจะตาย หากรับเชื้อโรค ต่างๆ หรือแม้แต่เผชิญต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ หรือฤดูกาลแต่เพียงน้อย ดังเช่น ป่า Black forest ใน ประเทศ เยอรมนี เป็นต้น ๓. ลดความอุดมสมบูรณ์ตามปกติของเนื้อดิน เพราะกรดในดินไปยับยั้งการทางานของจุลินทรีย์บางกลุ่ม ที่ ควบคุมการแปลงซากพืชซากสัตว์ให้กลายเป็นแอมโมเนียมไนไทรต์ และไนเทรต ซึ่งเป็นปุ๋ยของพืช ๔. ถ้าน้าฝนมีค่าความเป็นกรด-เบสต่ากว่า ๕.๖ จนถึง ๓ แล้ว จะทาให้เกิดริ้วรอยเป็นจุด หรือเป็นลายบนพืช
  • 4. 4 บางชนิด เช่น มะเขือเทศ ผัก ขม และทาให้ราคาพืชตกต่า ๕. เมื่อกรดในบรรยากาศ หรือฝนกรด ลงสู่น้าในทะเลสาบ และลาธารหลายแห่งในสวีเดน นอรเว และ แคนาดา ปรากฏว่า มีมอส (moss) ขึ้นปกคลุมพื้นทะเลสาบ เช่น ในประเทศสวีเดน และมีสาหร่ายเส้นและมอสขึ้นใน ลาธารของประเทศนอร์เวย์ มีผลทาให้สัตว์น้าขนาดเล็ก ซึ่งอาศัยอยู่ตามท้องน้าบางชนิดหายสาบสูญไป และเมื่อฝน กรดปลดปล่อยอะลูมิเนียมในดินออกมาเจือปนอยู่ในน้าใต้ดิน และไหลลงสู่แหล่งน้า ก็จะทาให้เหงือกปลาเกิดความ ระคายเคือง ปลาจะยิ่งสร้างเมือกห่อหุ้มส่วนที่ระคายเคืองนั้น ทาให้การถ่ายเทออกซิเจนที่เหงือกไม่สะดวก ในที่สุด ปลาจะขาดอากาศหายใจ เพราะปลาหายใจทางเหงือก ปลาแซลมอน และปลาเทราต์ในทะเลสาบ และลาธารของ ประเทศนอร์เวย์ มีจานวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด และใน พ.ศ. ๒๕๑๙ ระหว่างที่หิมะละลายในฤดูใบไม้ผลิ มีปลาใน แม่น้าแห่งหนึ่งตายเป็นจานวนมาก มีผู้สันนิษฐานว่า เป็นเพราะปลาสูญเสียสมดุลของเกลือแร่ในเลือด ส่วนทากและ หอยทาก ซึ่งทนกรดได้น้อยที่สุด ไม่ปรากฏว่า มีหลงเหลืออยู่ในทะเลสาบของนอร์เวย์เลย เมื่อน้ามีค่าความเป็นกรด- เบส ต่ากว่า ๕.๒ ส่วนปลาบางชนิด เช่น ปลาซาลามานเดอร์ และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า เช่น กบ ซึ่งเป็นสัตว์ที่ทนได้ดี ที่สุด ยังพบว่า ถ้าน้าเป็นกรดสูงจะยับยั้งการแพร่พันธุ์ของปลาและกบได้ ดังนั้น นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งกิน สัตว์น้าต่างๆ เป็นอาหาร จึงได้รับผลกระทบไปด้วย และในขณะที่ปลาในน้าลดน้อยลง แมลงในน้าก็มีจานวนเพิ่มมาก ขึ้น และจะเป็นแมลงที่มีความสามารถทนกรดได้ดี และอาจมีสารพิษพวกอะลูมิเนียมอยู่ในแมลง ดังนั้นเมื่อนกกิน แมลง อะลูมิเนียมจึงสะสมในกระดูกนก ทาให้เปลือกไข่ของนกบางลง โอกาสที่ลูกนกจะรอดเป็นตัวก็ลดน้อยลง จากที่ กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า เมื่อเกิดฝนกรดขึ้น จะมีผลกระทบ ตั้งแต่พืช สัตว์ชั้นต่า ต่อเนื่องกันมาจนถึงสัตว์ปีก และสัตว์ที่ เลี้ยงลูกด้วยนม ๖. น้าที่เป็นกรดอาจส่งผลต่อน้าดื่มของประชาชน บางแห่งในประเทศสวีเดนยังคงใช้ท่อทองแดงส่งน้า จึง อาจทาให้ท่อผุกร่อน และน้าเจือทองแดงมากขึ้น หากเป็นท่อเหล็กก็อาจเกิดผลคล้ายคลึงกัน ผมของสตรีชาวสวีเดนผู้ หนึ่ง เปลี่ยนจากสีทองเป็นสีเขียว เมื่อสระผมด้วยน้าบ่อ ซึ่งมีทองแดงซัลเฟต ๗. น้าฝนกรดอาจกัดกร่อนสิ่งก่อสร้างต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโบราณวัตถุ หรือสิ่งที่มีคุณค่าทางศิลปะ วิหาร พาเธนอน ในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีก และเสาทราจัน ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ถูกกรดกัดกร่อนอย่างเห็นได้ชัด การควบคุมการเกิดฝนกรด ก็คือ การควบคุมกาเนิดสารประกอบของซัลเฟอร์ และไนโตรเจนนั่นเอง ซึ่งอาจมีวิธีการหลายวิธี เช่น ๑. การเลือกใช้เชื้อเพลิงที่มีการปนเปื้อนของซัลเฟอร์น้อย ๒. ปรับปรุงการสันดาป เพื่อควบคุมการเกิดสารประกอบออกไซด์ไนโตรเจน ด้วยการลดอุณหภูมิให้ต่าลงกว่า ๑๕๐๐ องศาเซลเซียส ๓. ควบคุมปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการสันดาป ๔. การติดตั้งอุปกรณ์ เพื่อกาจัดมลพิษก่อนระบายออกสู่บรรยากาศ ซึ่งจะต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง และเพิ่มความ ยุ่งยากในการบารุงรักษาอีกไม่น้อย การสร้างปล่องควันสูงลิบลิ่วไม่สามารถแก้ปัญหามลพิษทางอากาศได้ แต่เป็นการ ผลักภาระปัญหาจากสถานที่ใกล้เคียง ไปยังแหล่งที่อยู่ห่างไกลมากกว่าเท่านั้น
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ที่เหมาะสม 3. จัดทาโครงงาน 4. ตรวจและแก้ไขโครงงาน 5. นาเสนอโดยรูปแบบ Powerpoint เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. แหล่งอ้างอิงที่เหมาะสม งบประมาณ : 30 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ชญานนท์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล อนุสรณ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ชญานนท์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ชญานนท์,อนุสรณ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ อนุสรณ์ 6 การทาเอกสารรายงาน ชญานนท์,อนุสรณ์ 7 ประเมินผลงาน ชญานนท์ 8 นาเสนอโครงงาน ชญานนท์,อนุสรณ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เข้าใจกระบวนการการเกิดฝนกรด 2. ตระหนักถึงผลกระทบจากฝนกรด 3. ทุกคนพยายามหาวิธีและแนวทางในการแก้ไขปัญหาฝนกรด 4. ทุกคนตระหนักถึงปัญหาฝนกรดที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. วิทยาศาสตร์ 2. ภูมิศาสตร์ แหล่งอ้างอิง http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=15&chap=10&page=t15-10- infodetail09.html