SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การเงิน การธนาคาร การคลัง


                                                                           อ.คมกฤษณ ศิริวงษ
                                                                      โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

      การเงิน

          เงิน (Money) หมายถึง สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สังคมสมมติขึ้นและยอมรับวามีคา ทั้งยังใชเปนสื่อ
                                                                              
กลางในการแลกเปลี่ยน เงินในทางเศรษฐกิจนั้นแบงออกเปน 3 ประเภท คือ เหรียญกษาปณ
ธนบัตร และเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน ออมทรัพย และประจํา
          1. เหรียญกษาปณ (Coins) เปนเงินเหรียญที่สรางขึ้นจากโลหะชนิดตางๆ เชน ทองคํา เงิน
ทองแดง และโลหะผสม (นิกเกิลกับทองแดง) เงินประเภทนี้สรางขึ้นโดยไมตองมีสิ่งคํ้าประกัน
เพราะคาของมันอยูที่โลหะนั้นๆ รัฐบาลเปนผูผลิตเหรียญกษาปณขึ้นมาใชหมุนเวียนใหพอเพียงแก
ธุรกิจในประเทศ เพราะการผลิตธนบัตรนั้นมีขีดจํากัด เนื่องจากการผลิตธนบัตรตองมีสิ่งคํ้าประกัน
          2. ธนบัตร (Note Currency หรือ Bank Note) เปนเงินกระดาษที่ชําระหนี้ไดตามกฎหมาย
ธนาคารกลางเปนผูผลิตธนบัตร การผลิตธนบัตรตองมีสิ่งคํ้าประกัน เชน ทองคํา เงิน เงินทุนสํารอง
ที่เปนเงินตราตางประเทศ เปนตน การผลิตธนบัตรที่ผลิตกันมีมูลคาเทากับสิ่งคํ้าประกัน ใชแลก
เปลี่ยนระหวางประเทศได
          3. เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน (Demand Deposits) ออมทรัพย (Saving) และ
ประจํา (Fixed) เงินประเภทนี้ผูฝากสามารถสั่งจายในรูปของเช็คซึ่งใชแทนเงินไดทันที นอกจากนี้
ยังหมายรวมถึงเช็คของขวัญและบัตรเครดิต
        สิ่งที่ใกลเคียงกับเงิน (Near Money) คือ สิ่งที่มีคาตางๆ ซึ่งบางครั้งจะเปนวาคลายคลึงกับ
เงิน แตจะแตกตางกับเงินเพียงเล็กนอย เพราะจะนําสิ่งที่ไดชื่อวาใกลเคียงกับเงินนั้นไปใชทันทีไม
ได ตองนําไปแลกเปลี่ยนกอน แตการแลกเปลี่ยนนั้นทําไดโดยงาย สิ่งที่ใกลเคียงกับเงิน ไดแก เช็ค
เดินทาง เช็คลวงหนา ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน พันธบัตร เปนตน
        หนาที่ของเงิน แบงออกเปน 4 ประการ คือ
        1. เปนหนวยในการวัดมูลคา (Measure of Value)
        2. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of Exchange)
3. เปนมาตรฐานในการชําระหนี้ในอนาคต (Standard of Deferred Payment)
         4. เปนเครื่องมือรักษามูลคา ( Store of Value)
         คาของเงิน แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
         1. คาภายในประเทศ (Internal Value) หมายถึง อํานาจในการซื้อสินคาและบริการของ
เงิน จํานวนหนึ่ง เชน เงิน 3.50 บาท สามารถขึ้นรถโดยสารของ ขสมก. ได 1 เที่ยว คาของเงินเฟอ
เงินฝด เปนตน
         2. คาภายนอกประเทศ (External Value) หมายถึง คาของเงินสกุลหนึ่งเปรียบเทียบกับเงิน
สกุลหนึ่ง เชน มีเงิน 1 ดอลลารสหรัฐอเมริกา เทากับ 40 บาทไทย (โดยประมาณ) การเพิ่มหรือลดคา
เงิน เปนตน
       ปริมาณเงิน หรือซัพพลายเงินตรา (Money Supply) คือ เงินทุกประเภทที่หมุนเวียนอยูใน
ระบบเศรษฐกิจ ซึ่งเงินในจํานวนนี้หมายถึงเงินฝากในธนาคารที่ผูฝากสามารถถอนออกไดทุกเวลา
ปริมาณเงินแบงออกเปน 2 ประเภท คือ เงินเฟอ เงินฝด
        เงินเฟอ (Inflation) เปนสภาวการณที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากเกินไป
ทําใหราคาสินคาและบริการสูงขึ้น และเศรษฐกิจจะมีความคลองตัวมาก เงินเฟอนั้นมีสาเหตุ 2
ประการ คือ อุปสงคในสินคาและบริการสูงกวาอุปทาน หรือสภาวการณที่ปริมาณสินคาขาดตลาด
และตนทุนในการผลิตสินคาและบริการสูงขึ้น
        ลักษณะเงินเฟอเราสามารถแบงไดเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากราคาสินคาที่สูงขึ้น คือ
        1) เงินเฟอออนๆ ราคาสินคาและบริการจะสูงไมเกิน 5 เปอรเซ็นตตอป เงินเฟอประเภทนี้
จะเปนผลดีตอเศรษฐกิจ เพราะจะทําใหผูผลิตมีกําลังใจที่จะผลิตและผูบริโภคก็ไมเดือดรอน
             
        2) เงินเฟอปานกลาง ราคาสินคาและบริการจะสูงระหวาง 5 – 20 เปอรเซ็นตตอป
        3) เงินเฟออยางรุนแรง ราคาสินคาและบริการจะสูงเกิน 20 เปอรเซ็นตตอป
         ผลกระทบของเงินเฟอ เมื่อเกิดปญหาเงินเฟอจะมีทั้งผูไดรับประโยชนและผูเสียประโยชน
ดังนี้
       1) ผูที่ไดรับประโยชน ผูที่ไดรับประโยชนนั้นเปนผูมีรายไดขึ้นอยูกับความคลองของ
เศรษฐกิจ เชน นักธุรกิจ การคา ผูผลิต ผูถือหุน ผูเปนลูกหนี้ เปนตน บุคคลเหลานี้จะมีรายไดมาก
       2) ผูที่เสียผลประโยชน ผูมีรายไดประจํา เชน ขาราชการ ลูกจาง ผูใชแรงงาน เปนตน
บุคคลเหลานี้จะมีรายไดเทาเดิม คาครองชีพสูง จะมีชีวิตความเปนอยูฝดเคือง
        เงินเฟอนั้นเปนสภาวการณที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากเกินไป เมื่อเกิด
ปญหานี้แลวจะตองแกปญหาดวยการลดปริมาณเงินลง ดังนี้
ธนาคารกลางเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูแกธนาคารพาณิชย
             ธนาคารกลางเพิ่มปริมาณการขายพันธบัตรรัฐบาลมากขึ้น
             ธนาคารกลาง ลดการปลอยสินเชื่อ
             เพิ่มภาษีทางตรงและทางออม
             ตรึงราคาสินคาที่จาเปนแกการครองชีพ
                               ํ
             รัฐบาลลดคาใชจายใหตํ่าลง (รัฐบาลจัดงบประมาณเกินดุล)
                            

         เงินฝด (Deflation) เปนสภาวการณที่มีปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจนอยกวา
ปกติ ทําใหภาวะเศรษฐกิจซบเซา ราคาสินคาลดลง และมีคนวางงานเพิ่มมากขึ้น เงินฝดนั้นมีสาเหตุ
2 ประการ คือ ชวงที่มการออมสูง หรือมีการขายพันธบัตรรัฐบาลมากเกินไปทําใหไมมีการนําเงิน
                         ี
ออกมาใชจาย
         ผลกระทบของเงินฝด คลายคลึงกับเงินเฟอ คือ มีทั้งผูรับผลประโยชนและผูเสียประโยชน
แตกลุมนั้นตรงขามกัน ดังนี้
         1) ผูที่ไดผลประโยชน ผูมีรายไดประจํา เชน ขาราชการ เปนตน ผูที่เปนเจาหนี้ ผูที่ไดรับ
ดอกเบี้ยจากการนําเงินไปฝากธนาคาร บุคคลเหลานี้มีรายไดเทาเดิมและแนนอน แตคาครองชีพตํ่า
ลงเพราะเงินมีคามากขึ้น
                  
         2) ผูที่เสียผลประโยชน นักธุรกิจการคา ผูผลิต ผูถือหุน ผูเปนลูกหนี้ บุคคลเหลานี้จะมี
ความเปนอยูฝดเคือง เพราะเศรษฐกิจซบเซา เงินหายากขึ้น เพราะมีคามากขึ้น
       เงิ นฝ ดนั้ นเป นสภาวการณที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมีนอยเกินไปและ
เศรษฐกิจซบเซา ทําใหคนวางงานมากขึ้น ในการแกปญหาเงินฝดจะตองเพิ่มปริมาณเงินหมุนเวียน
ในระบบเศรษฐกิจใหมากขึ้น ดังนี้
            ธนาคารกลางลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูแกธนาคารพาณิชย
            ธนาคารกลางลดปริมาณการขายพันธบัตรรัฐบาลลง
            ธนาคารกลาง เพิ่มการปลอยสินเชื่อ
            ลดภาษีทางตรงและทางออม
            สงเสริมการลงทุนจากตางประเทศและในประเทศ
            รัฐบาลเพิ่มคาใชจายใหสูงขึ้น (รัฐบาลจัดทํางบประมาณขาดดุล)
การธนาคาร

         ธนาคาร (Bank) เปนสถานบันการเงินที่สําคัญในระบบเศรษฐกิจ กอใหเกิดความคลอง
ตัวในระบบเศรษฐกิจ ธนาคารแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ ธนาคารกลาง (Central Bank)
และธนาคารพาณิชย (Commercial Bank)
         1. ธนาคารกลาง (Central Bank) เปนสถาบันการเงินสูงสุดของประเทศ ประเทศเอกราช
ทุกประเทศจึงมีธนาคารกลางเพื่อควบคุมเกี่ยวกับการเงินของประเทศ ประเทศไทยตั้งธนาคารกลาง
ขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีชื่อวา “ธนาคารแหงประเทศไทย (Bank of Thailand)” หรือเรียก
กันวา “แบงคชาติ”
         หนาที่ของธนาคารกลาง ธนาคารกลางจะเปนหนวยงานที่ดูแลปริมาณเงินของประเทศให
อยูในระดับที่เหมาะสม โดยวิธดังนี้
                             ี
         1. ผลิตธนบัตรและออกธนบัตร
         2. เปนนายธนาคารของธนาคารพาณิชยและรัฐบาล
         3. ควบคุมและตรวจสอบบัญชีการเงินของสถาบันการเงินตางๆ ทั่วประเทศ
         4. ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา และกําหนดอัตราดอกเบี้ย
         5. รักษาทุนสํารองระหวางประเทศ
         6. กําหนดนโยบายดานการเงินของประเทศ
       2. ธนาคารพาณิชย (Commercial Bank) มีหนาที่หลักสําคัญอยู 3 ประการ คือ รับฝากเงิน
ประเภทตางๆ สรางเงินฝากหรือใหกูเงิน และใหบริการดานตางๆ หนาที่ 2 ประการแรก ทุกธนาคาร
จะทําเหมือนกันหมด แมแตดอกเบี้ยที่จะจายใหผูฝากและเก็บจากผูกูยืมเปนอัตราตามธนาคารกลาง
กําหนด แตจะแตกตางกันในประการที่ 3
           ตามปกติแลวเราจะแบงประเภทของธนาคารออกเปน 2 ประเภท คือ ธนาคารกลาง กับ
ธนาคารพาณิชย ดังที่ไดกลาวไวขางตน แตบางครั้งอาจจะมีการจําแนกเพิ่มมาอีกประเภทหนึ่งก็ได
คือ ธนาคารพิเศษ ซึ่งในประเทศไทยมีธนาคารพิเศษที่เปนของรัฐบาลอยู 3 ธนาคาร คือ
           1. ธนาคารออมสิน มีหนาที่พิเศษ คือ ระดมเงินฝากเพื่อนําไปใหรัฐกูยืม
           2. ธนาคารอาคารสงเคราะห มีหนาที่พิเศษ คือ ใหกูยืมเงินไปซื้อที่อยูอาศัย หรือซอมสราง
ที่อยูอาศัย
           3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) มีหนาที่พิเศษ คือ ใหเกษตรกรได
กูยืมเงินไปใชพัฒนาการเกษตรกรรม
สถาบันการเงินที่ไมเรียกวาธนาคาร
           บริษัทประกันภัย
           โรงรับจํานํา
           สหกรณการเกษตร
           บริษัทเครดิตฟองซิเอร
           สหกรณออมทรัพย
           ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตลาดหุน
           บริษัทเงินทุนและบริษัทหลักทรัพย
           บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม

      การคลัง

       การคลัง หมายถึง เศรษฐกิจภาครัฐบาล เกียวกับการหารายไดเพื่อนํามาใชจายในกิจกรรม
                                            ่
ตางๆ ที่เปนประโยชนสวนรวมของประเทศ โดยมีรัฐบาลเปนผูดูแลเกี่ยวกับรายรับและรายจายให
เหมาะสม การคลังนั้นมีขอบเขตครอบคลุมอยู 3 อยาง คือ รายรับของรัฐบาล รายจายของรัฐบาล
และงบประมาณแผนดิน
         รายรับของรัฐบาล ไดจากเงินตางๆ 3 ประการ คือ
         1. รายไดของรัฐบาล ประกอบดวย ภาษีอากร การขายสิ่งของและบริการ รัฐพาณิชย และ
อื่นๆ เชน คาปรับ คาภาคหลวง ฤชากร การผลิตเหรียญกษาปณ
         2. เงินกู เงินกูของรัฐบาลนันมีทงกูภายในประเทศและกูจากตางประเทศ เรียกวา “หนี้
                                      ้ ั้                       
สาธารณะ”
         3. เงินคงคลัง คือ เงินที่รัฐบาลมีอยูแตมิไดนําออกมาใช เงินนี้อาจจะเหลือจากงบประมาณ
ในปกอนก็ได
       
         รายไดสวนใหญของรัฐบาลมาจากภาษีอากร ในประเทศไทยการเก็บภาษีเงินไดใชระบบ
กาวหนา หมายถึง ยิงมีรายไดสงอัตราการเก็บภาษีจะสูงขึนเรือยๆ (5 - 37%) การเก็บภาษีแบงออกเปน
                    ่          ู                          ้ ่
2 ประเภท คือ
         1) ภาษีทางตรง (Direct Tax) คือ ภาษีที่เก็บจากผูมีรายไดโดยตรงหรือผูที่เปนเจาของ
ทรัพยสิน เชน ภาษีเงินไดบคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนตบคคล ภาษีมรดก ภาษีดอกเบีย (เงินฝากประจํา)
                             ุ                       ิิ ุ                         ้
ภาษีรางวัล ภาษีทะเบียนรถยนต ภาษีมอเตอรไซด ภาษีทะเบียนเรือ ภาษีทดน ภาษีทะเบียนปน ภาษี
                                                                           ี่ ิ
โรงเรือน ภาษีปาย ภาษีสนามบิน เปนตน
                
2) ภาษีทางออม (Indirect Tax) คือภาษีที่เก็บจากบุคคลหนึ่งแลวบุคคลนั้นผลักภาระการ
เสียภาษีนั้นไปใหอีกบุคคลหนึ่ง แบงออกเปน 3 กลุม คือ
              1. ภาษีศุลากร เปนภาษีที่เก็บจากการนําเขาและสงออกสินคา
              2. ภาษีสรรพสามิต เปนภาษีที่เก็บจากการผลิตหรือจําหนายสินคาบางชนิด เชน นํ้ามัน
เชื้อเพลิง กาซ บุหรี่ เบียร เครื่องดื่ม ยานัตถุ ไพ ไมขีด ปูนซีเมนต เปนตน
              3. ภาษีสรรพากร เชน อากรมหรสพ ภาษีมูลคาเพิ่ม เปนตน
        การกูเงินของรัฐบาล รัฐบาลมีแหลงเงินกูทั้งภายในและภายนอกประเทศ
        แหลงเงินกูภายในประเทศ คือ ธนาคารแหงประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคาร
พาณิชย องคการ สถาบัน มูลนิธิ บริษัท และประชาชน
        แหลงเงินกูภายนอกประเทศ คือ องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินตางประเทศ และ
รัฐบาลตางประเทศ
        รายจายของรัฐบาล วัตถุประสงคของรัฐบาลในการจายเงิน คือ เพื่อเพิ่มผลผลิตทําใหราย
ไดประชาชนสูงขึ้น เพื่อสาธารณูปโภคบริการแกประชาชน เพื่อรักษาความสงบภายใน และเพื่อใช
ปองกันประเทศ
        รายจายของรัฐบาล แบงออกเปน 12 ประการ เชน การเกษตร การศึกษา การสาธารณสุข
การรักษาความมั่นคงแหงชาติและการรักษาความสงบเรียบรอยภายใน            และการชําระหนี้เงินกู
เปนตน
        งบประมาณแผนดิน หมายถึง เอกสารประมาณการเกี่ยวกับรายรับและรายจายของรัฐบาล
งบประมาณแผนดินนั้นเปนการวางแผนเกี่ยวกับการใชจายของรัฐบาลนั่นเอง ประเทศไทยเริ่มมี
งบประมาณแผนดินครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 การจัดทํางบประมาณแผนดินนั้นเปนหนาที่ของรัฐ
บาล สวนผูที่อนุมัติการใชงบประมาณ คือ รัฐสภา โดยประกาศออกมาเปนกฎหมาย เรียกวา “พระ
ราชบัญญัติงบประมาณประจําป พ.ศ. …”
        ปงบประมาณของประเทศไทยจะอยูระหวางวันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 กันยายน ของปถัด
ไป เชน ปงบประมาณ พ.ศ. 2544 จะอยูระหวางวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.
2544 เปนตน
          ลักษณะของงบประมาณแผนดิน แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ
          1. งบประมาณขาดดุล หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาลตํ่ากวายอดรายจาย จําตองนําเอาเงิน
กูและเงินคงคลังมาเสริม
          2. งบประมาณเกินดุล หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาลสูงกวายอดรายจาย
          3. งบประมาณไดดุล (สมดุล) หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาลเทากับยอดรายจาย

More Related Content

What's hot

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารple2516
 
หนี้สิน
หนี้สินหนี้สิน
หนี้สินpeepai
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursEarn LikeStock
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจOrawonya Wbac
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คAttaporn Ninsuwan
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือple2516
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsPeerapat Teerawattanasuk
 

What's hot (16)

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
หนี้สิน
หนี้สินหนี้สิน
หนี้สิน
 
วิกฤติการเงิน
วิกฤติการเงินวิกฤติการเงิน
วิกฤติการเงิน
 
BM 697 3.วิกฤติการเงิน
BM 697 3.วิกฤติการเงินBM 697 3.วิกฤติการเงิน
BM 697 3.วิกฤติการเงิน
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
 

Viewers also liked

บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
Acta asamblea eroski vigo
Acta asamblea eroski vigoActa asamblea eroski vigo
Acta asamblea eroski vigooscargaliza
 
Uso racional de medicamentos
Uso racional de medicamentosUso racional de medicamentos
Uso racional de medicamentosMANUEL RIVERA
 
Caraka - BNI sketsa keinginan
Caraka - BNI sketsa keinginanCaraka - BNI sketsa keinginan
Caraka - BNI sketsa keinginanMuhammad Yustan
 
TEMA 3B PRESENT TENSE of SER and ESTAR
TEMA 3B PRESENT TENSE of SER and ESTARTEMA 3B PRESENT TENSE of SER and ESTAR
TEMA 3B PRESENT TENSE of SER and ESTARSenoraAmandaWhite
 
Guía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentosGuía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentosMANUEL RIVERA
 
Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)Muhammad Yustan
 
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)oscargaliza
 
Convenio hosteleria ourense 2011 2013
Convenio hosteleria ourense 2011 2013Convenio hosteleria ourense 2011 2013
Convenio hosteleria ourense 2011 2013oscargaliza
 
ZFConf 2011: Как может помочь среда разработки при написании приложения на Ze...
ZFConf 2011: Как может помочь среда разработки при написании приложения на Ze...ZFConf 2011: Как может помочь среда разработки при написании приложения на Ze...
ZFConf 2011: Как может помочь среда разработки при написании приложения на Ze...ZFConf Conference
 

Viewers also liked (20)

กรุงเทพ
กรุงเทพกรุงเทพ
กรุงเทพ
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
Acta asamblea eroski vigo
Acta asamblea eroski vigoActa asamblea eroski vigo
Acta asamblea eroski vigo
 
Tactical Assassins
Tactical AssassinsTactical Assassins
Tactical Assassins
 
Uso racional de medicamentos
Uso racional de medicamentosUso racional de medicamentos
Uso racional de medicamentos
 
Caraka - BNI sketsa keinginan
Caraka - BNI sketsa keinginanCaraka - BNI sketsa keinginan
Caraka - BNI sketsa keinginan
 
Web api
Web apiWeb api
Web api
 
TEMA 3B PRESENT TENSE of SER and ESTAR
TEMA 3B PRESENT TENSE of SER and ESTARTEMA 3B PRESENT TENSE of SER and ESTAR
TEMA 3B PRESENT TENSE of SER and ESTAR
 
Guía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentosGuía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentos
 
Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)Rembugan (digital campaign)
Rembugan (digital campaign)
 
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
 
Convenio hosteleria ourense 2011 2013
Convenio hosteleria ourense 2011 2013Convenio hosteleria ourense 2011 2013
Convenio hosteleria ourense 2011 2013
 
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
 
ZFConf 2011: Как может помочь среда разработки при написании приложения на Ze...
ZFConf 2011: Как может помочь среда разработки при написании приложения на Ze...ZFConf 2011: Как может помочь среда разработки при написании приложения на Ze...
ZFConf 2011: Как может помочь среда разработки при написании приложения на Ze...
 
Stc charc carrf
Stc charc carrfStc charc carrf
Stc charc carrf
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

Similar to การเงิน การธนาคาร การคลัง

การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศthnaporn999
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินpatcharapan
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินpatcharapan
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินpatcharapan
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้mhiwmill
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินmhiwmill
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินmhiwmill
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินmhiwmill
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้mhiwmill
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fundLatin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fundKan Yuenyong
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursASpyda Ch
 
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...กิตติกร ยาสมุทร
 

Similar to การเงิน การธนาคาร การคลัง (20)

การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fundLatin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fund
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
 
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากที่สมาชิกได้รับจากสหกรณ์...
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

การเงิน การธนาคาร การคลัง

  • 1. การเงิน การธนาคาร การคลัง อ.คมกฤษณ ศิริวงษ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา การเงิน เงิน (Money) หมายถึง สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สังคมสมมติขึ้นและยอมรับวามีคา ทั้งยังใชเปนสื่อ  กลางในการแลกเปลี่ยน เงินในทางเศรษฐกิจนั้นแบงออกเปน 3 ประเภท คือ เหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน ออมทรัพย และประจํา 1. เหรียญกษาปณ (Coins) เปนเงินเหรียญที่สรางขึ้นจากโลหะชนิดตางๆ เชน ทองคํา เงิน ทองแดง และโลหะผสม (นิกเกิลกับทองแดง) เงินประเภทนี้สรางขึ้นโดยไมตองมีสิ่งคํ้าประกัน เพราะคาของมันอยูที่โลหะนั้นๆ รัฐบาลเปนผูผลิตเหรียญกษาปณขึ้นมาใชหมุนเวียนใหพอเพียงแก ธุรกิจในประเทศ เพราะการผลิตธนบัตรนั้นมีขีดจํากัด เนื่องจากการผลิตธนบัตรตองมีสิ่งคํ้าประกัน 2. ธนบัตร (Note Currency หรือ Bank Note) เปนเงินกระดาษที่ชําระหนี้ไดตามกฎหมาย ธนาคารกลางเปนผูผลิตธนบัตร การผลิตธนบัตรตองมีสิ่งคํ้าประกัน เชน ทองคํา เงิน เงินทุนสํารอง ที่เปนเงินตราตางประเทศ เปนตน การผลิตธนบัตรที่ผลิตกันมีมูลคาเทากับสิ่งคํ้าประกัน ใชแลก เปลี่ยนระหวางประเทศได 3. เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน (Demand Deposits) ออมทรัพย (Saving) และ ประจํา (Fixed) เงินประเภทนี้ผูฝากสามารถสั่งจายในรูปของเช็คซึ่งใชแทนเงินไดทันที นอกจากนี้ ยังหมายรวมถึงเช็คของขวัญและบัตรเครดิต สิ่งที่ใกลเคียงกับเงิน (Near Money) คือ สิ่งที่มีคาตางๆ ซึ่งบางครั้งจะเปนวาคลายคลึงกับ เงิน แตจะแตกตางกับเงินเพียงเล็กนอย เพราะจะนําสิ่งที่ไดชื่อวาใกลเคียงกับเงินนั้นไปใชทันทีไม ได ตองนําไปแลกเปลี่ยนกอน แตการแลกเปลี่ยนนั้นทําไดโดยงาย สิ่งที่ใกลเคียงกับเงิน ไดแก เช็ค เดินทาง เช็คลวงหนา ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน พันธบัตร เปนตน หนาที่ของเงิน แบงออกเปน 4 ประการ คือ 1. เปนหนวยในการวัดมูลคา (Measure of Value) 2. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of Exchange)
  • 2. 3. เปนมาตรฐานในการชําระหนี้ในอนาคต (Standard of Deferred Payment) 4. เปนเครื่องมือรักษามูลคา ( Store of Value) คาของเงิน แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. คาภายในประเทศ (Internal Value) หมายถึง อํานาจในการซื้อสินคาและบริการของ เงิน จํานวนหนึ่ง เชน เงิน 3.50 บาท สามารถขึ้นรถโดยสารของ ขสมก. ได 1 เที่ยว คาของเงินเฟอ เงินฝด เปนตน 2. คาภายนอกประเทศ (External Value) หมายถึง คาของเงินสกุลหนึ่งเปรียบเทียบกับเงิน สกุลหนึ่ง เชน มีเงิน 1 ดอลลารสหรัฐอเมริกา เทากับ 40 บาทไทย (โดยประมาณ) การเพิ่มหรือลดคา เงิน เปนตน ปริมาณเงิน หรือซัพพลายเงินตรา (Money Supply) คือ เงินทุกประเภทที่หมุนเวียนอยูใน ระบบเศรษฐกิจ ซึ่งเงินในจํานวนนี้หมายถึงเงินฝากในธนาคารที่ผูฝากสามารถถอนออกไดทุกเวลา ปริมาณเงินแบงออกเปน 2 ประเภท คือ เงินเฟอ เงินฝด เงินเฟอ (Inflation) เปนสภาวการณที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากเกินไป ทําใหราคาสินคาและบริการสูงขึ้น และเศรษฐกิจจะมีความคลองตัวมาก เงินเฟอนั้นมีสาเหตุ 2 ประการ คือ อุปสงคในสินคาและบริการสูงกวาอุปทาน หรือสภาวการณที่ปริมาณสินคาขาดตลาด และตนทุนในการผลิตสินคาและบริการสูงขึ้น ลักษณะเงินเฟอเราสามารถแบงไดเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากราคาสินคาที่สูงขึ้น คือ 1) เงินเฟอออนๆ ราคาสินคาและบริการจะสูงไมเกิน 5 เปอรเซ็นตตอป เงินเฟอประเภทนี้ จะเปนผลดีตอเศรษฐกิจ เพราะจะทําใหผูผลิตมีกําลังใจที่จะผลิตและผูบริโภคก็ไมเดือดรอน  2) เงินเฟอปานกลาง ราคาสินคาและบริการจะสูงระหวาง 5 – 20 เปอรเซ็นตตอป 3) เงินเฟออยางรุนแรง ราคาสินคาและบริการจะสูงเกิน 20 เปอรเซ็นตตอป ผลกระทบของเงินเฟอ เมื่อเกิดปญหาเงินเฟอจะมีทั้งผูไดรับประโยชนและผูเสียประโยชน ดังนี้ 1) ผูที่ไดรับประโยชน ผูที่ไดรับประโยชนนั้นเปนผูมีรายไดขึ้นอยูกับความคลองของ เศรษฐกิจ เชน นักธุรกิจ การคา ผูผลิต ผูถือหุน ผูเปนลูกหนี้ เปนตน บุคคลเหลานี้จะมีรายไดมาก 2) ผูที่เสียผลประโยชน ผูมีรายไดประจํา เชน ขาราชการ ลูกจาง ผูใชแรงงาน เปนตน บุคคลเหลานี้จะมีรายไดเทาเดิม คาครองชีพสูง จะมีชีวิตความเปนอยูฝดเคือง เงินเฟอนั้นเปนสภาวการณที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากเกินไป เมื่อเกิด ปญหานี้แลวจะตองแกปญหาดวยการลดปริมาณเงินลง ดังนี้
  • 3. ธนาคารกลางเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูแกธนาคารพาณิชย ธนาคารกลางเพิ่มปริมาณการขายพันธบัตรรัฐบาลมากขึ้น ธนาคารกลาง ลดการปลอยสินเชื่อ เพิ่มภาษีทางตรงและทางออม ตรึงราคาสินคาที่จาเปนแกการครองชีพ ํ รัฐบาลลดคาใชจายใหตํ่าลง (รัฐบาลจัดงบประมาณเกินดุล)  เงินฝด (Deflation) เปนสภาวการณที่มีปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจนอยกวา ปกติ ทําใหภาวะเศรษฐกิจซบเซา ราคาสินคาลดลง และมีคนวางงานเพิ่มมากขึ้น เงินฝดนั้นมีสาเหตุ 2 ประการ คือ ชวงที่มการออมสูง หรือมีการขายพันธบัตรรัฐบาลมากเกินไปทําใหไมมีการนําเงิน ี ออกมาใชจาย ผลกระทบของเงินฝด คลายคลึงกับเงินเฟอ คือ มีทั้งผูรับผลประโยชนและผูเสียประโยชน แตกลุมนั้นตรงขามกัน ดังนี้ 1) ผูที่ไดผลประโยชน ผูมีรายไดประจํา เชน ขาราชการ เปนตน ผูที่เปนเจาหนี้ ผูที่ไดรับ ดอกเบี้ยจากการนําเงินไปฝากธนาคาร บุคคลเหลานี้มีรายไดเทาเดิมและแนนอน แตคาครองชีพตํ่า ลงเพราะเงินมีคามากขึ้น  2) ผูที่เสียผลประโยชน นักธุรกิจการคา ผูผลิต ผูถือหุน ผูเปนลูกหนี้ บุคคลเหลานี้จะมี ความเปนอยูฝดเคือง เพราะเศรษฐกิจซบเซา เงินหายากขึ้น เพราะมีคามากขึ้น เงิ นฝ ดนั้ นเป นสภาวการณที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมีนอยเกินไปและ เศรษฐกิจซบเซา ทําใหคนวางงานมากขึ้น ในการแกปญหาเงินฝดจะตองเพิ่มปริมาณเงินหมุนเวียน ในระบบเศรษฐกิจใหมากขึ้น ดังนี้ ธนาคารกลางลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูแกธนาคารพาณิชย ธนาคารกลางลดปริมาณการขายพันธบัตรรัฐบาลลง ธนาคารกลาง เพิ่มการปลอยสินเชื่อ ลดภาษีทางตรงและทางออม สงเสริมการลงทุนจากตางประเทศและในประเทศ รัฐบาลเพิ่มคาใชจายใหสูงขึ้น (รัฐบาลจัดทํางบประมาณขาดดุล)
  • 4. การธนาคาร ธนาคาร (Bank) เปนสถานบันการเงินที่สําคัญในระบบเศรษฐกิจ กอใหเกิดความคลอง ตัวในระบบเศรษฐกิจ ธนาคารแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ ธนาคารกลาง (Central Bank) และธนาคารพาณิชย (Commercial Bank) 1. ธนาคารกลาง (Central Bank) เปนสถาบันการเงินสูงสุดของประเทศ ประเทศเอกราช ทุกประเทศจึงมีธนาคารกลางเพื่อควบคุมเกี่ยวกับการเงินของประเทศ ประเทศไทยตั้งธนาคารกลาง ขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีชื่อวา “ธนาคารแหงประเทศไทย (Bank of Thailand)” หรือเรียก กันวา “แบงคชาติ” หนาที่ของธนาคารกลาง ธนาคารกลางจะเปนหนวยงานที่ดูแลปริมาณเงินของประเทศให อยูในระดับที่เหมาะสม โดยวิธดังนี้ ี 1. ผลิตธนบัตรและออกธนบัตร 2. เปนนายธนาคารของธนาคารพาณิชยและรัฐบาล 3. ควบคุมและตรวจสอบบัญชีการเงินของสถาบันการเงินตางๆ ทั่วประเทศ 4. ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา และกําหนดอัตราดอกเบี้ย 5. รักษาทุนสํารองระหวางประเทศ 6. กําหนดนโยบายดานการเงินของประเทศ 2. ธนาคารพาณิชย (Commercial Bank) มีหนาที่หลักสําคัญอยู 3 ประการ คือ รับฝากเงิน ประเภทตางๆ สรางเงินฝากหรือใหกูเงิน และใหบริการดานตางๆ หนาที่ 2 ประการแรก ทุกธนาคาร จะทําเหมือนกันหมด แมแตดอกเบี้ยที่จะจายใหผูฝากและเก็บจากผูกูยืมเปนอัตราตามธนาคารกลาง กําหนด แตจะแตกตางกันในประการที่ 3 ตามปกติแลวเราจะแบงประเภทของธนาคารออกเปน 2 ประเภท คือ ธนาคารกลาง กับ ธนาคารพาณิชย ดังที่ไดกลาวไวขางตน แตบางครั้งอาจจะมีการจําแนกเพิ่มมาอีกประเภทหนึ่งก็ได คือ ธนาคารพิเศษ ซึ่งในประเทศไทยมีธนาคารพิเศษที่เปนของรัฐบาลอยู 3 ธนาคาร คือ 1. ธนาคารออมสิน มีหนาที่พิเศษ คือ ระดมเงินฝากเพื่อนําไปใหรัฐกูยืม 2. ธนาคารอาคารสงเคราะห มีหนาที่พิเศษ คือ ใหกูยืมเงินไปซื้อที่อยูอาศัย หรือซอมสราง ที่อยูอาศัย 3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) มีหนาที่พิเศษ คือ ใหเกษตรกรได กูยืมเงินไปใชพัฒนาการเกษตรกรรม
  • 5. สถาบันการเงินที่ไมเรียกวาธนาคาร บริษัทประกันภัย โรงรับจํานํา สหกรณการเกษตร บริษัทเครดิตฟองซิเอร สหกรณออมทรัพย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตลาดหุน บริษัทเงินทุนและบริษัทหลักทรัพย บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม การคลัง การคลัง หมายถึง เศรษฐกิจภาครัฐบาล เกียวกับการหารายไดเพื่อนํามาใชจายในกิจกรรม ่ ตางๆ ที่เปนประโยชนสวนรวมของประเทศ โดยมีรัฐบาลเปนผูดูแลเกี่ยวกับรายรับและรายจายให เหมาะสม การคลังนั้นมีขอบเขตครอบคลุมอยู 3 อยาง คือ รายรับของรัฐบาล รายจายของรัฐบาล และงบประมาณแผนดิน รายรับของรัฐบาล ไดจากเงินตางๆ 3 ประการ คือ 1. รายไดของรัฐบาล ประกอบดวย ภาษีอากร การขายสิ่งของและบริการ รัฐพาณิชย และ อื่นๆ เชน คาปรับ คาภาคหลวง ฤชากร การผลิตเหรียญกษาปณ 2. เงินกู เงินกูของรัฐบาลนันมีทงกูภายในประเทศและกูจากตางประเทศ เรียกวา “หนี้  ้ ั้   สาธารณะ” 3. เงินคงคลัง คือ เงินที่รัฐบาลมีอยูแตมิไดนําออกมาใช เงินนี้อาจจะเหลือจากงบประมาณ ในปกอนก็ได  รายไดสวนใหญของรัฐบาลมาจากภาษีอากร ในประเทศไทยการเก็บภาษีเงินไดใชระบบ กาวหนา หมายถึง ยิงมีรายไดสงอัตราการเก็บภาษีจะสูงขึนเรือยๆ (5 - 37%) การเก็บภาษีแบงออกเปน ่ ู ้ ่ 2 ประเภท คือ 1) ภาษีทางตรง (Direct Tax) คือ ภาษีที่เก็บจากผูมีรายไดโดยตรงหรือผูที่เปนเจาของ ทรัพยสิน เชน ภาษีเงินไดบคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนตบคคล ภาษีมรดก ภาษีดอกเบีย (เงินฝากประจํา) ุ ิิ ุ ้ ภาษีรางวัล ภาษีทะเบียนรถยนต ภาษีมอเตอรไซด ภาษีทะเบียนเรือ ภาษีทดน ภาษีทะเบียนปน ภาษี ี่ ิ โรงเรือน ภาษีปาย ภาษีสนามบิน เปนตน 
  • 6. 2) ภาษีทางออม (Indirect Tax) คือภาษีที่เก็บจากบุคคลหนึ่งแลวบุคคลนั้นผลักภาระการ เสียภาษีนั้นไปใหอีกบุคคลหนึ่ง แบงออกเปน 3 กลุม คือ 1. ภาษีศุลากร เปนภาษีที่เก็บจากการนําเขาและสงออกสินคา 2. ภาษีสรรพสามิต เปนภาษีที่เก็บจากการผลิตหรือจําหนายสินคาบางชนิด เชน นํ้ามัน เชื้อเพลิง กาซ บุหรี่ เบียร เครื่องดื่ม ยานัตถุ ไพ ไมขีด ปูนซีเมนต เปนตน 3. ภาษีสรรพากร เชน อากรมหรสพ ภาษีมูลคาเพิ่ม เปนตน การกูเงินของรัฐบาล รัฐบาลมีแหลงเงินกูทั้งภายในและภายนอกประเทศ แหลงเงินกูภายในประเทศ คือ ธนาคารแหงประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคาร พาณิชย องคการ สถาบัน มูลนิธิ บริษัท และประชาชน แหลงเงินกูภายนอกประเทศ คือ องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินตางประเทศ และ รัฐบาลตางประเทศ รายจายของรัฐบาล วัตถุประสงคของรัฐบาลในการจายเงิน คือ เพื่อเพิ่มผลผลิตทําใหราย ไดประชาชนสูงขึ้น เพื่อสาธารณูปโภคบริการแกประชาชน เพื่อรักษาความสงบภายใน และเพื่อใช ปองกันประเทศ รายจายของรัฐบาล แบงออกเปน 12 ประการ เชน การเกษตร การศึกษา การสาธารณสุข การรักษาความมั่นคงแหงชาติและการรักษาความสงบเรียบรอยภายใน และการชําระหนี้เงินกู เปนตน งบประมาณแผนดิน หมายถึง เอกสารประมาณการเกี่ยวกับรายรับและรายจายของรัฐบาล งบประมาณแผนดินนั้นเปนการวางแผนเกี่ยวกับการใชจายของรัฐบาลนั่นเอง ประเทศไทยเริ่มมี งบประมาณแผนดินครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 การจัดทํางบประมาณแผนดินนั้นเปนหนาที่ของรัฐ บาล สวนผูที่อนุมัติการใชงบประมาณ คือ รัฐสภา โดยประกาศออกมาเปนกฎหมาย เรียกวา “พระ ราชบัญญัติงบประมาณประจําป พ.ศ. …” ปงบประมาณของประเทศไทยจะอยูระหวางวันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 กันยายน ของปถัด ไป เชน ปงบประมาณ พ.ศ. 2544 จะอยูระหวางวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2544 เปนตน ลักษณะของงบประมาณแผนดิน แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ 1. งบประมาณขาดดุล หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาลตํ่ากวายอดรายจาย จําตองนําเอาเงิน กูและเงินคงคลังมาเสริม 2. งบประมาณเกินดุล หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาลสูงกวายอดรายจาย 3. งบประมาณไดดุล (สมดุล) หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาลเทากับยอดรายจาย