SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
วิชาหุ่นยนต์เบื้องต้น
รหัส ง31201
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
โดยครูเพชรลดา สายหยุด
ในหุ่นยนต์ ๑ ตัวประกอบด้วยอุปกรณ์และชิ้นส่วน
ต่างๆ มากมาย ซึ่งอุปกรณ์แต่ละชนิดมีหน้าที่แตกต่างกัน
ตามลักษณะ และวัตถุประสงค์ของการใช้งาน การเลือกใช้
อุปกรณ์และชิ้นส่วนต่างๆ จึงจาเป็นต้องอาศัยความรู้ ความ
เข้าใจ รวมถึงความเหมาะสม เพื่อให้หุ่นยนต์สามารถ
ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว คงทน และประหยัด
พลังงาน
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
หุ่นยนต์แบ่งส่วนประกอบใหญ่ๆ
ออกเป็ น ๔ ส่วน
๑. อุปกรณ์ทางกล (mechanic)
๒. อุปกรณ์ขับเร้า (actuator)
๓. อุปกรณ์ไฟฟ
้ าหรืออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์(electronic
equipment)
๔. อุปกรณ์ควบคุม (controller)
๑. อุปกรณ์ทางกล (Mechanic)
คือ ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง
สกรูส่งกาลัง สายพาน โซ่ สปริง ข้อต่อสวมเพลา คลัตช์ เบรก ข้อ
ต่อ ก้านต่อโยง ตลับลูกปืนและปลอกสวม
โครงสร้าง (Frame) /สปริง (Spring) /ข้อต่อ
สวมเพลา (Coupling)
เพลา (Shaft) / เฟื อง (Gear) / สกรูส่งกาลัง
(Power screw)
สายพาน (Belt)/ โซ่ (Chain) / ข้อต่อ (Joint) /
คลัตช ์(Clutch)
โครงสร้าง (Frame)
โครงสร้างเป็นส่วนประกอบหลักของหุ่นยนต์ ซึ่งทา
หน้าที่ยึดจับอุปกรณ์ต่างๆ ในตัวหุ่นยนต์ และยัง
ป้องกันอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ให้ได้รับอันตรายจาก
ภายนอก โครงสร้างของหุ่นยนต์เปรียบได้กับโครง
กระดูกของมนุษย์ และมีลักษณะแตกต่างกันไป ตาม
หน้าที่การทางานและวัตถุประสงค์ของหุ่นยนต์นั้นๆ
เพลา (Shaft)
เพลาเป็นชิ้นส่วนที่มีลักษณะเป็นก้านทรงกระบอกที่
หมุนได้ ใช้สาหรับการส่งถ่ายกาลังจากอุปกรณ์ขับ
เร้า เช่น มอเตอร์ ไปยังส่วนที่เคลื่อนไหวของหุ่นยนต์
เพลาเป็นชิ้นส่วนที่สาคัญมากในหุ่นยนต์ที่
เคลื่อนไหวได้ทุกชนิด นอกจากเพลาแล้ว ยังมีแกน
(axle) ซึ่งมีลักษณะเดียวกันกับเพลา แต่ไม่
สามารถหมุนได้ ทาหน้าที่รองรับชิ้นส่วนที่หมุน เช่น
เพลาขับ ทาหน้าที่ถ่ายทอดพลังงาน
ในการขับเคลื่อนไปที่ล้อ
เฟื อง (Gear)
เฟืองทาหน้าที่ส่งกาลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง โดยใช้
การขบกันของฟันเฟือง ในการส่งถ่ายกาลังของเฟืองนั้น จะ
ประกอบไปด้วยเฟือง ๒ ตัว ที่ขบกันอยู่ โดยมีเฟืองขับ
(driving gear) หรือพิเนียน (pinion) เป็นตัวหมุนส่ง
กาลังให้แก่เฟืองตาม (driven gear) เฟืองที่นิยมใช้ใน
หุ่นยนต์มีอยู่หลายชนิด ซึ่งเฟืองแต่ละชนิดสามารถจาแนกได้ตาม
ลักษณะของฟัน ได้แก่ เฟืองตรง เฟืองเฉียง เฟืองดอกจอก และ
ชุดเฟืองหนอน
สกรูส่งกาลัง (Power screw)
สกรูส่งกาลังมีหน้าที่ส่งกาลังโดยเปลี่ยนจากการหมุน
เป็นการเลื่อน มีอัตราการทดของเฟืองที่สูงมาก จึง
สามารถใช้ในการส่งถ่ายกาลังได้ดี นิยมใช้ในงานที่
ต้องแบกรับน้าหนักมากๆ
สายพาน (Belt)
สายพานมีหน้าที่ส่งกาลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง
เช่นเดียวกับเฟือง แต่สายพานมีสมบัติเฉพาะตัว คือ อ่อนตัวได้ สามารถรับ
แรงกระตุกและแรงสั่นได้ดีกว่าเฟือง เสียงเบากว่า แต่ก็มีข้อเสีย คือ อัตราทด
ไม่แน่นอน เนื่องจาก การไถลตัวของสายพาน และไม่สามารถรับอัตราทดที่
สูงได้ การส่งกาลังด้วยสายพานทาได้โดยติดตั้งวงล้อสายพานตั้งแต่ ๒ อัน
ขึ้นไป โดยทั่วไปชนิดของสายพานที่นิยมใช้ในหุ่นยนต์ ได้แก่ สายพานแบน
ที่มีหน้าตัดขวางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สายพานกลม ที่มีหน้าตัดขวางเป็น
วงกลม สายพานลิ่ม ที่มีหน้าตัดขวางเป็นสี่เหลี่ยมคางหมู และสายพานฟัน
ที่มีลักษณะเหมือนกับสายพานแบน แต่ที่สายพานจะมีฟัน เพื่อใช้ขบกับวง
ล้อสายพานแบบเฟือง ทาให้ไม่มีการลื่นไถล
โซ่ (Chain)
โซ่มีหน้าที่ส่งกาลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง
เช่นเดียวกับเฟืองและสายพาน ในการส่งกาลัง โซ่จะคล้องอยู่
รอบเฟืองโซ่ตั้งแต่ ๒ อันขึ้นไป ซึ่งเฟืองโซ่เป็นล้อที่มีฟันรูปร่าง
พิเศษ เพื่อรับกับร่องของโซ่ ในการขับด้วยโซ่นั้น ข้อโซ่จะขบ
กับฟันของเฟืองโซ่ จึงไม่มีการลื่นไถล ทาให้การส่งกาลังมี
อัตราทดคงที่เช่นเดียวกับการขับด้วยเฟือง แต่การติดตั้งไม่
ต้องเที่ยงตรงเหมือนกับการติดตั้งเฟือง จึงเป็นที่นิยมกันมาก
แต่ก็มีข้อเสีย คือ มีเสียงดัง
ข้อต่อ (Joint)
ข้อต่อเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่อย่าง
สัมพันธ์กันของหุ่นยนต์ โดยทั่วไปมี ๒ ชนิด คือ ข้อต่อ
หมุน (rotational joint) เป็นข้อต่อที่ต่อกับ
ชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ในลักษณะที่มีการหมุนรอบข้อต่อ และ
ข้อต่อเชิงเส้น (linear joint) เป็นข้อต่อที่ต่อกับ
ชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ในลักษณะเป็นเชิงเส้น เช่น เคลื่อนที่
แบบไป-กลับในแนวเส้นตรงหรือโค้ง
สปริง (Spring)
สปริงเป็นชิ้นส่วนที่มีความยืดหยุ่น มีหน้าที่หลายอย่าง เช่น ส่งแรง
จากชิ้นส่วนหนึ่งไปยังอีกชิ้นส่วนหนึ่ง รองรับแรงกระแทก เป็นแหล่ง
พลังงานให้แก่กลไก และยังมีหน้าที่ให้ชิ้นส่วนกลับคืนสู่ตาแหน่งเดิม
สปริงที่นิยมใช้ในหุ่นยนต์ ได้แก่ สปริงขด สปริงขดแบบดึง สปริงขด
แบบบิด สปริงแผ่น สปริงแหวน และสปริงลาน
ข้อต่อสวมเพลา (Coupling)
ข้อต่อสวมเพลาเป็นอุปกรณ์ซึ่งมีหน้าที่ส่งถ่ายแรงบิดระหว่างเพลา ๒
เพลา โดยเพลาที่ต่อกับต้นกาลังจะเป็นเพลาขับ และอีกด้านหนึ่งเป็น
เพลาตาม ข้อต่อสวมเพลาที่นิยมใช้กับหุ่นยนต์สามารถแบ่งออกได้
ดังนี้
ข้อต่อสวมเพลาแบบแข็งเกร็ง (rigid coupling) ใช้ในการต่อ
เพลาที่มีศูนย์ของเพลาทั้งสองอยู่ตรงกัน
ข้อต่อสวมเพลาแบบยืดหยุ่นได้ (flexible coupling) มี
ความยืดหยุ่นเล็กน้อย จึงช่วยประกอบเพลา ๒ เพลา ที่มีการเยื้อง
ศูนย์ได้ และยังช่วยลดการเกิดแรงกระชากหรือแรงสั่นได้อีกด้วย
ข้อต่อสวมเพลานิรภัย (safety coupling) ใช้ป้องกันไม่ให้
ข้อต่อสวมเพลาแบบยืดหยุ่นได้
คลัตช ์(Clutch)
คลัตช์เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ส่งถ่ายแรงบิดระหว่างเพลา ๒ เพลา เช่นเดียวกับ
ข้อต่อสวมเพลา แต่สามารถตัดต่อกาลังในการส่งถ่ายได้ในขณะที่เพลากาลัง
หมุนอยู่ คลัตช์แบ่งเป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ คลัตช์ที่ใช้แรงเสียดทาน
ระหว่างผิวสัมผัส (friction clutch) ได้แก่ คลัตช์แผ่น คลัตช์ลิ่ม
คลัตช์ก้ามปู และคลัตช์แม่เหล็กไฟฟ้า คลัตช์ประเภทนี้จะเกิดการลื่นไถล
ได้ ทาให้ลดแรงกระแทกที่เกิดขึ้นที่ข้อต่อเพลา แต่มีข้อเสียคือ มักเกิดความ
ร้อนสูง ส่วนคลัตช์อีกประเภทหนึ่งคือ คลัตช์ที่ไม่ใช้ความเสียดทานระหว่าง
ผิวสัมผัส (positive contact clutch) ได้แก่ คลัตช์ที่ใช้วิธีการล็
อกทางกลโดยตรง (direct mechanical lock-up) ข้อดีคือ ไม่
มีการลื่นไถลทาให้ไม่เกิดความร้อน ส่วนข้อเสีย คือ ไม่สามารถตัดต่อเพลาที่
หมุนด้วยความเร็วรอบสูงได้ และจะเกิดแรงกระแทกขึ้นทุกครั้ง
เบรก (Break)
เบรกเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการ
เคลื่อนที่ของชิ้นส่วน ทาให้การเคลื่อนที่
ช้าลง หรือหยุดการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วน
นั้นๆ ด้วยการใช้แรงเสียดทานระหว่าง
ผิวสัมผัส เบรกแบ่งออกเป็น ๓ประเภท
ใหญ่ๆ คือ เบรกแผ่นคาด เบรกก้ามปู
และเบรกแบบจาน
ตลับลูกปื นและปลอกสวม
(Bearing and Bush)
ตลับลูกปืนและปลอกสวมต่างก็เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รองรับจุดหมุน หรือจุดต่างๆ ที่
เคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ มีหน้าที่ลดแรงเสียดทาน ที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของอุปกรณ์
ก้านต่อโยง (Link)
ก้านต่อโยงในที่นี้หมายถึง ชื่อเรียกชิ้นส่วนของวัตถุที่นามาเชื่อมต่อ เพื่อสร้างการ
เคลื่อนไหวของหุ่นยนต์ ซึ่งหากนาก้านต่อโยงหลายๆ อันมาต่อรวมกันจะเรียกว่า
กลไกก้านต่อโยง
กลไกก้านต่อโยงจอเรดาร์แบบพีพีไอ
๒. อุปกรณ์ขับเร้า (Actuator)
คือ อุปกรณ์ที่สามารถเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าที่ป้อนเข้าให้กลายเป็น
การกระจัด การเคลื่อนที่ หรือแรง เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า ระบบนิวแมติก
ระบบไฮดรอลิก
มอเตอร ์ไฟฟ
้ า (Electric motor)
มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล มีหน้าที่เป็นตัวขับ
กลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ให้เคลื่อนไหว เปรียบเสมือนกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีหน้าที่
ขับเคลื่อนอวัยวะต่างๆ ให้เคลื่อนไหว เช่น เมื่อต่อมอเตอร์เข้ากับข้อต่อ หุ่นยนต์จะ
สามารถหมุนข้อต่อนั้นได้ หรือต่อมอเตอร์เข้ากับชุดล้อ หุ่นยนต์ก็จะสามารถ
ขับเคลื่อนได้ มอเตอร์ไฟฟ้าแบบหมุนต่อเนื่อง ประกอบไปด้วย ๒ ส่วน คือ ส่วนที่อยู่
กับที่หรือสเตเตอร์ (stator) และส่วนที่เคลื่อนที่หรือโรเตอร์ (rotor) โดยมี
หลักการทางาน คือ กระแสไฟฟ้าที่ถูกจ่ายเข้าไปเป็นพลังงานให้แก่มอเตอร์ ทาให้
เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในขดลวดสเตเตอร์และขดลวดโรเตอร์ การผลักกันของ
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งสอง ทาให้เพลาที่ต่ออยู่กับโรเตอร์หมุนอย่างต่อเนื่องไป
เรื่อยๆ และจะหยุดหมุนก็ต่อเมื่อ ปิดการจ่ายพลังงานไฟฟ้า หรือแรงหมุนของ
มอเตอร์ไม่สามารถเอาชนะภาระที่มากระทาต่อมอเตอร์ได้
ระบบนิวแมติก (Pneumatic)
ระบบนิวแมติก คือ ระบบกาลังของไหลที่ใช้แรงดันของอากาศเป็นตัว
ขับเคลื่อนอุปกรณ์ต่างๆ ให้เป็นพลังงานกล เช่น กระบอกสูบระบบนิวแมติก
มอเตอร์ระบบนิวแมติก เนื่องจากของไหลที่ใช้ในการอัดคือ อากาศ ซึ่งมีการ
อัดยุบตัวได้ ระบบนิวแมติกจึงไม่สามารถแบกรับน้าหนักมากได้
ระบบไฮดรอลิก (Hydraulic)
ระบบไฮดรอลิก คือ ระบบกาลังของไหล ที่ใช้
แรงดันของเหลวเป็นตัวขับเคลื่อนอุปกรณ์ต่างๆ
ให้เป็นพลังงานกล โดยมีหลักการทางานคล้าย
ระบบนิวแมติก แต่แตกต่างกันที่ของไหลที่ใช้ใน
การอัด เนื่องจากของไหลที่ใช้ในการอัดคือ
ของเหลว ซึ่งไม่มีการยุบตัว ระบบไฮดรอลิกจึง
นิยมใช้ในงานที่ต้องใช้กาลังสูง

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นWiranya_king
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์piyawanrat2534
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 

What's hot (20)

บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 

More from ssuser5adb53

การออกแบบ Portfolio
การออกแบบ Portfolioการออกแบบ Portfolio
การออกแบบ Portfoliossuser5adb53
 
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกssuser5adb53
 
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlashชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlashssuser5adb53
 
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1ssuser5adb53
 
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlashแนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlashssuser5adb53
 
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพssuser5adb53
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือหุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือssuser5adb53
 
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์ssuser5adb53
 

More from ssuser5adb53 (9)

การออกแบบ Portfolio
การออกแบบ Portfolioการออกแบบ Portfolio
การออกแบบ Portfolio
 
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
 
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlashชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
 
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
 
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlashแนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
 
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือหุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
 
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
 

ส่วนประกอบของหุ่นยนต์

  • 2. ในหุ่นยนต์ ๑ ตัวประกอบด้วยอุปกรณ์และชิ้นส่วน ต่างๆ มากมาย ซึ่งอุปกรณ์แต่ละชนิดมีหน้าที่แตกต่างกัน ตามลักษณะ และวัตถุประสงค์ของการใช้งาน การเลือกใช้ อุปกรณ์และชิ้นส่วนต่างๆ จึงจาเป็นต้องอาศัยความรู้ ความ เข้าใจ รวมถึงความเหมาะสม เพื่อให้หุ่นยนต์สามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว คงทน และประหยัด พลังงาน ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
  • 3. หุ่นยนต์แบ่งส่วนประกอบใหญ่ๆ ออกเป็ น ๔ ส่วน ๑. อุปกรณ์ทางกล (mechanic) ๒. อุปกรณ์ขับเร้า (actuator) ๓. อุปกรณ์ไฟฟ ้ าหรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์(electronic equipment) ๔. อุปกรณ์ควบคุม (controller)
  • 4. ๑. อุปกรณ์ทางกล (Mechanic) คือ ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกาลัง สายพาน โซ่ สปริง ข้อต่อสวมเพลา คลัตช์ เบรก ข้อ ต่อ ก้านต่อโยง ตลับลูกปืนและปลอกสวม โครงสร้าง (Frame) /สปริง (Spring) /ข้อต่อ สวมเพลา (Coupling) เพลา (Shaft) / เฟื อง (Gear) / สกรูส่งกาลัง (Power screw) สายพาน (Belt)/ โซ่ (Chain) / ข้อต่อ (Joint) / คลัตช ์(Clutch)
  • 5. โครงสร้าง (Frame) โครงสร้างเป็นส่วนประกอบหลักของหุ่นยนต์ ซึ่งทา หน้าที่ยึดจับอุปกรณ์ต่างๆ ในตัวหุ่นยนต์ และยัง ป้องกันอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ให้ได้รับอันตรายจาก ภายนอก โครงสร้างของหุ่นยนต์เปรียบได้กับโครง กระดูกของมนุษย์ และมีลักษณะแตกต่างกันไป ตาม หน้าที่การทางานและวัตถุประสงค์ของหุ่นยนต์นั้นๆ
  • 6. เพลา (Shaft) เพลาเป็นชิ้นส่วนที่มีลักษณะเป็นก้านทรงกระบอกที่ หมุนได้ ใช้สาหรับการส่งถ่ายกาลังจากอุปกรณ์ขับ เร้า เช่น มอเตอร์ ไปยังส่วนที่เคลื่อนไหวของหุ่นยนต์ เพลาเป็นชิ้นส่วนที่สาคัญมากในหุ่นยนต์ที่ เคลื่อนไหวได้ทุกชนิด นอกจากเพลาแล้ว ยังมีแกน (axle) ซึ่งมีลักษณะเดียวกันกับเพลา แต่ไม่ สามารถหมุนได้ ทาหน้าที่รองรับชิ้นส่วนที่หมุน เช่น เพลาขับ ทาหน้าที่ถ่ายทอดพลังงาน ในการขับเคลื่อนไปที่ล้อ
  • 7. เฟื อง (Gear) เฟืองทาหน้าที่ส่งกาลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง โดยใช้ การขบกันของฟันเฟือง ในการส่งถ่ายกาลังของเฟืองนั้น จะ ประกอบไปด้วยเฟือง ๒ ตัว ที่ขบกันอยู่ โดยมีเฟืองขับ (driving gear) หรือพิเนียน (pinion) เป็นตัวหมุนส่ง กาลังให้แก่เฟืองตาม (driven gear) เฟืองที่นิยมใช้ใน หุ่นยนต์มีอยู่หลายชนิด ซึ่งเฟืองแต่ละชนิดสามารถจาแนกได้ตาม ลักษณะของฟัน ได้แก่ เฟืองตรง เฟืองเฉียง เฟืองดอกจอก และ ชุดเฟืองหนอน
  • 8. สกรูส่งกาลัง (Power screw) สกรูส่งกาลังมีหน้าที่ส่งกาลังโดยเปลี่ยนจากการหมุน เป็นการเลื่อน มีอัตราการทดของเฟืองที่สูงมาก จึง สามารถใช้ในการส่งถ่ายกาลังได้ดี นิยมใช้ในงานที่ ต้องแบกรับน้าหนักมากๆ
  • 9. สายพาน (Belt) สายพานมีหน้าที่ส่งกาลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง เช่นเดียวกับเฟือง แต่สายพานมีสมบัติเฉพาะตัว คือ อ่อนตัวได้ สามารถรับ แรงกระตุกและแรงสั่นได้ดีกว่าเฟือง เสียงเบากว่า แต่ก็มีข้อเสีย คือ อัตราทด ไม่แน่นอน เนื่องจาก การไถลตัวของสายพาน และไม่สามารถรับอัตราทดที่ สูงได้ การส่งกาลังด้วยสายพานทาได้โดยติดตั้งวงล้อสายพานตั้งแต่ ๒ อัน ขึ้นไป โดยทั่วไปชนิดของสายพานที่นิยมใช้ในหุ่นยนต์ ได้แก่ สายพานแบน ที่มีหน้าตัดขวางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สายพานกลม ที่มีหน้าตัดขวางเป็น วงกลม สายพานลิ่ม ที่มีหน้าตัดขวางเป็นสี่เหลี่ยมคางหมู และสายพานฟัน ที่มีลักษณะเหมือนกับสายพานแบน แต่ที่สายพานจะมีฟัน เพื่อใช้ขบกับวง ล้อสายพานแบบเฟือง ทาให้ไม่มีการลื่นไถล
  • 10. โซ่ (Chain) โซ่มีหน้าที่ส่งกาลังจากเพลาหนึ่งไปยังอีกเพลาหนึ่ง เช่นเดียวกับเฟืองและสายพาน ในการส่งกาลัง โซ่จะคล้องอยู่ รอบเฟืองโซ่ตั้งแต่ ๒ อันขึ้นไป ซึ่งเฟืองโซ่เป็นล้อที่มีฟันรูปร่าง พิเศษ เพื่อรับกับร่องของโซ่ ในการขับด้วยโซ่นั้น ข้อโซ่จะขบ กับฟันของเฟืองโซ่ จึงไม่มีการลื่นไถล ทาให้การส่งกาลังมี อัตราทดคงที่เช่นเดียวกับการขับด้วยเฟือง แต่การติดตั้งไม่ ต้องเที่ยงตรงเหมือนกับการติดตั้งเฟือง จึงเป็นที่นิยมกันมาก แต่ก็มีข้อเสีย คือ มีเสียงดัง
  • 11. ข้อต่อ (Joint) ข้อต่อเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่อย่าง สัมพันธ์กันของหุ่นยนต์ โดยทั่วไปมี ๒ ชนิด คือ ข้อต่อ หมุน (rotational joint) เป็นข้อต่อที่ต่อกับ ชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ในลักษณะที่มีการหมุนรอบข้อต่อ และ ข้อต่อเชิงเส้น (linear joint) เป็นข้อต่อที่ต่อกับ ชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ในลักษณะเป็นเชิงเส้น เช่น เคลื่อนที่ แบบไป-กลับในแนวเส้นตรงหรือโค้ง
  • 12. สปริง (Spring) สปริงเป็นชิ้นส่วนที่มีความยืดหยุ่น มีหน้าที่หลายอย่าง เช่น ส่งแรง จากชิ้นส่วนหนึ่งไปยังอีกชิ้นส่วนหนึ่ง รองรับแรงกระแทก เป็นแหล่ง พลังงานให้แก่กลไก และยังมีหน้าที่ให้ชิ้นส่วนกลับคืนสู่ตาแหน่งเดิม สปริงที่นิยมใช้ในหุ่นยนต์ ได้แก่ สปริงขด สปริงขดแบบดึง สปริงขด แบบบิด สปริงแผ่น สปริงแหวน และสปริงลาน
  • 13. ข้อต่อสวมเพลา (Coupling) ข้อต่อสวมเพลาเป็นอุปกรณ์ซึ่งมีหน้าที่ส่งถ่ายแรงบิดระหว่างเพลา ๒ เพลา โดยเพลาที่ต่อกับต้นกาลังจะเป็นเพลาขับ และอีกด้านหนึ่งเป็น เพลาตาม ข้อต่อสวมเพลาที่นิยมใช้กับหุ่นยนต์สามารถแบ่งออกได้ ดังนี้ ข้อต่อสวมเพลาแบบแข็งเกร็ง (rigid coupling) ใช้ในการต่อ เพลาที่มีศูนย์ของเพลาทั้งสองอยู่ตรงกัน ข้อต่อสวมเพลาแบบยืดหยุ่นได้ (flexible coupling) มี ความยืดหยุ่นเล็กน้อย จึงช่วยประกอบเพลา ๒ เพลา ที่มีการเยื้อง ศูนย์ได้ และยังช่วยลดการเกิดแรงกระชากหรือแรงสั่นได้อีกด้วย ข้อต่อสวมเพลานิรภัย (safety coupling) ใช้ป้องกันไม่ให้ ข้อต่อสวมเพลาแบบยืดหยุ่นได้
  • 14. คลัตช ์(Clutch) คลัตช์เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ส่งถ่ายแรงบิดระหว่างเพลา ๒ เพลา เช่นเดียวกับ ข้อต่อสวมเพลา แต่สามารถตัดต่อกาลังในการส่งถ่ายได้ในขณะที่เพลากาลัง หมุนอยู่ คลัตช์แบ่งเป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ คลัตช์ที่ใช้แรงเสียดทาน ระหว่างผิวสัมผัส (friction clutch) ได้แก่ คลัตช์แผ่น คลัตช์ลิ่ม คลัตช์ก้ามปู และคลัตช์แม่เหล็กไฟฟ้า คลัตช์ประเภทนี้จะเกิดการลื่นไถล ได้ ทาให้ลดแรงกระแทกที่เกิดขึ้นที่ข้อต่อเพลา แต่มีข้อเสียคือ มักเกิดความ ร้อนสูง ส่วนคลัตช์อีกประเภทหนึ่งคือ คลัตช์ที่ไม่ใช้ความเสียดทานระหว่าง ผิวสัมผัส (positive contact clutch) ได้แก่ คลัตช์ที่ใช้วิธีการล็ อกทางกลโดยตรง (direct mechanical lock-up) ข้อดีคือ ไม่ มีการลื่นไถลทาให้ไม่เกิดความร้อน ส่วนข้อเสีย คือ ไม่สามารถตัดต่อเพลาที่ หมุนด้วยความเร็วรอบสูงได้ และจะเกิดแรงกระแทกขึ้นทุกครั้ง
  • 15. เบรก (Break) เบรกเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการ เคลื่อนที่ของชิ้นส่วน ทาให้การเคลื่อนที่ ช้าลง หรือหยุดการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วน นั้นๆ ด้วยการใช้แรงเสียดทานระหว่าง ผิวสัมผัส เบรกแบ่งออกเป็น ๓ประเภท ใหญ่ๆ คือ เบรกแผ่นคาด เบรกก้ามปู และเบรกแบบจาน
  • 16. ตลับลูกปื นและปลอกสวม (Bearing and Bush) ตลับลูกปืนและปลอกสวมต่างก็เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รองรับจุดหมุน หรือจุดต่างๆ ที่ เคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ มีหน้าที่ลดแรงเสียดทาน ที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของอุปกรณ์ ก้านต่อโยง (Link) ก้านต่อโยงในที่นี้หมายถึง ชื่อเรียกชิ้นส่วนของวัตถุที่นามาเชื่อมต่อ เพื่อสร้างการ เคลื่อนไหวของหุ่นยนต์ ซึ่งหากนาก้านต่อโยงหลายๆ อันมาต่อรวมกันจะเรียกว่า กลไกก้านต่อโยง กลไกก้านต่อโยงจอเรดาร์แบบพีพีไอ
  • 17. ๒. อุปกรณ์ขับเร้า (Actuator) คือ อุปกรณ์ที่สามารถเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าที่ป้อนเข้าให้กลายเป็น การกระจัด การเคลื่อนที่ หรือแรง เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า ระบบนิวแมติก ระบบไฮดรอลิก
  • 18. มอเตอร ์ไฟฟ ้ า (Electric motor) มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล มีหน้าที่เป็นตัวขับ กลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ให้เคลื่อนไหว เปรียบเสมือนกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีหน้าที่ ขับเคลื่อนอวัยวะต่างๆ ให้เคลื่อนไหว เช่น เมื่อต่อมอเตอร์เข้ากับข้อต่อ หุ่นยนต์จะ สามารถหมุนข้อต่อนั้นได้ หรือต่อมอเตอร์เข้ากับชุดล้อ หุ่นยนต์ก็จะสามารถ ขับเคลื่อนได้ มอเตอร์ไฟฟ้าแบบหมุนต่อเนื่อง ประกอบไปด้วย ๒ ส่วน คือ ส่วนที่อยู่ กับที่หรือสเตเตอร์ (stator) และส่วนที่เคลื่อนที่หรือโรเตอร์ (rotor) โดยมี หลักการทางาน คือ กระแสไฟฟ้าที่ถูกจ่ายเข้าไปเป็นพลังงานให้แก่มอเตอร์ ทาให้ เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในขดลวดสเตเตอร์และขดลวดโรเตอร์ การผลักกันของ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งสอง ทาให้เพลาที่ต่ออยู่กับโรเตอร์หมุนอย่างต่อเนื่องไป เรื่อยๆ และจะหยุดหมุนก็ต่อเมื่อ ปิดการจ่ายพลังงานไฟฟ้า หรือแรงหมุนของ มอเตอร์ไม่สามารถเอาชนะภาระที่มากระทาต่อมอเตอร์ได้
  • 19. ระบบนิวแมติก (Pneumatic) ระบบนิวแมติก คือ ระบบกาลังของไหลที่ใช้แรงดันของอากาศเป็นตัว ขับเคลื่อนอุปกรณ์ต่างๆ ให้เป็นพลังงานกล เช่น กระบอกสูบระบบนิวแมติก มอเตอร์ระบบนิวแมติก เนื่องจากของไหลที่ใช้ในการอัดคือ อากาศ ซึ่งมีการ อัดยุบตัวได้ ระบบนิวแมติกจึงไม่สามารถแบกรับน้าหนักมากได้
  • 20. ระบบไฮดรอลิก (Hydraulic) ระบบไฮดรอลิก คือ ระบบกาลังของไหล ที่ใช้ แรงดันของเหลวเป็นตัวขับเคลื่อนอุปกรณ์ต่างๆ ให้เป็นพลังงานกล โดยมีหลักการทางานคล้าย ระบบนิวแมติก แต่แตกต่างกันที่ของไหลที่ใช้ใน การอัด เนื่องจากของไหลที่ใช้ในการอัดคือ ของเหลว ซึ่งไม่มีการยุบตัว ระบบไฮดรอลิกจึง นิยมใช้ในงานที่ต้องใช้กาลังสูง