SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
วิชาการสร้างงานแอนนิ
เมชั่น1
รหัส ง32201
กลุ่มสาระการงานอาชีพ โดยครูเพชรลด
แนะนำวิชำ
• ชื่อวิชา : การสร้างงานแอนิเมชั่น 1
• รหัสวิชา : ง32201
• หน่วยกิต : 0.5 หน่วย (1คาบ/สัปดาห์)
• โปรแกรมหลัก : Adobe Flash CS3
• คะแนนรายวิชา รวม 100 คะแนน
• คะแนนเก็บก่อนกลางภาค 25 คะแนน
• คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน
• คะแนนเก็บก่อนปลายภาค 25 คะแนน
• คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน
•ศตวรรษที่ 19 John Marey และ
Edward Muybridge ได้
พัฒนำอุปกรณ์บันทึกกำรเคลื่อนไหวเพื่อ
นำมำบันทึกกำรเคลื่อนไหวของม้ำ ต่อมำ
Thomas Edison ได้ประดิษฐ์
กล้องถ่ำยภำพ “Kinetograph”
สำมำรถถ่ำยภำพได้ 10 ภำพต่อวินำที
ควำมเป็นมำของ
[1]
•ในปี 1928 บริษัท Walt
Disney ได้สร้ำงกำร์ตูนเรื่อง
Mickey Mouse ซึ่งเป็นกำร์ตูน
เรื่องแรกที่ใช้ภำพสี และมีเสียงบรรยำย
ประกอบทั้งเรื่อง
ควำมเป็นมำของ
•ในปี 1950 ได้เริ่มมีกำรนำ
คอมพิวเตอร์กรำฟิกและภำพยนตร์มำ
ผสมผสำนกันเป็นเอฟเฟกต์พิเศษ
ให้กับภำพยนตร์
[2]
•ในปี 1995 บริษัท Pixar ได้สร้ำง
กำร์ตูนแอนิเมชั่น 3 มิติ เรื่อง Toy
Story ซึ่งเป็นภำพยนตร์กำร์ตูนแอนิ
เมชั่น 3 มิติ ที่ประสบควำมสำเร็จเป็น
อย่ำงมำก
ควำมเป็นมำของ
[3]
•ปัจจุบันแอนิเมชั่นได้เข้ำมำมีบทบำทใน
อุตสำหกรรมต่ำงๆ มำกมำย ทั้งด้ำน
ควำมบันเทิง เกมส์ กำรศึกษำ และกำร
โฆษณำ
• แอนิเมชัน หรือ ชีวลักษณ์ (อังกฤษ: animation) หมำยถึง กำรสร้ำง
ภำพเคลื่อนไหวโดยกำรฉำยภำพนิ่งหลำย ๆ ภำพต่อเนื่องกันด้วยควำมเร็วสูงโดยกำรนำ
ภำพนิ่งมำเรียงต่อกัน
• กำรใช้คอมพิวเตอร์กรำฟิกส์ในกำรคำนวณสร้ำงภำพจะเรียกกำรสร้ำงภำพเคลื่อนไหวด้วย
คอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หำกใช้เทคนิคกำรถ่ำยภำพหรือวำดรูป หรือหรือรูป
ถ่ำยแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่ำ ภำพเคลื่อนไหวแบบกำรเคลื่อนที่
หยุดหรือสตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักกำรแล้ว ไม่ว่ำจะสร้ำงภำพ หรือเฟรม
ด้วยวิธีใดก็ตำม เมื่อนำภำพดังกล่ำวมำฉำยต่อกันด้วยควำมเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินำทีขึ้น
ไป เรำจะเห็นเหมือนว่ำ ภำพดังกล่ำวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจำกกำรเห็นภำพติด
ตำ
• ในทำงคอมพิวเตอร์ กำรจัดเก็บภำพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่ำงแพร่หลำยในอินเทอร์เน็ต มี
หลำยรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช และไฟล์สำหรับเก็บวีดิ
ทัศน์ประเภทอื่น ๆ
คืออะไร??????
•Animation หมำยถึง “กำรสร้ำงภำพเคลื่อนไหว” เกิด
จำกกำรนำภำพนิ่งมำเรียงลำดับกันและแสดงผลอย่ำงต่อเนื่อง
•แอนิเมชั่นใช้หลักกำรเดียวกับวิดีโอ แต่ต่ำงกันที่แอนิเมชั่น เป็น
กำรนำภำพวำดหรือกรำฟิกต่ำงๆมำใช้สร้ำงภำพเคลื่อนไหว
สรุปควำมหมำยของ
ตัวอย่ำงชิ้นงำน
แอนิเมชันแสดง 6 เฟรมต่อเนื่องกัน
ตัวอย่ำงแอนิเมชันนี้เคลื่อนด้วยควำมเร็ว 10 เฟรมต่อวินำที
เมื่อนามาฉายต่อเนื่องกันจะเห็นเป็ น
ภาพเคลื่อนไหว
เมื่อเรำเพิ่มจำนวนเฟรมให้กับภำพ จะทำให้ได้ภำพที่ช้ำลง
ประเภทของ
•สำมำรถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
• 1. กำรสร้ำงงำนแอนิเมชั่นแบบดั่งเดิม
• 2. กำรสร้ำงแอนิเมชั่นแบบสต๊อปโมชั่น (Stop Motion หรือเรียกว่ำ
Model Animation)
• 3. กำรสร้ำงแอนิเมชั่นด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer
Animation)
ประเภทของ
• 1. กำรสร้ำงงำนแอนิเมชั่นแบบดั่งเดิม (Traditional Animation หรือ Drawn
Animation)
กำร์ตูนเรื่อง
มิกกี้เมำส์ ปี1928
ประเภทของ
• 2. กำรสร้ำงแอนิเมชั่นแบบสต๊อปโมชั่น (Stop Motion หรือเรียกว่ำ Model
Animation)
ประเภทของ
• 3. กำรสร้ำงแอนิเมชั่นด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Animation)
ชนิดของ
• 1. Drawn Animation คือแอนิเมชั่นที่เกิดจำกกำรวำดภำพหลำยๆพันภำพ แต่
กำรฉำยภำพเหล่ำนั้นผ่ำนกล้องอำจใช้เวลำไม่กี่นำที ข้อดีของกำรทำแอนิเมชั่นชนิดนี้คือ มี
ควำมเป็นศิลปะสวยงำมน่ำดูชม แต่ข้อเสียคือต้องใช้เวลำในกำรผลิตมำกต้องใช้แอนิเมเตอร์
จำนวนมำกและต้นทุน ก็สูงตำมไปด้วย
• 2. Stop Motion หรือเรียกว่ำ Model Animation เป็นกำรถ่ำยภำพแต่
ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อยๆขยับ อำจจะเป็นของเล่นหรืออำจจะสร้ำงตัวละครจำก
Plasticine วัสดุที่คล้ำยกับดินน้ำมันโดยโมเดลที่สร้ำงขึ้นมำสำมำรถใช้ได้อีกหลำยครั้ง
และยังสำมำรถผลิตได้หลำยตัว ทำให้สำมำรถถ่ำยทำได้หลำยฉำกในเวลำเดียวกัน แต่กำร
ทำ Stop Motmotion นั้นต้องอำศัยเวลำและควำมทุ่มเทมำก เช่น กำรผลิต
ภำพยนตร์เรื่อง James and the Giant Peach สำมำรถผลิตได้ 10 วินำที
ต่อวันเท่ำนั้น วิธีนี้เป็นงำนที่ต้องอำศัยควำมอดทนมำก
• 3. Computer Animation ปัจจุบันมีซอฟท์ที่สำมำรถช่วยให้กำรทำแอนิเมชั่น
ง่ำยขึ้น เช่น โปรแกรมMaya , Macromedia และ 3D Studio Max
เป็นต้น วิธีนี้เป็นวิธีที่ประหยัดเวลำกำรผลิตและประหยัดต้นทุนเป็นอย่ำงมำก เช่น ภำพยนตร์
เรื่องToy Story ใช้แอนิเมเตอร์เพียง 110 คนเท่ำนั้น
แบ่งประเภทตำมกำร
เคลื่อนไหว
• แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
• 1. ภำพเคลื่อนไหวแบบ 2 มิติ (2D
Animation สำมำรถมองเห็นได้ทั้งควำม
สูงและควำมกว้ำง
• 2. ภำพเคลื่อนไหวแบบ 3 มิติ (3D
Animation) สำมำรถมองเห็นได้ทั้งควำม
สูง ควำมกว้ำง และควำมลึก
คีย์เฟรม (Keyframe) และทวีนนิ่ง
(Tweening)
กำรสร้ำงแอนิเมชั่นในยุคเริ่มต้น แอนิเมเตอร์จะวำดภำพ เหตุกำรณ์
สำคัญลงบนเฟรมที่เรียกว่ำคีย์เฟรม
เช่น ต้องการสร้างแอนิเมชั่นคนลุกจากเก้าอี้
คีย์เฟรมคือภาพของ คนนั่งบนเก้าอี้ และภาพคน
ที่ลุกจากเก้าอี้แล้ว
เฟรมที่อยู่ระหว่ำงคีย์เฟรมจะถูกวำดโดยผู้ช่วยแอนิเมเตอร์ เรียก
กระบวนกำรวำดเฟรมที่อยู่ระหว่ำงคีย์เฟรมนี้ว่ำทวีนนิ่ง
คีย์เฟรม (Keyframe) และทวีนนิ่ง
(Tweening)
Keyfra
me[1]
Keyfra
me[2]
(Tweeni
ng)
กระบวนการพัฒน
า
ขั้นเตรียมการพัฒนา
1.กำหนดเนื้อเรื่อง 2.สร้ำงบอร์ดเรียบเรียงเนื้อหำ
ขั้นการพัฒนางาน
ขั้นตอนการเก็บงาน
ตัวอย่างStoryboar
dของงาน
รูปแบบไฟล์
นามสกุล ลักษณะ
.gif
GIF Animation เป็นไฟล์แอนิเมชั่นขนำดเล็ก
เหมำะสำหรับกำรใช้งำนบนเว็บไซต์
.swf
เป็นไฟล์ที่ถูกสร้ำงจำก Adobe Flash สำมำรถ
เล่นได้ด้วยโปรแกรม Flash Player
.max
เป็นไฟล์ที่สร้ำงจำก Autodesk 3D MAX ที่
ได้รับควำมนิยมมำกในปัจจุบัน สำมำรถแปลงให้เป็น
ไฟล์วีดีโอในรูปแบบอื่นๆได้
ข้อดีของการผลิต
งานแบบ
1.ช่วยให้กำรอธิบำยเรื่องที่ค่อนข้ำงซับซ้อนหรือยำกจะเข้ำใจให้
กลำยเป็นเรื่องง่ำยขึ้น
2.ช่วยให้เกิดกำรจินตนำกำรอย่ำงไร้ขอบเขต ไม่มีกำรปิดกั้น
ทำงควำมคิด สำมำรถใช้ควำมคิดได้อย่ำงอิสรเสรี
3.ช่วยเน้นให้ส่วนสำคัญเกิดควำมกระจ่ำงและชัดเจนขึ้น เป็น
กำรใช้ภำพอธิบำยได้ดี
4.ช่วยทำให้สิ่งที่เป็นนำมธรรมกลำยเป็นรูปธรรมได้อย่ำง
ชัดเจนและดีขึ้น
ใบงำนที่ 1 ทำควำมรู้จักแอนิเมชั่น
(ทาลงสมุดและถ่ายภาพส่งในไลน์กลุ่ม)
• 1. ให้นักเรียนอธิบำยควำมเป็นมำของแอนิเมชั่นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
• ..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........
• 2.ให้นักเรียนลองวำดภำพกำหนดเป็น คีย์เฟรม 1 และคีย์เฟรม 2 พร้อมกับกำหนด ทวีน
นิ่งให้กับภำพด้วย

More Related Content

More from ssuser5adb53 (6)

แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlashแนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
 
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือหุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
 
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
 
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
 

การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1