SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ก
บทคัดย่อ
รายงานโครงการ : บริการความรู้เกียวกับการรับรู้ต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงให้กับ
เกษตรกร ชาวนา ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
โดย : นางสาวนวลนภา สุ่มโยง
นางสาวอรวรรณ หอมเจริญ
ชือประกาศนียบัตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.)
สาขาวิชา : การบัญชี
ปีการศึกษา : 2556
การศึกษามีวัตถุประสงค์เพือศึกษาจัดทําบัญชีต้นทุนรายจ่ายของเกษตรกรเพือการลงทุนใน
การทํานาของ ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ข้อมูลเก็บรวบรวมจากผู้ประกอบ
อาชีพเกษตรกรทีเกียวข้องกับการทําบัญชีต้นทุนรายจ่ายโดยใช้แบบสอบถามสํารวจผู้ประกอบการ
ในการศึกษาครังนีได้ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูล 2 ลักษณะ ได้แก่ ข้อมูลปฐมภูมิ คือการเก็บ
รวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามซึงสอบถามจากผู้ทีเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการบริการความรู้
เกียวกับการรับรู้ต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงให้กับเกษตรกร ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัด
พิษณุโลก จํานวน 5 คนและ เกษตรกรตําบลท่าฬ่อ อําเภอเมือง จังหวัดพิจิตร จํานวน 5 คน
ส่วนข้อมูลทุติยภูมิ คือ ศึกษาผลสัมฤทธิของกลุ่มเป้ าหมายหลังจากทีนักศึกษาได้ออกมาให้บริการ
ความรู้ และศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร เอกสารงานวิจัยทีเกียวข้อง
จากการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามประเมินความรู้ ความเข้าใจ ในการรับรู้ค่าใช้จ่ายที
เป็นต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงหลังจบโครงการ มีค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.93 ถือว่าอยู่ใน
ระดับมากทีสุด รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่ รายการท่านมีความรู้ ความเข้าใจ
เกียวกับการจดบันทึกต้นทุนการทํานามากน้อยเพียงใด และรายการท่านมีความเข้าใจเกียวกับ
ค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนการทํานาได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 5 แสดงให้เห็นว่าเมือผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความเข้าใจในความหมายของค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนการทํานาทีแท้จริง และเข้าใจถึง
การรับรู้ค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงทําให้ผู้ตอบแบบสอบถามรู้ว่าค่าใช้จ่ายทีเป็น
ต้นทุนคืออะไร และมีวิธีการแยกค่าใช้จ่ายได้อย่างไร จึงทําให้สามารถคํานวณต้นทุนการทํานาและ
สามารถรับรู้ค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงจริงได้อย่าง
ผลการประเมินความสามารถรับรู้ถึงต้นทุนการทํานาทีแท้จริง มีค่าเฉลียของความเห็น
เท่ากับ 4.83 ถือว่าอยู่ในระดับมากทีสุด รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่ รายการท่าน
ข
สามารถทราบถึงต้นทุนการทํานาทีแท้จริงแล้วทําให้ท่านรับรู้ถึงผลกําไรจากการทํานาได้มากน้อย
เพียงใด มีค่าเฉลียเท่ากับ 5 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามสามารถจําแนกค่าใช้จ่ายทีใช้จ่าย
ภายในครัวเรือนออกจากค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนการทํานาได้ เช่น ค่าใช้จ่ายทีใช้ในภายในครัวเรือน
กับเงินทีต้องใช้ลงทุนในการทํานาซึงเกษตรสามารถแยกได้อย่างชัดเจนเมือสามารถจําแนกค่าใช้จ่าย
ในการลงทุนทํานาได้อย่างชัดเจน จึงทําให้เกษตรกรสามารถรับรู้ถึงต้นทุนการทํานาทีแท้จริงและทํา
ให้สามารถรับรู้ถึงผลกําไรจากการทํานาทีแท้จริงได้อย่างชัดเจน
ผลการประเมินความสามารถในการนําความรู้ทีได้นีไปวางแผนในการใช้ทําเกษตรกรรม
ครังต่อไป มีค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.8 ถือว่าอยู่ในระดับมากทีสุด รายการทีมีค่าเฉลีย
ความเห็นมากทีสุด ได้แก่ รายการเมือท่านสามารถนําความรู้ทีได้ไปวางแผนเกียวกับการลด
ค่าใช้จ่ายในการทํานาครังต่อไปได้มากน้อยเพียงใด โดยเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.9 แสดงให้เห็น
ว่าผู้ตอบแบบสอบถามสามารถนําความรู้ทีได้ไปเผยแพร่และถ่ายทอดให้กับบุคคลภายในครอบครัว
หรือบุคคลทีรู้จักได้มีความรู้และสามารถนําการในการบันทึกบัญชีต้นทุนรายจ่ายของเกษตรกรและ
ค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนจริง เพือประกอบการตัดสินใจและนําไปประยุกต์ใช้ในการดํารงชีวิตประจําวัน
หรือใช้เป็นแนวทางในการวางแผนเกียวกับรายได้และค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนทังในด้านครัวเรือน และ
ด้านการประกอบอาชีพได้

More Related Content

Similar to 042 (15)

039
039039
039
 
011
011011
011
 
037
037037
037
 
034
034034
034
 
019
019019
019
 
028
028028
028
 
002
002002
002
 
033
033033
033
 
030
030030
030
 
003
003003
003
 
021
021021
021
 
035
035035
035
 
045
045045
045
 
013
013013
013
 
032
032032
032
 

More from Yeah Pitloke (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
006
006006
006
 
005
005005
005
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
002
002002
002
 
001
001001
001
 
044
044044
044
 
036
036036
036
 
038
038038
038
 
040
040040
040
 
027
027027
027
 
024
024024
024
 

042

  • 1. ก บทคัดย่อ รายงานโครงการ : บริการความรู้เกียวกับการรับรู้ต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงให้กับ เกษตรกร ชาวนา ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โดย : นางสาวนวลนภา สุ่มโยง นางสาวอรวรรณ หอมเจริญ ชือประกาศนียบัตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.) สาขาวิชา : การบัญชี ปีการศึกษา : 2556 การศึกษามีวัตถุประสงค์เพือศึกษาจัดทําบัญชีต้นทุนรายจ่ายของเกษตรกรเพือการลงทุนใน การทํานาของ ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ข้อมูลเก็บรวบรวมจากผู้ประกอบ อาชีพเกษตรกรทีเกียวข้องกับการทําบัญชีต้นทุนรายจ่ายโดยใช้แบบสอบถามสํารวจผู้ประกอบการ ในการศึกษาครังนีได้ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูล 2 ลักษณะ ได้แก่ ข้อมูลปฐมภูมิ คือการเก็บ รวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามซึงสอบถามจากผู้ทีเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการบริการความรู้ เกียวกับการรับรู้ต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงให้กับเกษตรกร ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัด พิษณุโลก จํานวน 5 คนและ เกษตรกรตําบลท่าฬ่อ อําเภอเมือง จังหวัดพิจิตร จํานวน 5 คน ส่วนข้อมูลทุติยภูมิ คือ ศึกษาผลสัมฤทธิของกลุ่มเป้ าหมายหลังจากทีนักศึกษาได้ออกมาให้บริการ ความรู้ และศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร เอกสารงานวิจัยทีเกียวข้อง จากการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามประเมินความรู้ ความเข้าใจ ในการรับรู้ค่าใช้จ่ายที เป็นต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงหลังจบโครงการ มีค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.93 ถือว่าอยู่ใน ระดับมากทีสุด รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่ รายการท่านมีความรู้ ความเข้าใจ เกียวกับการจดบันทึกต้นทุนการทํานามากน้อยเพียงใด และรายการท่านมีความเข้าใจเกียวกับ ค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนการทํานาได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 5 แสดงให้เห็นว่าเมือผู้ตอบ แบบสอบถามมีความเข้าใจในความหมายของค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนการทํานาทีแท้จริง และเข้าใจถึง การรับรู้ค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงทําให้ผู้ตอบแบบสอบถามรู้ว่าค่าใช้จ่ายทีเป็น ต้นทุนคืออะไร และมีวิธีการแยกค่าใช้จ่ายได้อย่างไร จึงทําให้สามารถคํานวณต้นทุนการทํานาและ สามารถรับรู้ค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนในการทํานาทีแท้จริงจริงได้อย่าง ผลการประเมินความสามารถรับรู้ถึงต้นทุนการทํานาทีแท้จริง มีค่าเฉลียของความเห็น เท่ากับ 4.83 ถือว่าอยู่ในระดับมากทีสุด รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่ รายการท่าน
  • 2. ข สามารถทราบถึงต้นทุนการทํานาทีแท้จริงแล้วทําให้ท่านรับรู้ถึงผลกําไรจากการทํานาได้มากน้อย เพียงใด มีค่าเฉลียเท่ากับ 5 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามสามารถจําแนกค่าใช้จ่ายทีใช้จ่าย ภายในครัวเรือนออกจากค่าใช้จ่ายทีเป็นต้นทุนการทํานาได้ เช่น ค่าใช้จ่ายทีใช้ในภายในครัวเรือน กับเงินทีต้องใช้ลงทุนในการทํานาซึงเกษตรสามารถแยกได้อย่างชัดเจนเมือสามารถจําแนกค่าใช้จ่าย ในการลงทุนทํานาได้อย่างชัดเจน จึงทําให้เกษตรกรสามารถรับรู้ถึงต้นทุนการทํานาทีแท้จริงและทํา ให้สามารถรับรู้ถึงผลกําไรจากการทํานาทีแท้จริงได้อย่างชัดเจน ผลการประเมินความสามารถในการนําความรู้ทีได้นีไปวางแผนในการใช้ทําเกษตรกรรม ครังต่อไป มีค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.8 ถือว่าอยู่ในระดับมากทีสุด รายการทีมีค่าเฉลีย ความเห็นมากทีสุด ได้แก่ รายการเมือท่านสามารถนําความรู้ทีได้ไปวางแผนเกียวกับการลด ค่าใช้จ่ายในการทํานาครังต่อไปได้มากน้อยเพียงใด โดยเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.9 แสดงให้เห็น ว่าผู้ตอบแบบสอบถามสามารถนําความรู้ทีได้ไปเผยแพร่และถ่ายทอดให้กับบุคคลภายในครอบครัว หรือบุคคลทีรู้จักได้มีความรู้และสามารถนําการในการบันทึกบัญชีต้นทุนรายจ่ายของเกษตรกรและ ค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนจริง เพือประกอบการตัดสินใจและนําไปประยุกต์ใช้ในการดํารงชีวิตประจําวัน หรือใช้เป็นแนวทางในการวางแผนเกียวกับรายได้และค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนทังในด้านครัวเรือน และ ด้านการประกอบอาชีพได้