SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๔ --
พระราชดําริเรื่องคุณสมบัติของศาสตราจารย์
สมเด็จพระราชบิดาฯ ทรงประทานพระราชดําริเรื่องคุณสมบัติของผู้ดํารงตําแหน่งศาสตราจารย์ ไว้ดังนี้
ข้อที่ ๑ ต้องรับประกาศนียบัตรหรือปริญญาจากที่
เทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย๙๖
ข้อที่ ๒ เรียนวิชาที่สอน และสอนอย่างน้อย ๒ ปีใน
สํานัก
ข้อที่ ๓ ต้องสามารถสอนนักเรียน
ข้อที่ ๔ ต้องทําการทดลอง คือ ทําวิจัยหรือได้ทําสิ่ง
ใดให้เห็นว่า สามารถหาความรู้ใหม่ให้แก่
ตนเองและโลกได้ เพราะผู้มีความรู้ลึกจะ
บํารุงความรู้ของตนได้ดีขึ้นเสมอ จะไม่รู้สึก
เสียดายวิทยาโดยกลัวว่าศิษย์จะดีกว่า
ข้อที่ ๕ ต้องสามารถในการปกครองพอที่จะรักษา
หน้าที่หัวหน้าแผนก๙๗
และต้องมีจรรยาที่ดี
พอที่จะเป็นที่นับถือ กลัวเกรงและไว้ใจของ
นักเรียน คือศาสตราจารย์นี้นักเรียนต้องกลัว
เกรง๙๘
ข้อที่ ๖ ต้องเคยทําการในแผนกอย่างน้อย ๒ ปี๙๙
จึงจําเป็นต้องมีอะไรล่อใจให้คนดีมาสมัครเป็นศาสตราจารย์ เพื่อที่จะมิให้มีความกังวลที่จะต้องหาเลี้ยงชีพ
หรือฝักใฝ่ที่จะให้ได้เลื่อนยศเป็นอธิบดีหรือเสนาบดี๑๐๐
รัฐบาลควรดําริให้เงินเดือน
ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
ความที่ทรงมีน้ําพระทัยเปี่ยมล้นด้วยความกรุณาจึงมักมีผู้จดหมายมาขอพระราชทานการสนับสนุน
เกี่ยวกับเรื่องการศึกษาอยู่เสมอ อย่างไรก็ตาม ทรงปฏิบัติธรรมครบถ้วนทั้งพรหมวิหารทั้ง ๔ คือ เมตตา
กรุณา มุทิตา และอุเบกขา บางครั้งเมื่อจดหมายที่ร้องความความอนุเคราะห์มีลักษณะไม่เหมาะสม ผิด
หลักการที่ถูกต้อง ก็ทรงตอบตําหนิ พร้อมแสดงเหตุผล และข้อมูลที่ถูกต้อง โดยไม่เกรงว่าจะขัดใจผู้ใด เช่น
ครั้งหนึ่งเมื่อนายซุ่นใช้ แม้นมาษ และคณะนักเรียนมัธยมได้จัดทําฎีกาพิเศษทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จ
๙๖
สมัยนั้นมีจุฬาลงกรณ์แห่งเดียวและเพิ่งเปิด
๙๗
สมัยก่อนนี้คนเป็นศาสตราจารย์ต้องสามารถปกครองได้ อย่างน้อยต้องเป็นหัวหน้าแผนกได้
๙๘
สมัยนี้ ศาสตราจารย์มัวแต่ทําวิจัย สอนน้อยมาก
๙๙
สมัยก่อนมีแต่แพทย์กับอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์
๑๐๐
ต้องล่อใจ มิฉะนั้นแล้วจะไปเป็นอธิบดีไปเป็นผู้บริหารกันหมด
พระราชดําริทางด้านการศึกษา
๑. การศึกษา เป็นงานที่มี “คน” เป็นหัวใจ หรือปัจจัยสําคัญ
การจัดการศึกษาจึงต้องเน้นคุณค่าของความเป็นคน ให้
เป็นคนก่อนที่จะเข้าสู่อาชีพ ซึ่งจะทําให้เขาผู้นั้น “ดี” ใน
ด้านอาชีพตามมา ด้วยผ่านการศึกษาอาชีพที่จัดไว้อย่างดี
แล้ว
๒.ในการสอนคนต้องสอนด้วยคนเป็นหลัก ประสบการณ์เป็น
สําคัญ และเครื่องมือเป็นส่วนประกอบ เพราะคนเป็น
แบบอย่าง เป็นครูที่ดีที่สุด
๓. การศึกษาสิ่งใดๆก็ตาม จะต้องศึกษาให้รู้จริงถึงแก่นแท้
ด้วยการฝึกหัดและปฏิบัติ จึงจะถือว่าเป็นการศึกษาที่
แท้จริง
๔. การจัดการศึกษาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันอยู่ตลอดเวลา
จะต้องวางรากฐานให้ดี ถ้ารากฐานดีแล้ว จะมีผลดีต่อการ
ดําเนินการในขั้นต่อๆไปด้วย
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๕ --
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทานลดหย่อนค่าเล่าเรียนจากการขึ้นเล่าเรียน โดยได้สําเนาฎีกา
พิเศษดังกล่าวถวายสมเด็จฯ พระบรมราชชนกด้วย
ทรงมีพระราชหัตถเลขาตอบในวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๒ ดังมีข้อความตอนหนึ่งระบุว่า “...
จริงอยู่รัฐบาลมีกิจที่จะให้การศึกษาแก่ราษฎร จึงได้มีการเก็บเงินรัชชูปการจากราษฎรชายฉกรรจ์ทุก
คน และเก็บเงินค่าศึกษาพลีเฉพาะในบางมณฑล เพื่อทําการศึกษาสําหรับประชาชน ราษฎรของเรา
ยากจนและยังมีความนิยมน้อยในการศึกษาจึงต้องเก็บแต่น้อย .... เมื่อมีผู้ประสงค์จะได้รับการศึกษา
สูงขึ้นไป บุคคลผู้นั้นก็จะต้องให้ราคาสูงแลกเปลี่ยนกับประโยชน์ที่ตนจะได้ เห็นว่าเป็นการยุติธรรม
.... เมื่อพิจารณาถึงสถิติค่าใช้จ่ายสําหรับชนิดการศึกษาต่างๆ แล้ว จะแลเห็นได้ว่าประเทศ
สยามกลับเป็นประเทศที่ใช้จ่ายเงินสําหรับมัธยมศึกษามากกว่าประเทศอื่น ข้าพเจ้าระลึกได้ว่า
ประเทศญี่ปุ่นจ่ายประมาณ ๑๓ เปอร์เซ็นต์ของรายจ่ายการศึกษาทั้งหมดให้แก่โรงเรียนมัธยม
รัฐบาลฟิลิปินส์จ่ายประมาณ ๑๑ เปอร์เซ็นต์ รัฐบาลอินเดียจ่ายประมาณ ๑๕ เปอร์เซ็นต์ แต่รัฐบาล
สยามจ่ายถึง ๑๗ เปอร์เซ็นต์ ประเทศยุโรปและอเมริกาจ่ายกันประมาณ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ ฉะนั้นจะว่า
รัฐบาลสยามบํารุงโรงเรียนมัธยมน้อยไปนั้นเห็นจะไม่ได้ ถ้าจะว่าเพียงแต่รัฐบาลสยามบํารุงการศึกษา
ทั่วไปยังน้อยอยู่ก็ว่าได้ แต่ข้าพเจ้าก็ชี้เหตุผลให้แล้วว่าเพราะเรายังขาดความนิยม
คราวนี้กล่าวถึงความชํานาญของข้าพเจ้าเอง ในเรื่องการศึกษาในประเทศสยาม ข้าพเจ้าสนใจ
ในการศึกษามาก จึงมีผู้มาปรึกษาถึงการศึกษาของบุตรและธิดาหลายราย และบางรายก็ขอความ
อุดหนุนแทบทุกราย ข้าพเจ้าได้มีโอกาสพิจารณางบประมาณใช้จ่ายของครอบครัวนั้น เห็นว่าโดยมาก
เขาตั้งรายจ่ายสําหรับการอยู่กิน การแต่งกาย การทําบุญ การรับแขก การเล่น และการมหรสพ แต่
น้อยรายจะตั้งรายจ่ายเพื่อการศึกษา ในโรงเรียนสตรีแห่งหนึ่งมีนักเรียนสตรีที่นุ่งซิ่นแพร สวมเสื้อแพร
และแต่งเครื่องเพ็ชรทอง แต่ไม่มีเงินมาใช้ค่าเล่าเรียน มีมารดาของเด็กหลายคนมาร้องไห้อ้อนวอนให้
ข้าพเจ้าออกเงินให้แก่บุตรเขาได้เล่าเรียน แต่ตนเองนั้นนั่งรถยนต์มาแลสวมแหวนเพ็ชรทั้งสองมือเมื่อ
ยกผ้าเช็ดน้ําตาครั้งใด แสงเพ็ชรก็วูบวาบเข้าตา ข้าพเจ้ารู้สึกว่าดุจเหมือนอิเหนนาฉายกฤชในเรื่อง
ละคร เมื่อเป็นเช่นนี้จะให้ข้าพเจ้าเชื่ออย่างไรได้ว่าผู้นั้นยากจนถึงไม่มีเงินจะให้การศึกษาแก่ลูกของ
ตนเอง
รวมใจความว่า รายจ่ายสําหรับการศึกษานั้นยังไม่มีตําแหน่งในงบประมาณของครอบครัวคน
ไทย
มิใช่แต่การศึกษาที่ขึ้นราคาเท่านั้น น้ํามันรถยนต์ก็ขึ้นราคา บุหรี่ สุรา การดูภาพยนตร์ก็ขึ้น
นราคาเหมือนกัน แต่ไม่มีใครร้องว่าไม่มีเงินสําหรับบํารุงของเหล่านี้ ให้มีตําแหน่งอยู่ในงบประมาณ
ของการใช้จ่ายแห่งครอบครัว ยังไม่เห็นมีใครเลิกการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา เพราะราคาของเหล่านี้แพงขึ้น
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๖ --
ด้วยเหตุเหล่านี้ ข้าพเจ้าจึงเห็นวิธีการแก้ปัญหาเรื่องนี้ จําจะต้องพยายามให้เกิดความนิยมใน
การศึกษามากขึ้นทั้งในที่สูงและที่ต่ํา ให้เกิดความเล็งเห็นว่า การศึกษานั้นเป็นสิ่งที่จําเป็น และเห็นว่า
ท่านเป็นผู้คล่องแคล่วในการแต่งหนังสือ ควรคิดอ่านแต่เรื่องต่างๆ ชักชวนให้คนเรานิยม เห็นว่า
การศึกษานั้น เป็นสิ่งที่ควรซื้อด้วยทุนทรัพย์อันมีค่า เหมือนอาหารหรือเครื่องแต่งกาย ฉะนั้นมนุษย์เรา
ทุกคนยินดีแต่งกาย บางคนลงทุนแต่งกายมากกว่ารายได้เสียอีก กล่าวคือเสมียนเงินเดือน ๓๐ บาท
ต้องนุ่งผ้าม่วงสวมถุงน่องรองเท้าเหมือนพระยาเงินเดือน ๕๐๐ บาท เหตุใดเราจึงยอมเสียเงินแต่งแต่
กาย และทําไมเราจึงจะไม่ยอมเสียเงินค่าปัญญาบ้าง
ข้าพเจ้ามีความยินดีที่ท่านสนใจในเรื่องนี้ จึงขอวิงวอนให้ใช้ความรู้ความสามารถของท่านมา
ช่วยกันหาวิธีช่วยบิดามารดาผู้ปกครองของเด็กนักเรียนกันบ้างเถิด

More Related Content

More from สุรพล ศรีบุญทรง

National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่นสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพาเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพาสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดลเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดลสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพาเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดลเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
 

19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๔ -- พระราชดําริเรื่องคุณสมบัติของศาสตราจารย์ สมเด็จพระราชบิดาฯ ทรงประทานพระราชดําริเรื่องคุณสมบัติของผู้ดํารงตําแหน่งศาสตราจารย์ ไว้ดังนี้ ข้อที่ ๑ ต้องรับประกาศนียบัตรหรือปริญญาจากที่ เทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย๙๖ ข้อที่ ๒ เรียนวิชาที่สอน และสอนอย่างน้อย ๒ ปีใน สํานัก ข้อที่ ๓ ต้องสามารถสอนนักเรียน ข้อที่ ๔ ต้องทําการทดลอง คือ ทําวิจัยหรือได้ทําสิ่ง ใดให้เห็นว่า สามารถหาความรู้ใหม่ให้แก่ ตนเองและโลกได้ เพราะผู้มีความรู้ลึกจะ บํารุงความรู้ของตนได้ดีขึ้นเสมอ จะไม่รู้สึก เสียดายวิทยาโดยกลัวว่าศิษย์จะดีกว่า ข้อที่ ๕ ต้องสามารถในการปกครองพอที่จะรักษา หน้าที่หัวหน้าแผนก๙๗ และต้องมีจรรยาที่ดี พอที่จะเป็นที่นับถือ กลัวเกรงและไว้ใจของ นักเรียน คือศาสตราจารย์นี้นักเรียนต้องกลัว เกรง๙๘ ข้อที่ ๖ ต้องเคยทําการในแผนกอย่างน้อย ๒ ปี๙๙ จึงจําเป็นต้องมีอะไรล่อใจให้คนดีมาสมัครเป็นศาสตราจารย์ เพื่อที่จะมิให้มีความกังวลที่จะต้องหาเลี้ยงชีพ หรือฝักใฝ่ที่จะให้ได้เลื่อนยศเป็นอธิบดีหรือเสนาบดี๑๐๐ รัฐบาลควรดําริให้เงินเดือน ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม ความที่ทรงมีน้ําพระทัยเปี่ยมล้นด้วยความกรุณาจึงมักมีผู้จดหมายมาขอพระราชทานการสนับสนุน เกี่ยวกับเรื่องการศึกษาอยู่เสมอ อย่างไรก็ตาม ทรงปฏิบัติธรรมครบถ้วนทั้งพรหมวิหารทั้ง ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา บางครั้งเมื่อจดหมายที่ร้องความความอนุเคราะห์มีลักษณะไม่เหมาะสม ผิด หลักการที่ถูกต้อง ก็ทรงตอบตําหนิ พร้อมแสดงเหตุผล และข้อมูลที่ถูกต้อง โดยไม่เกรงว่าจะขัดใจผู้ใด เช่น ครั้งหนึ่งเมื่อนายซุ่นใช้ แม้นมาษ และคณะนักเรียนมัธยมได้จัดทําฎีกาพิเศษทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จ ๙๖ สมัยนั้นมีจุฬาลงกรณ์แห่งเดียวและเพิ่งเปิด ๙๗ สมัยก่อนนี้คนเป็นศาสตราจารย์ต้องสามารถปกครองได้ อย่างน้อยต้องเป็นหัวหน้าแผนกได้ ๙๘ สมัยนี้ ศาสตราจารย์มัวแต่ทําวิจัย สอนน้อยมาก ๙๙ สมัยก่อนมีแต่แพทย์กับอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ๑๐๐ ต้องล่อใจ มิฉะนั้นแล้วจะไปเป็นอธิบดีไปเป็นผู้บริหารกันหมด พระราชดําริทางด้านการศึกษา ๑. การศึกษา เป็นงานที่มี “คน” เป็นหัวใจ หรือปัจจัยสําคัญ การจัดการศึกษาจึงต้องเน้นคุณค่าของความเป็นคน ให้ เป็นคนก่อนที่จะเข้าสู่อาชีพ ซึ่งจะทําให้เขาผู้นั้น “ดี” ใน ด้านอาชีพตามมา ด้วยผ่านการศึกษาอาชีพที่จัดไว้อย่างดี แล้ว ๒.ในการสอนคนต้องสอนด้วยคนเป็นหลัก ประสบการณ์เป็น สําคัญ และเครื่องมือเป็นส่วนประกอบ เพราะคนเป็น แบบอย่าง เป็นครูที่ดีที่สุด ๓. การศึกษาสิ่งใดๆก็ตาม จะต้องศึกษาให้รู้จริงถึงแก่นแท้ ด้วยการฝึกหัดและปฏิบัติ จึงจะถือว่าเป็นการศึกษาที่ แท้จริง ๔. การจัดการศึกษาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันอยู่ตลอดเวลา จะต้องวางรากฐานให้ดี ถ้ารากฐานดีแล้ว จะมีผลดีต่อการ ดําเนินการในขั้นต่อๆไปด้วย
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๕ -- พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทานลดหย่อนค่าเล่าเรียนจากการขึ้นเล่าเรียน โดยได้สําเนาฎีกา พิเศษดังกล่าวถวายสมเด็จฯ พระบรมราชชนกด้วย ทรงมีพระราชหัตถเลขาตอบในวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๒ ดังมีข้อความตอนหนึ่งระบุว่า “... จริงอยู่รัฐบาลมีกิจที่จะให้การศึกษาแก่ราษฎร จึงได้มีการเก็บเงินรัชชูปการจากราษฎรชายฉกรรจ์ทุก คน และเก็บเงินค่าศึกษาพลีเฉพาะในบางมณฑล เพื่อทําการศึกษาสําหรับประชาชน ราษฎรของเรา ยากจนและยังมีความนิยมน้อยในการศึกษาจึงต้องเก็บแต่น้อย .... เมื่อมีผู้ประสงค์จะได้รับการศึกษา สูงขึ้นไป บุคคลผู้นั้นก็จะต้องให้ราคาสูงแลกเปลี่ยนกับประโยชน์ที่ตนจะได้ เห็นว่าเป็นการยุติธรรม .... เมื่อพิจารณาถึงสถิติค่าใช้จ่ายสําหรับชนิดการศึกษาต่างๆ แล้ว จะแลเห็นได้ว่าประเทศ สยามกลับเป็นประเทศที่ใช้จ่ายเงินสําหรับมัธยมศึกษามากกว่าประเทศอื่น ข้าพเจ้าระลึกได้ว่า ประเทศญี่ปุ่นจ่ายประมาณ ๑๓ เปอร์เซ็นต์ของรายจ่ายการศึกษาทั้งหมดให้แก่โรงเรียนมัธยม รัฐบาลฟิลิปินส์จ่ายประมาณ ๑๑ เปอร์เซ็นต์ รัฐบาลอินเดียจ่ายประมาณ ๑๕ เปอร์เซ็นต์ แต่รัฐบาล สยามจ่ายถึง ๑๗ เปอร์เซ็นต์ ประเทศยุโรปและอเมริกาจ่ายกันประมาณ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ ฉะนั้นจะว่า รัฐบาลสยามบํารุงโรงเรียนมัธยมน้อยไปนั้นเห็นจะไม่ได้ ถ้าจะว่าเพียงแต่รัฐบาลสยามบํารุงการศึกษา ทั่วไปยังน้อยอยู่ก็ว่าได้ แต่ข้าพเจ้าก็ชี้เหตุผลให้แล้วว่าเพราะเรายังขาดความนิยม คราวนี้กล่าวถึงความชํานาญของข้าพเจ้าเอง ในเรื่องการศึกษาในประเทศสยาม ข้าพเจ้าสนใจ ในการศึกษามาก จึงมีผู้มาปรึกษาถึงการศึกษาของบุตรและธิดาหลายราย และบางรายก็ขอความ อุดหนุนแทบทุกราย ข้าพเจ้าได้มีโอกาสพิจารณางบประมาณใช้จ่ายของครอบครัวนั้น เห็นว่าโดยมาก เขาตั้งรายจ่ายสําหรับการอยู่กิน การแต่งกาย การทําบุญ การรับแขก การเล่น และการมหรสพ แต่ น้อยรายจะตั้งรายจ่ายเพื่อการศึกษา ในโรงเรียนสตรีแห่งหนึ่งมีนักเรียนสตรีที่นุ่งซิ่นแพร สวมเสื้อแพร และแต่งเครื่องเพ็ชรทอง แต่ไม่มีเงินมาใช้ค่าเล่าเรียน มีมารดาของเด็กหลายคนมาร้องไห้อ้อนวอนให้ ข้าพเจ้าออกเงินให้แก่บุตรเขาได้เล่าเรียน แต่ตนเองนั้นนั่งรถยนต์มาแลสวมแหวนเพ็ชรทั้งสองมือเมื่อ ยกผ้าเช็ดน้ําตาครั้งใด แสงเพ็ชรก็วูบวาบเข้าตา ข้าพเจ้ารู้สึกว่าดุจเหมือนอิเหนนาฉายกฤชในเรื่อง ละคร เมื่อเป็นเช่นนี้จะให้ข้าพเจ้าเชื่ออย่างไรได้ว่าผู้นั้นยากจนถึงไม่มีเงินจะให้การศึกษาแก่ลูกของ ตนเอง รวมใจความว่า รายจ่ายสําหรับการศึกษานั้นยังไม่มีตําแหน่งในงบประมาณของครอบครัวคน ไทย มิใช่แต่การศึกษาที่ขึ้นราคาเท่านั้น น้ํามันรถยนต์ก็ขึ้นราคา บุหรี่ สุรา การดูภาพยนตร์ก็ขึ้น นราคาเหมือนกัน แต่ไม่มีใครร้องว่าไม่มีเงินสําหรับบํารุงของเหล่านี้ ให้มีตําแหน่งอยู่ในงบประมาณ ของการใช้จ่ายแห่งครอบครัว ยังไม่เห็นมีใครเลิกการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา เพราะราคาของเหล่านี้แพงขึ้น
  • 3. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๖ -- ด้วยเหตุเหล่านี้ ข้าพเจ้าจึงเห็นวิธีการแก้ปัญหาเรื่องนี้ จําจะต้องพยายามให้เกิดความนิยมใน การศึกษามากขึ้นทั้งในที่สูงและที่ต่ํา ให้เกิดความเล็งเห็นว่า การศึกษานั้นเป็นสิ่งที่จําเป็น และเห็นว่า ท่านเป็นผู้คล่องแคล่วในการแต่งหนังสือ ควรคิดอ่านแต่เรื่องต่างๆ ชักชวนให้คนเรานิยม เห็นว่า การศึกษานั้น เป็นสิ่งที่ควรซื้อด้วยทุนทรัพย์อันมีค่า เหมือนอาหารหรือเครื่องแต่งกาย ฉะนั้นมนุษย์เรา ทุกคนยินดีแต่งกาย บางคนลงทุนแต่งกายมากกว่ารายได้เสียอีก กล่าวคือเสมียนเงินเดือน ๓๐ บาท ต้องนุ่งผ้าม่วงสวมถุงน่องรองเท้าเหมือนพระยาเงินเดือน ๕๐๐ บาท เหตุใดเราจึงยอมเสียเงินแต่งแต่ กาย และทําไมเราจึงจะไม่ยอมเสียเงินค่าปัญญาบ้าง ข้าพเจ้ามีความยินดีที่ท่านสนใจในเรื่องนี้ จึงขอวิงวอนให้ใช้ความรู้ความสามารถของท่านมา ช่วยกันหาวิธีช่วยบิดามารดาผู้ปกครองของเด็กนักเรียนกันบ้างเถิด