SlideShare a Scribd company logo
1



                     หน่วยการเรียนรูที่ 1
                                    ้
    เรือง ความรูทวไปเกียวกับการปกครองส่วนท้องถิน
       ่        ้ ั่     ่                     ่



สาระการเรียนรู้
           1. ความหมายของการปกครองท้องถิน ่
           2. หลักการปกครองท้องถิน่
           3. องค์ประกอบของการปกครองส่วนท้องถิน    ่
           4. วัตถุประสงค์ของการปกครองส่วนท้องถิน่
           5. ความสาคัญของการปกครองส่วนท้องถิน ่
           6. แนวคิดทฤษฎีการปกครองส่วนท้องถินและการกระจายอานาจ
                                             ่

ผลการเรียนรู้
           1.
           2.

จุดประสงค์การเรียนรู้
           1.
           2.
           3.
2



ความหมายของการปกครองท้องถิน
                          ่

               ได้มีผู้ให้ความหมายหรือคานิยามไว้มากมายซึ่งส่วนใหญ่แล้วคานิยาม
เหล่านั้นต่างมีหลักการที่สาคัญคล้ายคลึงกัน จะต่างกันบ้างก็คือสานวนและ
รายละเอียดปลีกย่อย ซึ่งสามารถพิจารณาได้ดังนี้
               เดเนียล วิท (Danial Wit, 1967 : 101-103) นิยามว่า การปกครอง
ท้องถิ่น หมายถึง การปกครองที่รัฐบาลกลางให้อานาจ หรือกระจายอานาจไปให้
หน่วยการปกครองท้องถิ่น เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีอานาจการ
ปกครองร่วมกันทั้งหมด หรือเพียงบางส่วน ในการบริหารท้องถิ่นตามหลักการที่ว่าถ้า
อานาจการปกครองมาจากประชาชนในท้องถิ่นแล้ว รัฐบาลของท้องถิ่นจึงจาเป็นต้องมี
องค์กรของตนเอง อันเกิดจากการกระจายอานาจของรัฐบาลกลาง โดยให้องค์กรอัน
มิได้เป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาล มีอานาจในการตัดสินใจและบริหารงานภายในเขตอานาจ
ของตน
               วิลเลียม วี. ฮอลโลเวย์ (William V. Holloway, 1959 : 101-103)
                     ่
นิยามว่าการปกครองท้องถิ่นหมายถึง องค์การที่มีอาณาเขตแน่นอน มีประชากรตาม
หลักที่กาหนดไว้ มีอานาจการปกครองตนเอง มีการบริหารงบประมาณการคลังของ
ตนเอง และมีสภาท้องถิ่นที่สมาชิกได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน
               อุทย หิรญโต (2523 : 2) นิยามว่าการปกครองท้องถิ่น คือ การ
                   ั ั
ปกครองที่รัฐบาลมอบอานาจให้ประชาชนในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งจัดการปกครองและ
ดาเนินกิจการบางอย่าง โดยดาเนินกันเองเพื่อบาบัดความต้องการของตน การ
บริหารงานของท้องถิ่นมีการจัดเป็นองค์การ มีเจ้าหน้าที่ซึ่งประชาชนเลือกตั้งขึ้นมา
ทั้งหมด หรือบางส่วน ทังนี้มีความเป็นอิสระในการบริหารงาน แต่
                           ้
รัฐบาลต้องควบคุมด้วยวิธีต่าง ๆ ตามความเหมาะสม จะปราศจากการควบคุมของรัฐ
หาได้ไม่ เพราะการปกครองท้องถิ่นเป็นสิ่งที่รัฐทาให้เกิดขึ้น
               วินเลียม เอ. ร๊อบสัน (William A. Robson, 1953 : 574) นิยามว่า
                       ่
การปกครองท้องถิ่น หมายถึง หน่วยการปกครองซึ่งรัฐได้จัดตั้งขึ้นและให้มีอานาจ
ปกครองตนเอง (Autonomy) มีสิทธิตามกฎหมาย (Legal Rights) และต้องมี
องค์กรที่จาเป็นในการปกครอง (Necessary Organization) เพื่อปฏิบัติหน้าที่ให้สม
ตามความมุ่งหมายของการปกครองท้องถิ่นนั้น ๆ
3



หลักการปกครองท้องถิ่น
              1. อาจมีรูปแบบหน่วยการปกครองท้องถิ่นหลายรูปแบบ ตามความ
แตกต่างของความเจริญ (ประชากร หรือขนาดพื้นที่)
              2. ต้องมีอานาจอิสระ (Autonomy) ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความ
เหมาะสม
              3. หน่วยการปกครองท้องถิ่นต้องมีสิทธิตามกฎหมายที่จะดาเนินการ
ปกครองตนเองโดยสิทธินี้แบ่งเป็น 2 ประการ คือ
                 3.1 สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร
ปกครองท้องถิ่น
                 3.2 สิทธิในการกาหนดงบประมาณ เพื่อบริหารกิจการตามอานาจ
หน้าที่มีอยู่

             4. มีองค์กรที่จาเป็นในการบริหารและการปกครองตนเอง
             5. ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น



องค์ประกอบของการปกครองส่วนท้องถิน
                                ่
              ระบบการปกครองท้องถิ่นจะต้องประกอบด้วย องค์ประกอบ 8
ประการ คือ (อุทัย หิรัญโต, 2523 : 22)
             1. สถานะตามกฎหมาย (Legal Status) หมายความว่าหากประเทศใด
กาหนดเรื่องการปกครองท้องถิ่นไว้ในรัฐธรรมนูญของประเทศ การปกครองท้องถิ่นใน
ประเทศไทยนั้นจะมีความเข้มเข็งกว่าการปกครองท้องถิ่นที่จัดตั้งโดยกฎหมายอื่น
เพราะข้อความที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญนั้นเป็นการแสดงให้เห็นว่า ประเทศนั้นมี
นโยบายที่จะกระจายอกนาจอย่างแท้จริง
              2. พื้นที่และระดับ (Area and Level) ปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการ
กาหนดพื้นที่และระดับของหน่วยการปกครองท้องถิ่นมีหลายประการเช่น ปัจจัยทาง
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์เชื้อชาติ และความสานึกในการปกครองของตนเองของ
ประชาชนจึงได้มีกฎเกณฑ์ที่จะกาหนดพื้นที่และระดับของหน่วยงานการปกครอง
4


ท้องถิ่นออกเป็น 2 ระดับ คือ หน่วยการปกครองท้องถิ่นขนาดเล็กและขนาดใหญ่
สาหรับขนาดของพื้นที่จากการศึกษาขององค์การสหประชาชาติ โดยองค์การอาหาร
และเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม
(UNESCO) องค์การอนามัยโลก (WHO) และสานักกิจการสังคม (Bureau of
Social Affair) ได้ให้ความเห็นว่าหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่สามารถให้บริการและ
บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ ควรมีประชากรประมาณ 50,000 คน แต่ก็ยังมี
ปัจจัยอื่นที่ต้องพิจารณาด้วย เช่น ประสิทธิภาพในการบริหารรายได้ และบุคลากรเป็น
ต้น
                 3. การกระจายอานาจและหน้าที่ การที่จะกาหนดให้ท้องถิ่นมีอานาจ
หน้าที่มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมืองและการปกครองของรัฐบาลเป็น
สาคัญ
                 4. องค์การนิติบุคคล จัดตั้งโดยผลแห่งกฎหมายแยกจาดรัฐบาลกลาง
หรือรัฐบาลแห่งชาติมีขอบเขตการปกครองที่แน่นอน มีอานาจในการกาหนดนโยบาย
ออกฎ ข้อบังคับ ควบคุมให้มีการปฏิบัติตามนโยบายนั้น ๆ
                 5. การเลือกตั้ง สมาชิกองค์การหรือคณะผู้บริหารจะต้องได้รับเลือกตั้ง
จากประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อแสดงถึงการเข้ามีส่วนร่วม
ทางการเมืองการปกครองของประชาชนโดยเลือกผู้บริหารท้องถิ่นของตนเอง
                 6. อิสระในการปกครองท้องถิ่น สามารถใช้ดุลพินิจของตนเองในการ
ปฏิบัติกิจการในขอบเขตของกฎหมายโดยไม่ต้องขออนุมัติจากรัฐบาลกลาง และไม่อยู่
ในสายการบังคับบัญชาของหน่วยงานราชการ
                 7. งบประมาณของตนเอง มีอานาจในการจัดเก็บรายได้ การจัดเก็บ
ภาษีตามขอบเขตที่กฎหมายให้อานาจในการจัดเก็บ เพื่อให้ท้องถิ่นมีรายได้เพียง
พอที่จะทะนุบารุงท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้าต่อไป
                 8. การควบคุมดูแลของรัฐ เมื่อได้รบการจัดตั้งขึ้นแล้วยังคงอยู่ในการ
                                                 ั
กากับดูแลจากรัฐ เพื่อประโยชน์และความมั่นคงของรัฐและประชาชนโดนส่วนรวม โดย
การมีอิสระในการดาเนินงานของหน่วยการปกครองท้องถิ่นนั้นเพราะมิฉะนั้นแล้ว
ท้องถิ่นจะกลายเป็นรัฐอธิปไตยไป (อนันต์ อนันตกุล. อ้างในชูวงค์ ฉายบุตร, 2539 :
31) รัฐต้องสงวนอานาจในการควบคุม ดูแลอยู่
5



วัตถุประสงค์ของการปกครองท้องถิ่น
               1. ช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาล ทั้งทางด้านการเงิน ตัวบุคล ตลอดจน
เวลาที่ใช้ในการดาเนินการ
              2. เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นอย่างแท้จริง

              3. เพื่อความประหยัดเงินงบประมาณของรัฐบาล ที่จะต้องจ่ายให้กับ
ท้องถิ่นทั่วประเทศเป็นอันมาก
              4. เพื่อให้หน่วยการปกครองท้องถิ่นเป็นสถาบันที่ให้การศึกษาการ
ปกครองระบบประชาธิปไตยแก่ประชาชน

ความสาคัญของการปกครองท้องถิ่น
----- -1. การปกครองท้องถิ่นถือเป็นรากฐานของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยเพราะเป็นสถาบันฝึกสอนการเมืองการปกครองให้แก่ประชาชน ทาให้
เกิดความคุ้นเคยในการใช้สิทธิและหน้าที่พลเมือง อันจะนามาสู่ความศรัทธาเลื่อมใสใน
ระบอบประชาธิปไตย
              2. การปกครองท้องถิ่นเป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐบาล
              3. การปกครองท้องถิ่นจะทาให้ประชาชนรู้จักการปกครองตนเอง
เพราะเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง ซึ่งจะทาให้ประชาชนเกิด
สานึกของตนเองต่อท้องถิ่น ประชาชนจะมีส่วนรับรู้ถึงอุปสรรค ปัญหา และช่วยกัน
แก้ไขปัญหาของท้องถิ่นของตน
              4. การปกครองท้องถิ่นสามารถตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น
ตรงเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพ
              5. การปกครองท้องถิ่นจะเป็นแหล่งสร้างผู้นาทางการเมือง การ
บริหารของประเทศในอนาคต
              6. การปกครองท้องถิ่นสอดคล้องกับแนวคิดในการพัฒนาชนบทแบบ
พึ่งตนเอง

หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานการปกครองท้องถิ่น
6


-               หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานการปกครองท้องถิ่น ควรจะต้อง
พิจารณาถึงกาลังเงินกาลังงบประมาณ กาลังคน กาลังความสามารถของอุปกรณ์
เครื่องมือ เครื่องใช้ และหน้าที่ความรับผิดชอบควรเป็นเรื่องทีเป็นประโยชน์ต่อท้องถิ่น
                                                               ่
อย่างแท้จริง หากเกินกว่าภาระ หรือเป็นนโยบายซึ่งรัฐบาลต้องการความเป็นอันหนึ่ง
อันเดียวกันทั้งประเทศ ก็ไม่ควรมอบให้ท้องถิ่นดาเนินการ เช่น งานทะเบียนที่ดิน
การศึกษาในระดับอุดมศึกษาการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้หน่วยการปกครอง
ท้องถิ่นดาเนินการ มีข้อพิจารณาดังนี้
                1. เป็นงานที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น และงานที่เกี่ยวกับการ
อานวยความสะดวกในชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน ได้แก่ การจัดทาถนน สะพาน
สวนหย่อม สวนสาธารณะ การกาจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น
-               2. เป็นงานที่เกี่ยวกับการป้องกันภัย รักษาความปลอดภัย เช่น งาน
ดับเพลิง
                3. เป็นงานที่เกี่ยวกับสวัสดิการสังคม ด้านนี้มีความสาคัญต่อประชาชน
ในท้องถิ่นมาก เช่น การจัดให้มีหน่วยบริการทางสาธารณสุข จัดให้มีสถานสงเคราะห์
เด็กและคนชรา เป็นต้น
                4. เป็นงานที่เกี่ยวกับพาณิชย์ท้องถิ่น เป็นงานที่หากปล่อยให้ประชาชน
ดาเนินการเองอาจไม่ได้รับผลดีเท่าที่ควรจะเป็น จัดให้มีโรงจานา การจัดตลาดและ
งานต่าง ๆ ที่มีรายได้โดยสามารถเรียกค่าบริการจากประชาชน
-

แนวคิดทฤษฏีการปกครองท้องถินและการกระจายอานาจ
                          ่
--


1. แนวความคิดเกียวกับหลักการจัดระเบียบการปกครองท้องถิน
                ่                                     ่
            โดยทั่วไปหลักการปกครองประเทศนิยมแบ่งเป็น 3 หลัก คือ หลักการ
รวมอานาจปกครอง (Centralization), หลักการแบ่งอานาจการปกครอง
(Deconcentration) และหลักการกระจายอานาจปกครอง (Decentralization)
               3.1 หลักการรวมอานาจปกครอง (Centralization) หมายถึง
หลักการจัดวางระเบียบบริหารราชการแผ่นดินโดยรวมอานาจในการปกครองไว้ให้แก่
การบริหารราชการส่วนกลางอันได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม หรือทบวงการเมืองต่าง
ๆ ของรัฐ และมีเจ้าหน้าที่ของหน่วยการบรหารราชการส่วนกลาง โดยให้ขึ้นต่อกัน
7


ตามลาดับชั้นการบังคับบัญชา ซึ่งเป็นผู้ดาเนินการปกครองตลอดทั่วทั้งอาณาเขตของ
ประเทศ
                     3.1.1 ลักษณะสาคัญของหลักการรวมอานาจปกครอง
                          1. มีการรวมกาลังทหารและกาลังตารวจให้ขึ้นต่อส่วนกลาง
เพื่อให้การบังคับบัญชาเป็นไปอย่างเด็ดขาด และทันท่วงที
                          2. มีการรวมอานาจวินิจฉัยสั่งการไว้ในส่วนกลาง
                          3. มีการลาดับขั้นการบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่ลดหลั่นกันไป
                     3.1.2 จุดเข็งของหลักการรวมอานาจปกครอง
                          1. การที่รัฐบาลมีอานาจแผ่ขยายไปทั่วราชอาณาเขต ทาให้
นโยบาย แผน หรือคาสั่งเกิดผลได้ทั่วประเทศอย่างทันที
                          2. ให้บริการและประโยชน์แก่ประชาชนโดยเสมอหน้าทั่ว
ประเทศมิได้ทาเพื่อท้องถินใดโดยเฉพาะ
                             ่
                          3. ทาให้เกิดการประหยัดเพราะสามารถหมุนเวียนเจ้าหน้าที่
และเครื่องมือเครื่องใช้ไปยังจุดต่าง ๆ ของประเทศ ได้โดยไม่ต้องจัดชื้อจัดหาประจา
ทุกจุด
                          4. มีความเป็นเอกภาพในการปกครองและบริหารงาน การ
ปกครองในท้องถิ่นที่เป็นไปในแนวเดียวกัน
                        5. มีเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถมากกว่าเจ้าหน้าที่
ในท้องถิ่นทาให้บริการสาธารณะดาเนินไปโดยสม่าเสมอ และเป็นไปตามระเบียบแบบ
แผนอันเดียวกัน
                     3.1.3 จุดอ่อนของหลักการรวมอานาจปกครอง
                          1. ไม่สามารถดาเนินกิจการทุกอย่างให้ได้ผลดีทั่วทุกท้องที่ใน
เวลาเดียวกัน เพราะมีพื้นที่กว้างใหญ่ จึงไม่อาจสนองความต้องการของประชาชนใน
ท้องถิ่นได้ทั่วถึง
                          2. การปฏิบัติงานมีความล่าช้า เพราะมีแบบแผนและขั้นตอน
มากมายตามลาดับขั้นการบังคับบัญชา
                          3. ไม่สอดคล้องกับหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
                          4. ไม่อาจตอบสนองความต้องการของแต่ละท้องถิ่นได้อย่าง
แท้จริงเพราะความหลากหลายของความแตกต่างในแต่ละท้องถิ่น
                   3.2 หลักการแบ่งอานาจปกครอง (Deconcentration) หมายถึง
8


หลักการที่การบริหารราชการส่วนกลางได้จัดแบ่งอานาจวินิจฉัยและสั่งการบางส่วนไป
ให้ข้าราชการในส่วนภูมิภาค โดยให้มีอานาจในการใช้ดุลพินิจ ตัดสินใจ แก้ไขปัญหา
ตลอดจนเริ่มได้ในกรอบ
แห่งนโยบายของรัฐบาลที่ได้วางไว้
                  3.2.1 ลักษณะสาคัญของหลักการแบ่งอานาจปกครอง
                       1. เป็นการบริหารโดยใช้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้ง
ไปจากส่วนกลางไปประจาตามเขตการปกครองในส่วนภูมิภาคทุกแห่ง ได้แก่ ภาค
มณฑล จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน เป็นต้น และเจ้าหน้าที่เหล่านี้ก็
อยู่ในระบบการบริหารงานบุคคลของรัฐบาลกลางอันเดียวกัน
                       2. เป็นการบริหารโดยใช้งบประมาณซึ่งส่วนกลางเป็น
ผู้อนุมัติและควบคุมให้เป็นไปตามวิธีการงบประมาณแผ่นดิน
                       3. เป็นการบริหารภายใต้นโยบายและวัตถุประสงค์ของรัฐบาล
กลาง

                 3.2.2 จุดเข็งของหลักการแบ่งอานาจปกครอง
                     1. หลักการนี้เป็นก้าวแรกที่จะนาพาไปสู่การกระจายอานาจการ
ปกครอง
                       2. ประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็วขึ้นในการมาติดต่อ
ในเรื่องที่ราชการส่วนภูมิภาคมีอานาจวินิจฉัยสั่งการ เพราะไม่ต้องรอให้ส่วนกลางมา
วินิจฉัยสั่งการ
                       3.เป็นจุดเชื่อมระหว่างส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น ทาให้การ
ติดต่อประสานงานระหว่างทั้ง 2 ส่วนดีขึ้น
                       4. มีประโยชน์ต่อประเทศที่ประชาชนยังไม่รู้จักการปกครอง
ตนเอง
                   3.2.3 จุดอ่อนของหลักการแบ่งอานาจปกครอง
                       1. เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตย เพราะการที่ส่ง
เจ้าหน้าที่จากส่วนกลางเข้าไปบริหารงานในท้องถิ่น
สะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลยังไม่เชื่อในความสามรถของท้องถิ่น
                       2. เกิดความล่าช้าในการบริหารงานเพราะต้องผ่านระเบียบ
แบบแผนถึง 2 ระดับ คือ ระดับส่วนกลาง และระดับส่วนภูมิภาค
9


                      3. ทาให้ระบบราชการมีขนาดใหญ่โตเกิดการสิ้นเปลือง
งบประมาณ
                     4.ทาให้ทรัพยากรที่มีค่าบางอย่างในท้องถิ่นไม่เกิดประโยชน์
เช่น บุคลากร เจ้าหน้าที่ --เพราะถูกส่งมาจากที่อื่น
                     5. บุคลากร เจ้าหน้าที่ที่ถูกส่งเข้าไปปฏิบัติในท้องถิ่น ไม่
สามารถปฏิบัติงานได้เต็มที่ อาจจะเนื่องมาจากไม่ใช่คนในพื้นที่จึงไม่เข้าใจพื้นที่ และ
อาจเกิดความขัดแย้งกับคนในพื้นที่

                  3.3 หลักการกระจายอานาจปกครอง (Decentralization) หมายถึง
หลักการที่รัฐมอบอานาจปกครองบางส่วนให้แก่องค์การอื่นที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ
หน่วยการบริหารราชการส่วนกลางให้จัดทาบริการสาธารณะบางอย่างโดยมีอิสระตาม
สมควร เป็นการมอบอานาจให้ทั้งในด้านการเมืองและการบริหาร เป็นเรื่องที่ท้องถิ่นมี
อานาจที่จะกาหนดนโยบายและควบคุมการปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบายท้องถิ่นของ
ตนเองได้
                    3.3.1 ลักษณะสาคัญของหลักการกระจ่ายอานาจปกครอง
                        1. ได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยผลแห่งกฎหมาย ให้มีส่วนเป็นนิติ
บุคคลหน่วยการปกครองท้องถิ่นเหล่านี้มีหน้าที่ งบประมาณ และทรัพย์สินเป็นของ
ตนเองต่างหาก และไม่ขึ้นตรงต่อหน่วยการปกครองส่วนกลาง ส่วนกลางเพียงแต่
กากับดูแลให้ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมายเท่านั้น
                        2. มีการเลือกตั้งสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นทั้งหมดเพื่อ
เปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง
                        3. มีอานาจอิสระในการบริหารงาน จัดทากิจกรรมและวินิจฉัย
สั่งการได้เองพอสมควร ด้วยงบประมาณและเจ้าหน้าที่ของตนเอง
                        4. หน่วยการปกครองท้องถิ่น ต้องมีอานาจในการจัดเก็บ
รายได้ เช่น ภาษีอากร ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่รัฐอนุญาติ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายใน
การดาเนินกิจการต่าง ๆ
                    3.3.2 จุดเข็งของหลักการกระจายอานาจปกครอง
                        1. ทาให้มีการสนองความต้องการของแต่ละท้องถิ่นได้ดีขึ้น
เพราะผู้บริหารที่มาจากการเลือกตั้งในท้องถิ่นจะรู้ปัญหาและความต้องการของ
ท้องถิ่นได้ดีกว่า
10


                      2. เป็นการแบ่งเบาภาระของหน่วยการบริหารราชการ
ส่วนกลาง
                        3. เป็นการส่งเสริมและพัฒนาการเมืองในระดับท้องถิ่นตาม
ระบอบประชาธิปไตย เพราะการกระจายอานาจทาให้ประชาชนในท้องถิ่นตามระบอบ
ประชาธิปไตย เพราะการกระจายอานาจทาให้ประชาชนในท้องถิ่นรู้จักรับผิดชอบใน
การปกครองท้องถิ่นของตนเองมากขึ้น
                   3.3.3 จุดอ่อนของหลักการกระจายอานาจปกครอง
                        1. อาจก่อให้เกิดการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างท้องถิ่นซึ่งมี
ผลกระทบต่อเอกภาพทางการปกครองและความมั่นคงของประเทศ ประชาชนในแต่ละ
ท้องถิ่นอาจมุ่งแต่ประโยชน์ของท้องถิ่นตน ไม่ให้ความสาคัญกับส่วนร่วม
                         2. ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งอาจใช้อานาจบังคับกดขี่คู่แข่งหรือ
ประชาชนที่ไม่ได้อยู่ฝ่ายตนเอง
                         3.ทาให้เกิดการสิ้นเปลืองงบประมาณ เพราะต้องมีเครื่องมือ
เครื่องใช้และบุคลากรประจาอยู่ทุกหน่วยการปกครองท้องถิ่น ไม่มีการสับเปลี่ยน
หมุนเวียนเหมือนการบริหารราชการส่วนกลาง

2. แนวความคิดเกียวกับลักษณะการกระจายอานาจ
                  ่
              การกระจายอานาจ (Decentralization) คือการโอนกิจการบริการ
สาธารณะบางเรื่องจากรัฐหรือองค์การปกครองส่วนกลางไปให้ชุมชนซึ่งตั้งอยู่ใน
ท้องถิ่นต่าง ๆ ของประเทศ หรือหน่วยงานบางหน่วยงานรับผิดชอบจัดทาอย่างเป็น
อิสระจากองค์กรปกครองส่วนกลาง ดังนั้นเห็นว่าการกระจายอานาจมี 2 รูปแบบ คือ
              1. การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น หรือการกระจายอานาจตามอาณาเขต
หมายถึง การมอบอานาจให้ท้องถิ่นจัดทากิจการหรือบริการสาธารณะบางเรื่องภานใน
เขตของแต่ละท้องถิ่น และท้องถิ่นมีอิสระในการปกครองตนเองพอสมควร
              2. การกระจายอานาจตามบริการ หรือการกระจายอานาจทางเทคนิค
หมายถึง การโอนกิจการบริการสาธารณะบางกิจการจากรัฐหรือองค์การปกครอง
ส่วนกลาง ไปให้หน่วยงานบางหน่วยงานรับผิดชอบจัดทาแยกต่างหากและอย่างเป็น
อิสระ โดยปกติแล้วจะเป็นกิจการซึ่งการจัดทาต้องอาศัยความรู้ความชานาญทาง
เทคโนโลยีแขนงหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น การสื่อสาร วิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ การ
ผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นต้น
11


                ธเนศวร์ เจริญเมือง (2535 : 60-61) ได้เขียนไว้ในบทความเรื่อง
กระจายอานาจสู่ท้องถิ่นโดยมีแนวความคิดหรือทัศนะต่อการกระจายอานาจไว้อย่าง
น่าสนใจ ดังนี้
                การกระจายอานาจ (Decentralization) หมายถึงระบบการบริหาร
ประเทศที่เปิดโอกาศให้ท้องถิ่นต่าง ๆ มีอานาจในการดูแลกิจการหลาย ๆ ด้านของ
ตนเอง ไม่ใช่ปล่อยให้รัฐบาลกลางรวมศูนย์อานาจในการจัดการกิจการแทบทุกอย่าง
ของท้องถิ่น กิจการที่ท้องถิ่นมีสิทธิจัดการดูแลมักได้แก่ ระบบสาธารณูปโภค
การศึกษาและศิลปวัฒนธรรม การดูชีวิตทรัพย์สิน และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
                ส่วนกิจการใหญ่ ๆ 2 อย่างที่รัฐบาลกลางควบคุมไว้เด็ดขาดก็คือ
การทหาร และการต่างประเทศขอบเขตของการดูแลกิจการในท้องถิ่นแต่ละประเทศ
ต่างกันไปในรายละเอียดตามลักษณะเฉพาะของแต่ละประเทศ แต่ส่วนที่เหมือนกัน
และมีความสาคัญอย่างยิ่งก็คือ รัฐบาลกลางมิได้รวมศูนย์อานาจการดูแลจัดการแทบ
ทุกอย่างไว้ที่ตัวเอง แต่ปล่อยให้ท้องถิ่นมีบทบาทและอานาจในการกาหนดลักษณะ
ต่าง ไ ในท้องถิ่นของตนในแง่นี้การจัดการบริหารประเทศดังกล่าวก็นับว่าเป็นสิ่งที่มี
เหตุผลทั้งนี้เพราะประเทศหนึ่ง ๆ มีชุมชนมากมายรวมกัน มีอาณาบริเวณกว้างใหญ่ มี
ประชากรจานวนมาก และแต่ละชุมชนก็มีปัญหาต่าง ๆ มากมายแตกต่างกัน ยากนักที่
คนในท้องถิ่นอื่นจะเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และสามารถจัดเวลาไปดูแลและแก้ไขกิจการทุก
อย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเปิดโอกาศให้แต่ละท้องถิ่นดูแลจัดการปัญหาระดับ
ท้องถิ่นจึงมีคุณประโยชน์สาคัญอย่างน้อย 5 ด้าน คือ
               1. แบ่งเบาภาระของรัฐบาลกลาง
               2. ทาให้ปัญหาในแต่ละท้องถิ่นได้รบการแก้ไขปรับปรุงได้อย่างมี
                                                ั
ประสิทธิภาพ และเป็นไปตามความต้องการของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ
               3. ส่งเสริมให้คนแต่ละท้องถิ่นได้แสดงความสามารถพัฒนา
บทบาทตนเองในการดูแลรับผิดชอบท้องถิ่นของตน
               4. เป็นพื้นฐานสาคัญของคนในท้องถิ่นในการก้าวขึ้นไปดูแลแก้ไขปัญหา
ระดับชาติ
               5. เสริมสร้างความมั่นคงและเข้มเข็งให้แก่ชุมชนและทั้งประเทศ
เนื่องจากปัญหาต่าง ๆ ได้รับการแก้ไข สังคมมีความมั่นคงและเจริญก้าวหน้า
ประชาชนมีคุณภาพและมีบทบาทในการจัดการดูแลสังคมของตัวเอง
12


3. ทฤษฎีเกียวกับการปกครองท้องถิน
             ่                       ่
               ประเด็นที่นาเสนอเกี่ยวกับทฤษฏีการปกครองท้องถิ่น มีดังนี้
               3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการปกครองท้องถินกับการพัฒนา
                                                        ่
ประชาธิปไตยหัวใจของการปกครองท้องถิ่นนั้น กล่าวให้ถึงที่สุดแล้ว ก็คือคาถามที่ว่า
การปกครองท้องถิ่นมีความสัมพันธ์อย่างไรกับระบอบประชาธิปไตย การจัดสรร
อานาจระหว่างองค์การปกครองท้องถิ่นกับรัฐบาลกลางควรเป็นอย่างไร และการ
ปกครองท้องถิ่นควรมีความเป็นประชาธิปไตยแค่ไหนนั่นเองในประวัติศาสตร์ของโลก
ตะวันตก
                มีแนวคิดที่แตกต่างกันถึง 3 สานักว่าด้วยประเด็นนี้ ผิดกับใน
สังคมไทยที่มีเพียงความเห็นเดียว คือ ทุก ๆ ฝ่ายชอบที่จะกล่าวว่า การปกครอง
ท้องถิ่นเป็นรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย เป็นการปกครองที่จะต้อง
ให้ความสาคัญอย่างยิ่ง แต่ทว่าในทางปฏิบัติ กลับไม่มีลักษณะเช่นนั้น
                สานักแรก เป็นแนวความคิดของฝ่ายคัดค้านการปกครองตนเอง
ของท้องถิ่นโดยเห็นว่าการปกครองท้องถิ่นนั้นเป็นหลักการที่ขัดขวางระบอบ
ประชาธิปไตยที่มีการเลือกตั้ง สานักที่สองเห็นว่าหลักการประชาธิปไตยได้แก่ การ
ปกครองโดยเสียงข้างมาก (Majority Rule) และความเสมอภาค (Equality) นั้นไม่
อาจตอบสนองต่อข้อเรียกร้องของการปกครองท้องถิ่นได้ เพราะการปกครองท้องถิ่นมี
ลักษณะคับแคบ เห็นแก่ท้องถิ่นตนเป็นหลัก (Parochial) หลากหลาย (Diverse) มี
แนวโน้มจะเป็นแบบคณาธิปไตย (Potentially Oligarchic) และมีลักษณะฉ้อฉล
อานาจ (Corrupt) ส่วนสานักที่สามเห็นว่าระบอบประชาธิปไตยกับการปกครอง
ท้องถิ่นเกี่ยวพันกันอย่างยิ่ง ประชาชนต้องมีเสรีภาพ ประชาชนซึ่งเสียภาษีต้องมีสิทธิมี
เสียงในการบริหารบ้านเมือง ต้องรู้ว่าผู้บริหารจะทาอะไร ผู้บริหารควรปรึกษาหา
รือกับประชาชนในกิจการสาธารณะต่าง ๆ และไม่ว่าประชาชนจะอยู่ในเมืองหรือ
หมู่บ้านล้วนมีเสรีภาพในการบริหารท้องถิ่นเพื่อผลประโยชน์ของท้องถิ่นเอง (Dilys
M.Hill อ้างใน ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2540)สานักแรก เป็นแนวความคิดของ
ฝ่ายคัดค้านการปกครองตนเองของท้องถิ่นโดยเห็นว่า การปกครองท้องถิ่นนั้นเป็น
หลักการที่ขัดขวางระบอบประชาธิปไตยที่มีการเลือกตั้ง
                สานักทีสอง เห็นว่าหลักการประชาธิปไตยได้แก่ การปกครองโดยเสียง
                       ่
ข้างมาก (Majority Rule) และความเสมอภาค (Equality) นั้นไม่อาจตอบสนองต่อ
ข้อเรียกร้องของการปกครองท้องถิ่นได้ เพราะการปกครองท้องถิ่นมีลักษณะคับแคบ
13


เห็นแก่ท้องถิ่นตนเป็นหลัก (Parochial) หลากหลาย (Diverse) มีแนวโน้มจะเป็น
แบบคณาธิปไตย (Potentially Oligarchic) และมีลักษณะฉ้อฉลอานาจ (Corrupt)
ส่วนสานักที่สามเห็นว่าระบอบประชาธิปไตยกับการปกครองท้องถิ่นเกี่ยวพันกันอย่าง
ยิ่ง ประชาชนต้องมีเสรีภาพ ประชาชนซึ่งเสียภาษีต้องมีสิทธิมีเสียงในการบริหาร
บ้านเมือง ต้องรู้ว่าผู้บริหารจะทาอะไร ผู้บริหารควรปรึกษาหารือกับประชาชนใน
กิจการสาธารณะต่าง ๆ และไม่ว่าประชาชนจะอยู่ในเมืองหรือหมู่บ้านล้วนมีเสรีภาพใน
การบริหารท้องถิ่นเพื่อผลประโยชน์ของท้องถิ่นเอง (Dilys M.Hill อ้างใน ธเนศวร์
เจริญเมือง, 2540)

                สานักแรก เป็นแนวความคิดของฝ่ายคัดค้านการปกครองตนเองของ
ท้องถิ่นโดยเห็นว่าการปกครองท้องถิ่นนั้นเป็นหลักการที่ขัดขวางระบอบประชาธิปไตย
ที่มีการเลือกตั้ง สานักที่สองเห็นว่าหลักการประชาธิปไตยได้แก่ การปกครองโดยเสียง
ข้างมาก (Majority Rule) และความเสมอภาค (Equality) นั้นไม่อาจตอบสนองต่อ
ข้อเรียกร้องของการปกครองท้องถิ่นได้ เพราะการปกครองท้องถิ่นมีลักษณะคับแคบ
เห็นแก่ท้องถิ่นตนเป็นหลัก (Parochial) หลากหลาย (Diverse) มีแนวโน้มจะเป็น
แบบคณาธิปไตย (Potentially Oligarchic) และมีลักษณะฉ้อฉลอานาจ (Corrupt)
ส่วนสานักที่สามเห็นว่าระบอบประชาธิปไตยกับการปกครองท้องถิ่นเกี่ยวพันกันอย่าง
ยิ่ง ประชาชนต้องมีเสรีภาพ ประชาชนซึ่งเสียภาษีต้องมีสิทธิมีเสียงในการบริหาร
บ้านเมือง ต้องรู้ว่าผู้บริหารจะทาอะไร ผู้บริหารควรปรึกษาหารือกับประชาชนใน
กิจการสาธารณะต่าง ๆ และไม่ว่าประชาชนจะอยู่ในเมืองหรือหมู่บ้านล้วนมีเสรีภาพใน
การบริหารท้องถิ่นเพื่อผลประโยชน์ของท้องถิ่นเอง (Dilys M.Hill อ้างใน ธเนศวร์
เจริญเมือง, 2540)
                การที่สานักแรกเห็นว่า การปกครองท้องถิ่นกับระบอบประชาธิปไตย
ขัดแย้งกันอย่างสิ้นเชิง และไม่อนุญาตให้มีการปกครองท้องถิ่นเกิดขึ้นได้ ผลที่ตามมา
คือระบบการบริหารประเทศบนพื้นฐานของแนวคิดดังกล่าวจึงเป็นระบบการรวมศูนย์
อานาจไว้ที่ส่วนกลางไม่มีการปกครองตนเองในท้องถิ่นต่าง ๆ
                สานักที่สอง เห็นว่าอนุญาตให้มีการปกครองท้องถิ่นได้ แต่ต้องมีการ
ควบคุมจากรัฐบาลกลางอย่างมาก เพราะหัวใจของการบริหารประเทศอยู่ที่ส่วนกลาง
ต้องฟังความเห็นของคนส่วนใหญ่ในประเทศ จึงกาหนดให้การปกครองท้องถิ่นทุก
ระดับมีฐานะ โครงสร้างการบริหาร และโครงสร้างอานาจหน้าที่เหมือนกัน ทัศนะ
14


เช่นนี้เป็นของนักคิดฝรั่งเศสบางคน เช่น จอร์ช ล็องโกร ซึ่งกล่าวว่าระบบการเมือง
แบบประชาธิปไตยนั้นไม่จาเป็นต้องมีการปกครองท้องถิ่นก็ได้ เพราะการปกครอง
ท้องถิ่นเป็นเพียงกลไกการบริหารด้านเทคนิค และก็ไม่จาเป็นว่าองค์กรปกครอง
ท้องถิ่นจะยอมรับค่านิยมแบบประชาธิปไตย เนื่องจากองค์กรเหล่านั้นอาจจะแตกแยก
กัน (Decisive) ไม่นิยมความเสมอภาค (Inegalitarian) และขัดแย้งกับเจตนารมณ์
ของส่วนรวม (Contrary to the public will) นอกจากนี้บางท้องถิ่นอาจคิดถึงการ
แบ่งแยกดินแดนออกไปเป็นอิสระอีกด้วยทัศนะเช่นนี้มีผลต่อ
ระบบการบริหารและการจัดการการปกครองท้องถิ่นของฝรั่งเศส ก่อนที่จะเกิดการ
ปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นครั้งใหญ่ในปี พ.ศ.2525 (G.Langrad อ้างใน ธเนศวร์
เจริญเมือง. 2540)
               นักคิดชาวเบลเยี่ยม เช่น ลีโอ มูแลง (Leo Molin) ก็มีความเห็นเช่นนี้
โดยได้กล่าวว่า การมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่นของประชาชนนั้น ในทางปฏิบัติ
ต้องถือว่ามีข้อจากัดมาก
               "การปกครองท้องถิ่นนั้นเป็นเพียงแหล่งฝึกอบรมเพื่อปกป้อง
ผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนท้องถิ่นที่คับแคบและมองข้ามผลประโยชน์ที่สูงกว่าใน
ระดับชาติ"
                ในขณะที่การบริหารระดับชาติมีขนาดใหญ่แตกต่างจากระดับท้องถิ่น
มาก จนกระทั้งประสบการณ์และความรู้ในการจัดการท้องถิ่นนั้นไม่อาจนาไปใช้ได้กับ
กิจการระดับชาติ นอกจากนี้ ผลประโยชน์ระดับท้องถิ่นและความเป็นไปได้ที่อาจจะ
เกิดการหาผลประโยชน์เพื่อตัวเอง ก็ไม่เหมาะกับระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่
ความคิดดังกล่าวได้ก่ออิทธิพลต่อการจัดการการปกครองท้องถิ่นในเบลเยี่ยมเช่นกัน
               สานักทีสาม การปกครองท้องถิ่นมีความจาเป็นในระบอบประชาธิปไตย
                      ่
เพราะมันช่วยให้คนในท้องถิ่นต่าง ๆ ได้เสนอปัญหาและหาทางแก้ไข ซึ่งงานเช่นนี้ไม่
อาจให้รัฐบาลกลางทา จอห์น สจ๊วจ มิลล์ (John Stuart Mill) ให้ความเห็นว่า การ
ปกครองท้องถิ่นจึงเป็นการศึกษาทางการเมือง และเป็นแหล่งสร้างความสามัคคีใน
ท้องถิ่น การปกครองท้องถิ่นจึงเป็นปัจจัยอันดับต้น ๆ ของประชาธิปไตยในทัศนะของ
แพนเทอร์-บริ๊ก (Panter Brick) การปกครองท้องถิ่นเป็นเงื่อนไขที่จาเป็นสาหรับ
ประชาธิปไตยระดับชาติ (a necessary condition of national democracy)
เพราะมันเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ออกความเห็น (creating a democratic
climate of opinion) ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการชุมชุมของเขาเอง
15


(Panter-Brick อ้างใน ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2540)
                  3.2 บทบาทการปกครองท้องถินก่อให้เกิดการพัฒนาประชาธิปไตยทัง
                                                ่                                  ้
ระดับชุมชนและระดับประเทศ
                  แนวคิดต่อการปกครองท้องถิ่นที่มีความเห็นต่างกันอยู่บ้าง นั่นก็คือ
การมองว่าการปกครองท้องถิ่นไม่มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย เป็นอุปสรรคต่อการ
พัฒนาการปกครองในระดับชาติ ซึ่งก็มักเป็นฝ่ายที่นิยมระบบรวมศูนย์หรือฝ่ายนิยม
รัฐบาลกลาง ซึ่งก็เห็นว่าในปัจจุบันเกือบจะไม่ค่อยเป็นที่นิยมกันแล้วสาหรับในปัจจุบัน
ฝ่ายที่เห็นว่า การปกครองท้องถิ่นเป็นแบบประชาธิปไตยโดยพื้นฐาน ผู้นาท้องถิ่นควร
มาจากการเลือกตั้งและการปกครองท้องถิ่นเช่นนี้จะมีส่วนส่งเสริมการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยระดับชาติ ซึ่งเป็นความคิดเชิงบวกที่ได้รับความนิยมโดยทั่วไป
และเป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยหลักการแล้ว บทบาทการปกครองท้องถิ่นก่อให้เกิด
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย
                  ประการแรก ก่อให้เกิดและกระตุ้นการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ
ประชาชน (Greater political participation by the people) การปกครอง
ท้องถิ่นซึ่งมีผู้นามาจากการเลือกตั้งมีประโยชน์เริ่มตั้งแต่การกระตุ้นความสนใจของ
ประชาชน และการที่ผู้นาเหล่านั้นมาจากการเลือกตั้งเสนอนโยบายให้ประชาชนได้
ทราบ ได้คิด ถกเถียงและตัดสินใจเลือก ย่อมส่งเสริมให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมใน
การปกครองท้องถิ่นมากขึ้น
                  ประการทีสอง ก่อให้เกิดความรับผิดชอบของผู้นาต่อประชาชน
                            ่
(Account ability) ที่ผ่านมาคาว่า Accountability เป็นคาที่ไม่ค่อยปรากฎใน
สังคมไทย แต่เป็นคาที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในสังคมประชาธิปไตยตะวันตก
เพราะว่าคานี้หมายถึงพันธะสัญญาหรือความรับผิดชอบในทางการเมืองที่ผู้มาจากการ
เลือกตั้งมีต่อผู้เลือกตั้ง เนื่องจากว่าประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งตัวแทนของตนตัวแทน
เหล่านั้นจึงจะต้องมีความรับผิดชอบในแง่ที่ว่า ตัวเขาเข้าไปทางานอะไร ผลของงาน
เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือส่วนตัว ต้องอธิบายได้ว่าทาไมต้องทาเช่นนั้น
                  ประการทีสาม การปกครองท้องถิ่นที่เข้มแข็งจะขจัดระบบเผด็จการของ
                              ่
รัฐบาล กล่าวคือ เมื่อมีการกระจายอานาจมากขึ้น ท้องถิ่นเข้มแข็ง การยึดอานาจและ
การใช้อานาจเผด็จการจากส่วนกลางก็จะเป็นไปได้ยาก
                  ประการทีสี่ การเมืองท้องถิ่นเป็นเวทีสร้างนักการเมืองระดับชาติ การ
                                ่
เรียนรู้ทางการเมืองในท้องถิ่นทาให้คุณภาพของนักการเมืองระดับชาติสูงขึ้น
16


              ประการทีห้า การสร้างประชาธิปไตยหรือการพัฒนาการเมืองที่มั่นคง
                      ่
จะต้องเริ่มจากการสร้างประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่นก่อน จากนั้นจึงขยายไป
ระดับประเทศ
              ประการทีหก การปกครองท้องถิ่นทาให้เกิดการเข้าสู่ทางการเมืองของ
                        ่
ประชาชน ( Politicization ) เมื่อมีการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น ทาให้มีกิจกรรมต่าง
ๆ เกี่ยวกับการเมือง และประชาชนก็จะเกิดความผูกพัน และใส่ใจการเมืองมากขึ้น
เพราะการบริหารกิจการท้องถิ่นมีผลกระทบโดยตรงต่อผลประโยชน์ของประชาชน
17



                             ใบงานที่ 1

1. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง ความหมาย ของการปกครองส่วนท้องถิ่นจาก
   นักวิชาการท่านอื่นๆอย่างน้อย 2 ความหมาย
           1.1 จอห์น เจ. คลาร์ก (John J. Clark)
               หน่วยการปกครองที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการให้บริการ
   ประชาชนในเขตพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง และหน่วยการปกครองดังกล่าวจะจัดตั้งและ
   อยู่ในความดูแลของรัฐบาลกลาง
           1.2 อุทัย หิรัญโต
              การปกครองที่รัฐบาลมอบอานาจให้ประชาชนในท้องถิ่นใดท้องถิ่น
   หนึ่งจัดการปกครอง และดาเนินกิจการบางอย่าง โดยดาเนินการกันเองเพื่อบา
   บัดความต้องการของตน
           1.3 ประทาน คงฤทธิศึกษาการ
             ระบบการปกครองที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระจายอานาจ
   ทางการปกครองของรัฐ และโดยนัยนี้จะเกิดองค์การทาหน้าที่ปกครองท้องถิ่น
   โดยคนในท้องถิ่น นั้น ๆ
18



                          ทดสอบ หน่วยที่ 1
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้วทาเครื่องหมาย ลงใน
         กระดาษคาตอบที่แจกให้
  1. ข้อใดให้ความหมายของ “การปกครองท้องถิ่นไทย” ได้ถูกต้องที่สุด
               ก. มีองค์กรในการปกครอง
               ข. มีอานาจปกครองตนเอง
               ค. การมีส่วนร่วมของประชาชน
               ง. รัฐจัดตั้งขึ้นและมีสิทธิตามกฎหมาย
  2. มีองข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการปกครองท้องถิ่น
               ก. สร้างผู้นาท้องถิ่น
               ข. เพิ่มภาระให้รัฐบาล
               ค. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
               ง. ตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง
  3. ข้อใดถูกต้องที่สุด
               ก. หลักการรวมอานาจ คือการมอบอานาจการปกครอง
               ข. หลักการกระจายอานาจ คือการแบ่งอานาจวินิจฉัยสั่งการ
               ค. หลักการแบ่งอานาจ คือการมอบอานาจบางส่วนให้แก่องค์กร
               ง. หลักการกระจายอานาจ คือการมอบอานาจการปกครองบางส่วน
                   ให้แก่องค์การ
  4. การปกครองท้องถิ่นประเทศใดมีลักษณะคล้ายกับประเทศไทยมากที่สุด
               ก. ฝรั่งเศส
               ข. อังกฤษ
               ค. ญี่ปุ่น
               ง. เยอรมัน
  5. การบริหารราชการแผ่นดินของไทยในปัจจุบันมีวิวัฒนาการมาจากการปฏิรูป
       การบริหารราชการแผ่นดินในสมัยรัชกาลใด
               ก. รัชกาลที่ 5
               ข. รัชกาลที่ 6
               ค. รัชกาลที่ 7
               ง. รัชกาลที่ 9
19


6. ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบการบริหารราชการไทย
           ก. การบริหารส่วนกลาง/ส่วนท้องถิ่น
           ข. การบริหารส่วนกลาง/ภูมิภาค/ท้องถิ่น
           ค. การบริหารส่วนท้องถิ่น/ส่วนภูมิภาค/ส่วนกลาง
           ง. การบริหารส่วนภูมิภาค/ ส่วนท้องถิ่น/ส่วนกลาง
7. ข้อใดเป็นหลักการ การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นของไทย
           ก. การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น
           ข. การใช้หลักการกระจายอานาจ
           ค. ประชาชนมีอานาจในการตัดสินใจ
           ง. การใช้หลักการกระจายอานาจให้แก่ประชาชนโดยตรง
8. ข้อใด คือรูปแบบการปกครองท้องถิ่นของไทย
           ก. มี 3 รูปแบบ
           ข. มี 4 รูปแบบ
           ค. มี 5 รูปแบบ
           ง. มี 6 รูปแบบ
9. โครงสร้างและองค์ประกอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ถูกต้องคือข้อใด
           ก. ฝ่ายบุคลากรและนิติกร
           ข. ฝ่ายบริหารและการคลัง
           ค. ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร
           ง. ฝ่ายนิติบัญญัติและสานักงานปลัด
10. การกากับดูแลขององค์การบริหารส่วนตาบล กฎหมายกาหนดให้ใครเป็นผู้
    กากับดูแล
           ก. นายกองค์การบริหารส่วนตาบล
           ข. ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล
           ค. นายอาเภอและผู้ว่าราชการจังหวัด
           ง. ประชาชนและข้าราชการในท้องถิ่น
20


ตอนที่ 2 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
จากความหมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญของการ
ปกครองท้องถิ่นมาให้เข้าใจพอสังเขป
       แนวคาตอบ
       สรุปสาระสาคัญของการปกครองท้องถิ่น
           ๑.มีรูปแบบหน่วยการปกครองตามความแตกต่างของความเจริญ
       ประชากร ขนาดพื้นที่ และวัฒนธรรม
           ๒.มีอานาจอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม
           ๓.มีสิทธิทางกฎหมายที่จะดาเนินการปกครองด้วยตัวเองโดยแบ่งเป็น
               ๓.๑.สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้องบังคับต่าง ๆ ขององค์กร
       ปกครองท้องถิ่น
               ๓.๒.สิทธิในการกาหนดงบประมาณ เพื่อบริหารกิจการตามอานาจ
       หน้าที่ที่มีอยู่
           ๔. มีองค์กรที่จาเป็นในการบริหารและปกครองตนเอง คือ มีองค์กรฝ่าย
       บริหาร และองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ
           ๕.ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น

        ...................................................................................................................

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่อลงกรณ์ อารามกูล
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54ps-most
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 

What's hot (9)

เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
ข้อ 1
ข้อ 1ข้อ 1
ข้อ 1
 

Similar to Unit 1

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai BureaucracySaiiew
 
ความรู้เรื่องอบต.
ความรู้เรื่องอบต.ความรู้เรื่องอบต.
ความรู้เรื่องอบต.Nuch Thip
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
Poramate Minsiri
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Patchara Patipant
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Ziro Anu
 
Security sector governace
Security sector governaceSecurity sector governace
Security sector governace
Teeranan
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการSaiiew
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
FURD_RSU
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 

Similar to Unit 1 (20)

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
ความรู้เรื่องอบต.
ความรู้เรื่องอบต.ความรู้เรื่องอบต.
ความรู้เรื่องอบต.
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
บทท่ี 1
บทท่ี 1บทท่ี 1
บทท่ี 1
 
Security sector governace
Security sector governaceSecurity sector governace
Security sector governace
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 

Unit 1

  • 1. 1 หน่วยการเรียนรูที่ 1 ้ เรือง ความรูทวไปเกียวกับการปกครองส่วนท้องถิน ่ ้ ั่ ่ ่ สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของการปกครองท้องถิน ่ 2. หลักการปกครองท้องถิน่ 3. องค์ประกอบของการปกครองส่วนท้องถิน ่ 4. วัตถุประสงค์ของการปกครองส่วนท้องถิน่ 5. ความสาคัญของการปกครองส่วนท้องถิน ่ 6. แนวคิดทฤษฎีการปกครองส่วนท้องถินและการกระจายอานาจ ่ ผลการเรียนรู้ 1. 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. 2. 3.
  • 2. 2 ความหมายของการปกครองท้องถิน ่ ได้มีผู้ให้ความหมายหรือคานิยามไว้มากมายซึ่งส่วนใหญ่แล้วคานิยาม เหล่านั้นต่างมีหลักการที่สาคัญคล้ายคลึงกัน จะต่างกันบ้างก็คือสานวนและ รายละเอียดปลีกย่อย ซึ่งสามารถพิจารณาได้ดังนี้ เดเนียล วิท (Danial Wit, 1967 : 101-103) นิยามว่า การปกครอง ท้องถิ่น หมายถึง การปกครองที่รัฐบาลกลางให้อานาจ หรือกระจายอานาจไปให้ หน่วยการปกครองท้องถิ่น เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีอานาจการ ปกครองร่วมกันทั้งหมด หรือเพียงบางส่วน ในการบริหารท้องถิ่นตามหลักการที่ว่าถ้า อานาจการปกครองมาจากประชาชนในท้องถิ่นแล้ว รัฐบาลของท้องถิ่นจึงจาเป็นต้องมี องค์กรของตนเอง อันเกิดจากการกระจายอานาจของรัฐบาลกลาง โดยให้องค์กรอัน มิได้เป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาล มีอานาจในการตัดสินใจและบริหารงานภายในเขตอานาจ ของตน วิลเลียม วี. ฮอลโลเวย์ (William V. Holloway, 1959 : 101-103) ่ นิยามว่าการปกครองท้องถิ่นหมายถึง องค์การที่มีอาณาเขตแน่นอน มีประชากรตาม หลักที่กาหนดไว้ มีอานาจการปกครองตนเอง มีการบริหารงบประมาณการคลังของ ตนเอง และมีสภาท้องถิ่นที่สมาชิกได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน อุทย หิรญโต (2523 : 2) นิยามว่าการปกครองท้องถิ่น คือ การ ั ั ปกครองที่รัฐบาลมอบอานาจให้ประชาชนในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งจัดการปกครองและ ดาเนินกิจการบางอย่าง โดยดาเนินกันเองเพื่อบาบัดความต้องการของตน การ บริหารงานของท้องถิ่นมีการจัดเป็นองค์การ มีเจ้าหน้าที่ซึ่งประชาชนเลือกตั้งขึ้นมา ทั้งหมด หรือบางส่วน ทังนี้มีความเป็นอิสระในการบริหารงาน แต่ ้ รัฐบาลต้องควบคุมด้วยวิธีต่าง ๆ ตามความเหมาะสม จะปราศจากการควบคุมของรัฐ หาได้ไม่ เพราะการปกครองท้องถิ่นเป็นสิ่งที่รัฐทาให้เกิดขึ้น วินเลียม เอ. ร๊อบสัน (William A. Robson, 1953 : 574) นิยามว่า ่ การปกครองท้องถิ่น หมายถึง หน่วยการปกครองซึ่งรัฐได้จัดตั้งขึ้นและให้มีอานาจ ปกครองตนเอง (Autonomy) มีสิทธิตามกฎหมาย (Legal Rights) และต้องมี องค์กรที่จาเป็นในการปกครอง (Necessary Organization) เพื่อปฏิบัติหน้าที่ให้สม ตามความมุ่งหมายของการปกครองท้องถิ่นนั้น ๆ
  • 3. 3 หลักการปกครองท้องถิ่น 1. อาจมีรูปแบบหน่วยการปกครองท้องถิ่นหลายรูปแบบ ตามความ แตกต่างของความเจริญ (ประชากร หรือขนาดพื้นที่) 2. ต้องมีอานาจอิสระ (Autonomy) ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความ เหมาะสม 3. หน่วยการปกครองท้องถิ่นต้องมีสิทธิตามกฎหมายที่จะดาเนินการ ปกครองตนเองโดยสิทธินี้แบ่งเป็น 2 ประการ คือ 3.1 สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร ปกครองท้องถิ่น 3.2 สิทธิในการกาหนดงบประมาณ เพื่อบริหารกิจการตามอานาจ หน้าที่มีอยู่ 4. มีองค์กรที่จาเป็นในการบริหารและการปกครองตนเอง 5. ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น องค์ประกอบของการปกครองส่วนท้องถิน ่ ระบบการปกครองท้องถิ่นจะต้องประกอบด้วย องค์ประกอบ 8 ประการ คือ (อุทัย หิรัญโต, 2523 : 22) 1. สถานะตามกฎหมาย (Legal Status) หมายความว่าหากประเทศใด กาหนดเรื่องการปกครองท้องถิ่นไว้ในรัฐธรรมนูญของประเทศ การปกครองท้องถิ่นใน ประเทศไทยนั้นจะมีความเข้มเข็งกว่าการปกครองท้องถิ่นที่จัดตั้งโดยกฎหมายอื่น เพราะข้อความที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญนั้นเป็นการแสดงให้เห็นว่า ประเทศนั้นมี นโยบายที่จะกระจายอกนาจอย่างแท้จริง 2. พื้นที่และระดับ (Area and Level) ปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการ กาหนดพื้นที่และระดับของหน่วยการปกครองท้องถิ่นมีหลายประการเช่น ปัจจัยทาง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์เชื้อชาติ และความสานึกในการปกครองของตนเองของ ประชาชนจึงได้มีกฎเกณฑ์ที่จะกาหนดพื้นที่และระดับของหน่วยงานการปกครอง
  • 4. 4 ท้องถิ่นออกเป็น 2 ระดับ คือ หน่วยการปกครองท้องถิ่นขนาดเล็กและขนาดใหญ่ สาหรับขนาดของพื้นที่จากการศึกษาขององค์การสหประชาชาติ โดยองค์การอาหาร และเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม (UNESCO) องค์การอนามัยโลก (WHO) และสานักกิจการสังคม (Bureau of Social Affair) ได้ให้ความเห็นว่าหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่สามารถให้บริการและ บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ ควรมีประชากรประมาณ 50,000 คน แต่ก็ยังมี ปัจจัยอื่นที่ต้องพิจารณาด้วย เช่น ประสิทธิภาพในการบริหารรายได้ และบุคลากรเป็น ต้น 3. การกระจายอานาจและหน้าที่ การที่จะกาหนดให้ท้องถิ่นมีอานาจ หน้าที่มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมืองและการปกครองของรัฐบาลเป็น สาคัญ 4. องค์การนิติบุคคล จัดตั้งโดยผลแห่งกฎหมายแยกจาดรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลแห่งชาติมีขอบเขตการปกครองที่แน่นอน มีอานาจในการกาหนดนโยบาย ออกฎ ข้อบังคับ ควบคุมให้มีการปฏิบัติตามนโยบายนั้น ๆ 5. การเลือกตั้ง สมาชิกองค์การหรือคณะผู้บริหารจะต้องได้รับเลือกตั้ง จากประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อแสดงถึงการเข้ามีส่วนร่วม ทางการเมืองการปกครองของประชาชนโดยเลือกผู้บริหารท้องถิ่นของตนเอง 6. อิสระในการปกครองท้องถิ่น สามารถใช้ดุลพินิจของตนเองในการ ปฏิบัติกิจการในขอบเขตของกฎหมายโดยไม่ต้องขออนุมัติจากรัฐบาลกลาง และไม่อยู่ ในสายการบังคับบัญชาของหน่วยงานราชการ 7. งบประมาณของตนเอง มีอานาจในการจัดเก็บรายได้ การจัดเก็บ ภาษีตามขอบเขตที่กฎหมายให้อานาจในการจัดเก็บ เพื่อให้ท้องถิ่นมีรายได้เพียง พอที่จะทะนุบารุงท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้าต่อไป 8. การควบคุมดูแลของรัฐ เมื่อได้รบการจัดตั้งขึ้นแล้วยังคงอยู่ในการ ั กากับดูแลจากรัฐ เพื่อประโยชน์และความมั่นคงของรัฐและประชาชนโดนส่วนรวม โดย การมีอิสระในการดาเนินงานของหน่วยการปกครองท้องถิ่นนั้นเพราะมิฉะนั้นแล้ว ท้องถิ่นจะกลายเป็นรัฐอธิปไตยไป (อนันต์ อนันตกุล. อ้างในชูวงค์ ฉายบุตร, 2539 : 31) รัฐต้องสงวนอานาจในการควบคุม ดูแลอยู่
  • 5. 5 วัตถุประสงค์ของการปกครองท้องถิ่น 1. ช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาล ทั้งทางด้านการเงิน ตัวบุคล ตลอดจน เวลาที่ใช้ในการดาเนินการ 2. เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นอย่างแท้จริง 3. เพื่อความประหยัดเงินงบประมาณของรัฐบาล ที่จะต้องจ่ายให้กับ ท้องถิ่นทั่วประเทศเป็นอันมาก 4. เพื่อให้หน่วยการปกครองท้องถิ่นเป็นสถาบันที่ให้การศึกษาการ ปกครองระบบประชาธิปไตยแก่ประชาชน ความสาคัญของการปกครองท้องถิ่น ----- -1. การปกครองท้องถิ่นถือเป็นรากฐานของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยเพราะเป็นสถาบันฝึกสอนการเมืองการปกครองให้แก่ประชาชน ทาให้ เกิดความคุ้นเคยในการใช้สิทธิและหน้าที่พลเมือง อันจะนามาสู่ความศรัทธาเลื่อมใสใน ระบอบประชาธิปไตย 2. การปกครองท้องถิ่นเป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐบาล 3. การปกครองท้องถิ่นจะทาให้ประชาชนรู้จักการปกครองตนเอง เพราะเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง ซึ่งจะทาให้ประชาชนเกิด สานึกของตนเองต่อท้องถิ่น ประชาชนจะมีส่วนรับรู้ถึงอุปสรรค ปัญหา และช่วยกัน แก้ไขปัญหาของท้องถิ่นของตน 4. การปกครองท้องถิ่นสามารถตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น ตรงเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพ 5. การปกครองท้องถิ่นจะเป็นแหล่งสร้างผู้นาทางการเมือง การ บริหารของประเทศในอนาคต 6. การปกครองท้องถิ่นสอดคล้องกับแนวคิดในการพัฒนาชนบทแบบ พึ่งตนเอง หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานการปกครองท้องถิ่น
  • 6. 6 - หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานการปกครองท้องถิ่น ควรจะต้อง พิจารณาถึงกาลังเงินกาลังงบประมาณ กาลังคน กาลังความสามารถของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และหน้าที่ความรับผิดชอบควรเป็นเรื่องทีเป็นประโยชน์ต่อท้องถิ่น ่ อย่างแท้จริง หากเกินกว่าภาระ หรือเป็นนโยบายซึ่งรัฐบาลต้องการความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันทั้งประเทศ ก็ไม่ควรมอบให้ท้องถิ่นดาเนินการ เช่น งานทะเบียนที่ดิน การศึกษาในระดับอุดมศึกษาการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้หน่วยการปกครอง ท้องถิ่นดาเนินการ มีข้อพิจารณาดังนี้ 1. เป็นงานที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น และงานที่เกี่ยวกับการ อานวยความสะดวกในชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน ได้แก่ การจัดทาถนน สะพาน สวนหย่อม สวนสาธารณะ การกาจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น - 2. เป็นงานที่เกี่ยวกับการป้องกันภัย รักษาความปลอดภัย เช่น งาน ดับเพลิง 3. เป็นงานที่เกี่ยวกับสวัสดิการสังคม ด้านนี้มีความสาคัญต่อประชาชน ในท้องถิ่นมาก เช่น การจัดให้มีหน่วยบริการทางสาธารณสุข จัดให้มีสถานสงเคราะห์ เด็กและคนชรา เป็นต้น 4. เป็นงานที่เกี่ยวกับพาณิชย์ท้องถิ่น เป็นงานที่หากปล่อยให้ประชาชน ดาเนินการเองอาจไม่ได้รับผลดีเท่าที่ควรจะเป็น จัดให้มีโรงจานา การจัดตลาดและ งานต่าง ๆ ที่มีรายได้โดยสามารถเรียกค่าบริการจากประชาชน - แนวคิดทฤษฏีการปกครองท้องถินและการกระจายอานาจ ่ -- 1. แนวความคิดเกียวกับหลักการจัดระเบียบการปกครองท้องถิน ่ ่ โดยทั่วไปหลักการปกครองประเทศนิยมแบ่งเป็น 3 หลัก คือ หลักการ รวมอานาจปกครอง (Centralization), หลักการแบ่งอานาจการปกครอง (Deconcentration) และหลักการกระจายอานาจปกครอง (Decentralization) 3.1 หลักการรวมอานาจปกครอง (Centralization) หมายถึง หลักการจัดวางระเบียบบริหารราชการแผ่นดินโดยรวมอานาจในการปกครองไว้ให้แก่ การบริหารราชการส่วนกลางอันได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม หรือทบวงการเมืองต่าง ๆ ของรัฐ และมีเจ้าหน้าที่ของหน่วยการบรหารราชการส่วนกลาง โดยให้ขึ้นต่อกัน
  • 7. 7 ตามลาดับชั้นการบังคับบัญชา ซึ่งเป็นผู้ดาเนินการปกครองตลอดทั่วทั้งอาณาเขตของ ประเทศ 3.1.1 ลักษณะสาคัญของหลักการรวมอานาจปกครอง 1. มีการรวมกาลังทหารและกาลังตารวจให้ขึ้นต่อส่วนกลาง เพื่อให้การบังคับบัญชาเป็นไปอย่างเด็ดขาด และทันท่วงที 2. มีการรวมอานาจวินิจฉัยสั่งการไว้ในส่วนกลาง 3. มีการลาดับขั้นการบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่ลดหลั่นกันไป 3.1.2 จุดเข็งของหลักการรวมอานาจปกครอง 1. การที่รัฐบาลมีอานาจแผ่ขยายไปทั่วราชอาณาเขต ทาให้ นโยบาย แผน หรือคาสั่งเกิดผลได้ทั่วประเทศอย่างทันที 2. ให้บริการและประโยชน์แก่ประชาชนโดยเสมอหน้าทั่ว ประเทศมิได้ทาเพื่อท้องถินใดโดยเฉพาะ ่ 3. ทาให้เกิดการประหยัดเพราะสามารถหมุนเวียนเจ้าหน้าที่ และเครื่องมือเครื่องใช้ไปยังจุดต่าง ๆ ของประเทศ ได้โดยไม่ต้องจัดชื้อจัดหาประจา ทุกจุด 4. มีความเป็นเอกภาพในการปกครองและบริหารงาน การ ปกครองในท้องถิ่นที่เป็นไปในแนวเดียวกัน 5. มีเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถมากกว่าเจ้าหน้าที่ ในท้องถิ่นทาให้บริการสาธารณะดาเนินไปโดยสม่าเสมอ และเป็นไปตามระเบียบแบบ แผนอันเดียวกัน 3.1.3 จุดอ่อนของหลักการรวมอานาจปกครอง 1. ไม่สามารถดาเนินกิจการทุกอย่างให้ได้ผลดีทั่วทุกท้องที่ใน เวลาเดียวกัน เพราะมีพื้นที่กว้างใหญ่ จึงไม่อาจสนองความต้องการของประชาชนใน ท้องถิ่นได้ทั่วถึง 2. การปฏิบัติงานมีความล่าช้า เพราะมีแบบแผนและขั้นตอน มากมายตามลาดับขั้นการบังคับบัญชา 3. ไม่สอดคล้องกับหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 4. ไม่อาจตอบสนองความต้องการของแต่ละท้องถิ่นได้อย่าง แท้จริงเพราะความหลากหลายของความแตกต่างในแต่ละท้องถิ่น 3.2 หลักการแบ่งอานาจปกครอง (Deconcentration) หมายถึง
  • 8. 8 หลักการที่การบริหารราชการส่วนกลางได้จัดแบ่งอานาจวินิจฉัยและสั่งการบางส่วนไป ให้ข้าราชการในส่วนภูมิภาค โดยให้มีอานาจในการใช้ดุลพินิจ ตัดสินใจ แก้ไขปัญหา ตลอดจนเริ่มได้ในกรอบ แห่งนโยบายของรัฐบาลที่ได้วางไว้ 3.2.1 ลักษณะสาคัญของหลักการแบ่งอานาจปกครอง 1. เป็นการบริหารโดยใช้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้ง ไปจากส่วนกลางไปประจาตามเขตการปกครองในส่วนภูมิภาคทุกแห่ง ได้แก่ ภาค มณฑล จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน เป็นต้น และเจ้าหน้าที่เหล่านี้ก็ อยู่ในระบบการบริหารงานบุคคลของรัฐบาลกลางอันเดียวกัน 2. เป็นการบริหารโดยใช้งบประมาณซึ่งส่วนกลางเป็น ผู้อนุมัติและควบคุมให้เป็นไปตามวิธีการงบประมาณแผ่นดิน 3. เป็นการบริหารภายใต้นโยบายและวัตถุประสงค์ของรัฐบาล กลาง 3.2.2 จุดเข็งของหลักการแบ่งอานาจปกครอง 1. หลักการนี้เป็นก้าวแรกที่จะนาพาไปสู่การกระจายอานาจการ ปกครอง 2. ประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็วขึ้นในการมาติดต่อ ในเรื่องที่ราชการส่วนภูมิภาคมีอานาจวินิจฉัยสั่งการ เพราะไม่ต้องรอให้ส่วนกลางมา วินิจฉัยสั่งการ 3.เป็นจุดเชื่อมระหว่างส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น ทาให้การ ติดต่อประสานงานระหว่างทั้ง 2 ส่วนดีขึ้น 4. มีประโยชน์ต่อประเทศที่ประชาชนยังไม่รู้จักการปกครอง ตนเอง 3.2.3 จุดอ่อนของหลักการแบ่งอานาจปกครอง 1. เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตย เพราะการที่ส่ง เจ้าหน้าที่จากส่วนกลางเข้าไปบริหารงานในท้องถิ่น สะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลยังไม่เชื่อในความสามรถของท้องถิ่น 2. เกิดความล่าช้าในการบริหารงานเพราะต้องผ่านระเบียบ แบบแผนถึง 2 ระดับ คือ ระดับส่วนกลาง และระดับส่วนภูมิภาค
  • 9. 9 3. ทาให้ระบบราชการมีขนาดใหญ่โตเกิดการสิ้นเปลือง งบประมาณ 4.ทาให้ทรัพยากรที่มีค่าบางอย่างในท้องถิ่นไม่เกิดประโยชน์ เช่น บุคลากร เจ้าหน้าที่ --เพราะถูกส่งมาจากที่อื่น 5. บุคลากร เจ้าหน้าที่ที่ถูกส่งเข้าไปปฏิบัติในท้องถิ่น ไม่ สามารถปฏิบัติงานได้เต็มที่ อาจจะเนื่องมาจากไม่ใช่คนในพื้นที่จึงไม่เข้าใจพื้นที่ และ อาจเกิดความขัดแย้งกับคนในพื้นที่ 3.3 หลักการกระจายอานาจปกครอง (Decentralization) หมายถึง หลักการที่รัฐมอบอานาจปกครองบางส่วนให้แก่องค์การอื่นที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ หน่วยการบริหารราชการส่วนกลางให้จัดทาบริการสาธารณะบางอย่างโดยมีอิสระตาม สมควร เป็นการมอบอานาจให้ทั้งในด้านการเมืองและการบริหาร เป็นเรื่องที่ท้องถิ่นมี อานาจที่จะกาหนดนโยบายและควบคุมการปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบายท้องถิ่นของ ตนเองได้ 3.3.1 ลักษณะสาคัญของหลักการกระจ่ายอานาจปกครอง 1. ได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยผลแห่งกฎหมาย ให้มีส่วนเป็นนิติ บุคคลหน่วยการปกครองท้องถิ่นเหล่านี้มีหน้าที่ งบประมาณ และทรัพย์สินเป็นของ ตนเองต่างหาก และไม่ขึ้นตรงต่อหน่วยการปกครองส่วนกลาง ส่วนกลางเพียงแต่ กากับดูแลให้ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมายเท่านั้น 2. มีการเลือกตั้งสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นทั้งหมดเพื่อ เปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง 3. มีอานาจอิสระในการบริหารงาน จัดทากิจกรรมและวินิจฉัย สั่งการได้เองพอสมควร ด้วยงบประมาณและเจ้าหน้าที่ของตนเอง 4. หน่วยการปกครองท้องถิ่น ต้องมีอานาจในการจัดเก็บ รายได้ เช่น ภาษีอากร ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่รัฐอนุญาติ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายใน การดาเนินกิจการต่าง ๆ 3.3.2 จุดเข็งของหลักการกระจายอานาจปกครอง 1. ทาให้มีการสนองความต้องการของแต่ละท้องถิ่นได้ดีขึ้น เพราะผู้บริหารที่มาจากการเลือกตั้งในท้องถิ่นจะรู้ปัญหาและความต้องการของ ท้องถิ่นได้ดีกว่า
  • 10. 10 2. เป็นการแบ่งเบาภาระของหน่วยการบริหารราชการ ส่วนกลาง 3. เป็นการส่งเสริมและพัฒนาการเมืองในระดับท้องถิ่นตาม ระบอบประชาธิปไตย เพราะการกระจายอานาจทาให้ประชาชนในท้องถิ่นตามระบอบ ประชาธิปไตย เพราะการกระจายอานาจทาให้ประชาชนในท้องถิ่นรู้จักรับผิดชอบใน การปกครองท้องถิ่นของตนเองมากขึ้น 3.3.3 จุดอ่อนของหลักการกระจายอานาจปกครอง 1. อาจก่อให้เกิดการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างท้องถิ่นซึ่งมี ผลกระทบต่อเอกภาพทางการปกครองและความมั่นคงของประเทศ ประชาชนในแต่ละ ท้องถิ่นอาจมุ่งแต่ประโยชน์ของท้องถิ่นตน ไม่ให้ความสาคัญกับส่วนร่วม 2. ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งอาจใช้อานาจบังคับกดขี่คู่แข่งหรือ ประชาชนที่ไม่ได้อยู่ฝ่ายตนเอง 3.ทาให้เกิดการสิ้นเปลืองงบประมาณ เพราะต้องมีเครื่องมือ เครื่องใช้และบุคลากรประจาอยู่ทุกหน่วยการปกครองท้องถิ่น ไม่มีการสับเปลี่ยน หมุนเวียนเหมือนการบริหารราชการส่วนกลาง 2. แนวความคิดเกียวกับลักษณะการกระจายอานาจ ่ การกระจายอานาจ (Decentralization) คือการโอนกิจการบริการ สาธารณะบางเรื่องจากรัฐหรือองค์การปกครองส่วนกลางไปให้ชุมชนซึ่งตั้งอยู่ใน ท้องถิ่นต่าง ๆ ของประเทศ หรือหน่วยงานบางหน่วยงานรับผิดชอบจัดทาอย่างเป็น อิสระจากองค์กรปกครองส่วนกลาง ดังนั้นเห็นว่าการกระจายอานาจมี 2 รูปแบบ คือ 1. การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น หรือการกระจายอานาจตามอาณาเขต หมายถึง การมอบอานาจให้ท้องถิ่นจัดทากิจการหรือบริการสาธารณะบางเรื่องภานใน เขตของแต่ละท้องถิ่น และท้องถิ่นมีอิสระในการปกครองตนเองพอสมควร 2. การกระจายอานาจตามบริการ หรือการกระจายอานาจทางเทคนิค หมายถึง การโอนกิจการบริการสาธารณะบางกิจการจากรัฐหรือองค์การปกครอง ส่วนกลาง ไปให้หน่วยงานบางหน่วยงานรับผิดชอบจัดทาแยกต่างหากและอย่างเป็น อิสระ โดยปกติแล้วจะเป็นกิจการซึ่งการจัดทาต้องอาศัยความรู้ความชานาญทาง เทคโนโลยีแขนงหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น การสื่อสาร วิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ การ ผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นต้น
  • 11. 11 ธเนศวร์ เจริญเมือง (2535 : 60-61) ได้เขียนไว้ในบทความเรื่อง กระจายอานาจสู่ท้องถิ่นโดยมีแนวความคิดหรือทัศนะต่อการกระจายอานาจไว้อย่าง น่าสนใจ ดังนี้ การกระจายอานาจ (Decentralization) หมายถึงระบบการบริหาร ประเทศที่เปิดโอกาศให้ท้องถิ่นต่าง ๆ มีอานาจในการดูแลกิจการหลาย ๆ ด้านของ ตนเอง ไม่ใช่ปล่อยให้รัฐบาลกลางรวมศูนย์อานาจในการจัดการกิจการแทบทุกอย่าง ของท้องถิ่น กิจการที่ท้องถิ่นมีสิทธิจัดการดูแลมักได้แก่ ระบบสาธารณูปโภค การศึกษาและศิลปวัฒนธรรม การดูชีวิตทรัพย์สิน และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ส่วนกิจการใหญ่ ๆ 2 อย่างที่รัฐบาลกลางควบคุมไว้เด็ดขาดก็คือ การทหาร และการต่างประเทศขอบเขตของการดูแลกิจการในท้องถิ่นแต่ละประเทศ ต่างกันไปในรายละเอียดตามลักษณะเฉพาะของแต่ละประเทศ แต่ส่วนที่เหมือนกัน และมีความสาคัญอย่างยิ่งก็คือ รัฐบาลกลางมิได้รวมศูนย์อานาจการดูแลจัดการแทบ ทุกอย่างไว้ที่ตัวเอง แต่ปล่อยให้ท้องถิ่นมีบทบาทและอานาจในการกาหนดลักษณะ ต่าง ไ ในท้องถิ่นของตนในแง่นี้การจัดการบริหารประเทศดังกล่าวก็นับว่าเป็นสิ่งที่มี เหตุผลทั้งนี้เพราะประเทศหนึ่ง ๆ มีชุมชนมากมายรวมกัน มีอาณาบริเวณกว้างใหญ่ มี ประชากรจานวนมาก และแต่ละชุมชนก็มีปัญหาต่าง ๆ มากมายแตกต่างกัน ยากนักที่ คนในท้องถิ่นอื่นจะเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และสามารถจัดเวลาไปดูแลและแก้ไขกิจการทุก อย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเปิดโอกาศให้แต่ละท้องถิ่นดูแลจัดการปัญหาระดับ ท้องถิ่นจึงมีคุณประโยชน์สาคัญอย่างน้อย 5 ด้าน คือ 1. แบ่งเบาภาระของรัฐบาลกลาง 2. ทาให้ปัญหาในแต่ละท้องถิ่นได้รบการแก้ไขปรับปรุงได้อย่างมี ั ประสิทธิภาพ และเป็นไปตามความต้องการของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ 3. ส่งเสริมให้คนแต่ละท้องถิ่นได้แสดงความสามารถพัฒนา บทบาทตนเองในการดูแลรับผิดชอบท้องถิ่นของตน 4. เป็นพื้นฐานสาคัญของคนในท้องถิ่นในการก้าวขึ้นไปดูแลแก้ไขปัญหา ระดับชาติ 5. เสริมสร้างความมั่นคงและเข้มเข็งให้แก่ชุมชนและทั้งประเทศ เนื่องจากปัญหาต่าง ๆ ได้รับการแก้ไข สังคมมีความมั่นคงและเจริญก้าวหน้า ประชาชนมีคุณภาพและมีบทบาทในการจัดการดูแลสังคมของตัวเอง
  • 12. 12 3. ทฤษฎีเกียวกับการปกครองท้องถิน ่ ่ ประเด็นที่นาเสนอเกี่ยวกับทฤษฏีการปกครองท้องถิ่น มีดังนี้ 3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการปกครองท้องถินกับการพัฒนา ่ ประชาธิปไตยหัวใจของการปกครองท้องถิ่นนั้น กล่าวให้ถึงที่สุดแล้ว ก็คือคาถามที่ว่า การปกครองท้องถิ่นมีความสัมพันธ์อย่างไรกับระบอบประชาธิปไตย การจัดสรร อานาจระหว่างองค์การปกครองท้องถิ่นกับรัฐบาลกลางควรเป็นอย่างไร และการ ปกครองท้องถิ่นควรมีความเป็นประชาธิปไตยแค่ไหนนั่นเองในประวัติศาสตร์ของโลก ตะวันตก มีแนวคิดที่แตกต่างกันถึง 3 สานักว่าด้วยประเด็นนี้ ผิดกับใน สังคมไทยที่มีเพียงความเห็นเดียว คือ ทุก ๆ ฝ่ายชอบที่จะกล่าวว่า การปกครอง ท้องถิ่นเป็นรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย เป็นการปกครองที่จะต้อง ให้ความสาคัญอย่างยิ่ง แต่ทว่าในทางปฏิบัติ กลับไม่มีลักษณะเช่นนั้น สานักแรก เป็นแนวความคิดของฝ่ายคัดค้านการปกครองตนเอง ของท้องถิ่นโดยเห็นว่าการปกครองท้องถิ่นนั้นเป็นหลักการที่ขัดขวางระบอบ ประชาธิปไตยที่มีการเลือกตั้ง สานักที่สองเห็นว่าหลักการประชาธิปไตยได้แก่ การ ปกครองโดยเสียงข้างมาก (Majority Rule) และความเสมอภาค (Equality) นั้นไม่ อาจตอบสนองต่อข้อเรียกร้องของการปกครองท้องถิ่นได้ เพราะการปกครองท้องถิ่นมี ลักษณะคับแคบ เห็นแก่ท้องถิ่นตนเป็นหลัก (Parochial) หลากหลาย (Diverse) มี แนวโน้มจะเป็นแบบคณาธิปไตย (Potentially Oligarchic) และมีลักษณะฉ้อฉล อานาจ (Corrupt) ส่วนสานักที่สามเห็นว่าระบอบประชาธิปไตยกับการปกครอง ท้องถิ่นเกี่ยวพันกันอย่างยิ่ง ประชาชนต้องมีเสรีภาพ ประชาชนซึ่งเสียภาษีต้องมีสิทธิมี เสียงในการบริหารบ้านเมือง ต้องรู้ว่าผู้บริหารจะทาอะไร ผู้บริหารควรปรึกษาหา รือกับประชาชนในกิจการสาธารณะต่าง ๆ และไม่ว่าประชาชนจะอยู่ในเมืองหรือ หมู่บ้านล้วนมีเสรีภาพในการบริหารท้องถิ่นเพื่อผลประโยชน์ของท้องถิ่นเอง (Dilys M.Hill อ้างใน ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2540)สานักแรก เป็นแนวความคิดของ ฝ่ายคัดค้านการปกครองตนเองของท้องถิ่นโดยเห็นว่า การปกครองท้องถิ่นนั้นเป็น หลักการที่ขัดขวางระบอบประชาธิปไตยที่มีการเลือกตั้ง สานักทีสอง เห็นว่าหลักการประชาธิปไตยได้แก่ การปกครองโดยเสียง ่ ข้างมาก (Majority Rule) และความเสมอภาค (Equality) นั้นไม่อาจตอบสนองต่อ ข้อเรียกร้องของการปกครองท้องถิ่นได้ เพราะการปกครองท้องถิ่นมีลักษณะคับแคบ
  • 13. 13 เห็นแก่ท้องถิ่นตนเป็นหลัก (Parochial) หลากหลาย (Diverse) มีแนวโน้มจะเป็น แบบคณาธิปไตย (Potentially Oligarchic) และมีลักษณะฉ้อฉลอานาจ (Corrupt) ส่วนสานักที่สามเห็นว่าระบอบประชาธิปไตยกับการปกครองท้องถิ่นเกี่ยวพันกันอย่าง ยิ่ง ประชาชนต้องมีเสรีภาพ ประชาชนซึ่งเสียภาษีต้องมีสิทธิมีเสียงในการบริหาร บ้านเมือง ต้องรู้ว่าผู้บริหารจะทาอะไร ผู้บริหารควรปรึกษาหารือกับประชาชนใน กิจการสาธารณะต่าง ๆ และไม่ว่าประชาชนจะอยู่ในเมืองหรือหมู่บ้านล้วนมีเสรีภาพใน การบริหารท้องถิ่นเพื่อผลประโยชน์ของท้องถิ่นเอง (Dilys M.Hill อ้างใน ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2540) สานักแรก เป็นแนวความคิดของฝ่ายคัดค้านการปกครองตนเองของ ท้องถิ่นโดยเห็นว่าการปกครองท้องถิ่นนั้นเป็นหลักการที่ขัดขวางระบอบประชาธิปไตย ที่มีการเลือกตั้ง สานักที่สองเห็นว่าหลักการประชาธิปไตยได้แก่ การปกครองโดยเสียง ข้างมาก (Majority Rule) และความเสมอภาค (Equality) นั้นไม่อาจตอบสนองต่อ ข้อเรียกร้องของการปกครองท้องถิ่นได้ เพราะการปกครองท้องถิ่นมีลักษณะคับแคบ เห็นแก่ท้องถิ่นตนเป็นหลัก (Parochial) หลากหลาย (Diverse) มีแนวโน้มจะเป็น แบบคณาธิปไตย (Potentially Oligarchic) และมีลักษณะฉ้อฉลอานาจ (Corrupt) ส่วนสานักที่สามเห็นว่าระบอบประชาธิปไตยกับการปกครองท้องถิ่นเกี่ยวพันกันอย่าง ยิ่ง ประชาชนต้องมีเสรีภาพ ประชาชนซึ่งเสียภาษีต้องมีสิทธิมีเสียงในการบริหาร บ้านเมือง ต้องรู้ว่าผู้บริหารจะทาอะไร ผู้บริหารควรปรึกษาหารือกับประชาชนใน กิจการสาธารณะต่าง ๆ และไม่ว่าประชาชนจะอยู่ในเมืองหรือหมู่บ้านล้วนมีเสรีภาพใน การบริหารท้องถิ่นเพื่อผลประโยชน์ของท้องถิ่นเอง (Dilys M.Hill อ้างใน ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2540) การที่สานักแรกเห็นว่า การปกครองท้องถิ่นกับระบอบประชาธิปไตย ขัดแย้งกันอย่างสิ้นเชิง และไม่อนุญาตให้มีการปกครองท้องถิ่นเกิดขึ้นได้ ผลที่ตามมา คือระบบการบริหารประเทศบนพื้นฐานของแนวคิดดังกล่าวจึงเป็นระบบการรวมศูนย์ อานาจไว้ที่ส่วนกลางไม่มีการปกครองตนเองในท้องถิ่นต่าง ๆ สานักที่สอง เห็นว่าอนุญาตให้มีการปกครองท้องถิ่นได้ แต่ต้องมีการ ควบคุมจากรัฐบาลกลางอย่างมาก เพราะหัวใจของการบริหารประเทศอยู่ที่ส่วนกลาง ต้องฟังความเห็นของคนส่วนใหญ่ในประเทศ จึงกาหนดให้การปกครองท้องถิ่นทุก ระดับมีฐานะ โครงสร้างการบริหาร และโครงสร้างอานาจหน้าที่เหมือนกัน ทัศนะ
  • 14. 14 เช่นนี้เป็นของนักคิดฝรั่งเศสบางคน เช่น จอร์ช ล็องโกร ซึ่งกล่าวว่าระบบการเมือง แบบประชาธิปไตยนั้นไม่จาเป็นต้องมีการปกครองท้องถิ่นก็ได้ เพราะการปกครอง ท้องถิ่นเป็นเพียงกลไกการบริหารด้านเทคนิค และก็ไม่จาเป็นว่าองค์กรปกครอง ท้องถิ่นจะยอมรับค่านิยมแบบประชาธิปไตย เนื่องจากองค์กรเหล่านั้นอาจจะแตกแยก กัน (Decisive) ไม่นิยมความเสมอภาค (Inegalitarian) และขัดแย้งกับเจตนารมณ์ ของส่วนรวม (Contrary to the public will) นอกจากนี้บางท้องถิ่นอาจคิดถึงการ แบ่งแยกดินแดนออกไปเป็นอิสระอีกด้วยทัศนะเช่นนี้มีผลต่อ ระบบการบริหารและการจัดการการปกครองท้องถิ่นของฝรั่งเศส ก่อนที่จะเกิดการ ปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นครั้งใหญ่ในปี พ.ศ.2525 (G.Langrad อ้างใน ธเนศวร์ เจริญเมือง. 2540) นักคิดชาวเบลเยี่ยม เช่น ลีโอ มูแลง (Leo Molin) ก็มีความเห็นเช่นนี้ โดยได้กล่าวว่า การมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่นของประชาชนนั้น ในทางปฏิบัติ ต้องถือว่ามีข้อจากัดมาก "การปกครองท้องถิ่นนั้นเป็นเพียงแหล่งฝึกอบรมเพื่อปกป้อง ผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนท้องถิ่นที่คับแคบและมองข้ามผลประโยชน์ที่สูงกว่าใน ระดับชาติ" ในขณะที่การบริหารระดับชาติมีขนาดใหญ่แตกต่างจากระดับท้องถิ่น มาก จนกระทั้งประสบการณ์และความรู้ในการจัดการท้องถิ่นนั้นไม่อาจนาไปใช้ได้กับ กิจการระดับชาติ นอกจากนี้ ผลประโยชน์ระดับท้องถิ่นและความเป็นไปได้ที่อาจจะ เกิดการหาผลประโยชน์เพื่อตัวเอง ก็ไม่เหมาะกับระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ ความคิดดังกล่าวได้ก่ออิทธิพลต่อการจัดการการปกครองท้องถิ่นในเบลเยี่ยมเช่นกัน สานักทีสาม การปกครองท้องถิ่นมีความจาเป็นในระบอบประชาธิปไตย ่ เพราะมันช่วยให้คนในท้องถิ่นต่าง ๆ ได้เสนอปัญหาและหาทางแก้ไข ซึ่งงานเช่นนี้ไม่ อาจให้รัฐบาลกลางทา จอห์น สจ๊วจ มิลล์ (John Stuart Mill) ให้ความเห็นว่า การ ปกครองท้องถิ่นจึงเป็นการศึกษาทางการเมือง และเป็นแหล่งสร้างความสามัคคีใน ท้องถิ่น การปกครองท้องถิ่นจึงเป็นปัจจัยอันดับต้น ๆ ของประชาธิปไตยในทัศนะของ แพนเทอร์-บริ๊ก (Panter Brick) การปกครองท้องถิ่นเป็นเงื่อนไขที่จาเป็นสาหรับ ประชาธิปไตยระดับชาติ (a necessary condition of national democracy) เพราะมันเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ออกความเห็น (creating a democratic climate of opinion) ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการชุมชุมของเขาเอง
  • 15. 15 (Panter-Brick อ้างใน ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2540) 3.2 บทบาทการปกครองท้องถินก่อให้เกิดการพัฒนาประชาธิปไตยทัง ่ ้ ระดับชุมชนและระดับประเทศ แนวคิดต่อการปกครองท้องถิ่นที่มีความเห็นต่างกันอยู่บ้าง นั่นก็คือ การมองว่าการปกครองท้องถิ่นไม่มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย เป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาการปกครองในระดับชาติ ซึ่งก็มักเป็นฝ่ายที่นิยมระบบรวมศูนย์หรือฝ่ายนิยม รัฐบาลกลาง ซึ่งก็เห็นว่าในปัจจุบันเกือบจะไม่ค่อยเป็นที่นิยมกันแล้วสาหรับในปัจจุบัน ฝ่ายที่เห็นว่า การปกครองท้องถิ่นเป็นแบบประชาธิปไตยโดยพื้นฐาน ผู้นาท้องถิ่นควร มาจากการเลือกตั้งและการปกครองท้องถิ่นเช่นนี้จะมีส่วนส่งเสริมการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยระดับชาติ ซึ่งเป็นความคิดเชิงบวกที่ได้รับความนิยมโดยทั่วไป และเป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยหลักการแล้ว บทบาทการปกครองท้องถิ่นก่อให้เกิด กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย ประการแรก ก่อให้เกิดและกระตุ้นการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชน (Greater political participation by the people) การปกครอง ท้องถิ่นซึ่งมีผู้นามาจากการเลือกตั้งมีประโยชน์เริ่มตั้งแต่การกระตุ้นความสนใจของ ประชาชน และการที่ผู้นาเหล่านั้นมาจากการเลือกตั้งเสนอนโยบายให้ประชาชนได้ ทราบ ได้คิด ถกเถียงและตัดสินใจเลือก ย่อมส่งเสริมให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมใน การปกครองท้องถิ่นมากขึ้น ประการทีสอง ก่อให้เกิดความรับผิดชอบของผู้นาต่อประชาชน ่ (Account ability) ที่ผ่านมาคาว่า Accountability เป็นคาที่ไม่ค่อยปรากฎใน สังคมไทย แต่เป็นคาที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในสังคมประชาธิปไตยตะวันตก เพราะว่าคานี้หมายถึงพันธะสัญญาหรือความรับผิดชอบในทางการเมืองที่ผู้มาจากการ เลือกตั้งมีต่อผู้เลือกตั้ง เนื่องจากว่าประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งตัวแทนของตนตัวแทน เหล่านั้นจึงจะต้องมีความรับผิดชอบในแง่ที่ว่า ตัวเขาเข้าไปทางานอะไร ผลของงาน เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือส่วนตัว ต้องอธิบายได้ว่าทาไมต้องทาเช่นนั้น ประการทีสาม การปกครองท้องถิ่นที่เข้มแข็งจะขจัดระบบเผด็จการของ ่ รัฐบาล กล่าวคือ เมื่อมีการกระจายอานาจมากขึ้น ท้องถิ่นเข้มแข็ง การยึดอานาจและ การใช้อานาจเผด็จการจากส่วนกลางก็จะเป็นไปได้ยาก ประการทีสี่ การเมืองท้องถิ่นเป็นเวทีสร้างนักการเมืองระดับชาติ การ ่ เรียนรู้ทางการเมืองในท้องถิ่นทาให้คุณภาพของนักการเมืองระดับชาติสูงขึ้น
  • 16. 16 ประการทีห้า การสร้างประชาธิปไตยหรือการพัฒนาการเมืองที่มั่นคง ่ จะต้องเริ่มจากการสร้างประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่นก่อน จากนั้นจึงขยายไป ระดับประเทศ ประการทีหก การปกครองท้องถิ่นทาให้เกิดการเข้าสู่ทางการเมืองของ ่ ประชาชน ( Politicization ) เมื่อมีการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น ทาให้มีกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการเมือง และประชาชนก็จะเกิดความผูกพัน และใส่ใจการเมืองมากขึ้น เพราะการบริหารกิจการท้องถิ่นมีผลกระทบโดยตรงต่อผลประโยชน์ของประชาชน
  • 17. 17 ใบงานที่ 1 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง ความหมาย ของการปกครองส่วนท้องถิ่นจาก นักวิชาการท่านอื่นๆอย่างน้อย 2 ความหมาย 1.1 จอห์น เจ. คลาร์ก (John J. Clark) หน่วยการปกครองที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการให้บริการ ประชาชนในเขตพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง และหน่วยการปกครองดังกล่าวจะจัดตั้งและ อยู่ในความดูแลของรัฐบาลกลาง 1.2 อุทัย หิรัญโต การปกครองที่รัฐบาลมอบอานาจให้ประชาชนในท้องถิ่นใดท้องถิ่น หนึ่งจัดการปกครอง และดาเนินกิจการบางอย่าง โดยดาเนินการกันเองเพื่อบา บัดความต้องการของตน 1.3 ประทาน คงฤทธิศึกษาการ ระบบการปกครองที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระจายอานาจ ทางการปกครองของรัฐ และโดยนัยนี้จะเกิดองค์การทาหน้าที่ปกครองท้องถิ่น โดยคนในท้องถิ่น นั้น ๆ
  • 18. 18 ทดสอบ หน่วยที่ 1 ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้วทาเครื่องหมาย ลงใน กระดาษคาตอบที่แจกให้ 1. ข้อใดให้ความหมายของ “การปกครองท้องถิ่นไทย” ได้ถูกต้องที่สุด ก. มีองค์กรในการปกครอง ข. มีอานาจปกครองตนเอง ค. การมีส่วนร่วมของประชาชน ง. รัฐจัดตั้งขึ้นและมีสิทธิตามกฎหมาย 2. มีองข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการปกครองท้องถิ่น ก. สร้างผู้นาท้องถิ่น ข. เพิ่มภาระให้รัฐบาล ค. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ง. ตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง 3. ข้อใดถูกต้องที่สุด ก. หลักการรวมอานาจ คือการมอบอานาจการปกครอง ข. หลักการกระจายอานาจ คือการแบ่งอานาจวินิจฉัยสั่งการ ค. หลักการแบ่งอานาจ คือการมอบอานาจบางส่วนให้แก่องค์กร ง. หลักการกระจายอานาจ คือการมอบอานาจการปกครองบางส่วน ให้แก่องค์การ 4. การปกครองท้องถิ่นประเทศใดมีลักษณะคล้ายกับประเทศไทยมากที่สุด ก. ฝรั่งเศส ข. อังกฤษ ค. ญี่ปุ่น ง. เยอรมัน 5. การบริหารราชการแผ่นดินของไทยในปัจจุบันมีวิวัฒนาการมาจากการปฏิรูป การบริหารราชการแผ่นดินในสมัยรัชกาลใด ก. รัชกาลที่ 5 ข. รัชกาลที่ 6 ค. รัชกาลที่ 7 ง. รัชกาลที่ 9
  • 19. 19 6. ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบการบริหารราชการไทย ก. การบริหารส่วนกลาง/ส่วนท้องถิ่น ข. การบริหารส่วนกลาง/ภูมิภาค/ท้องถิ่น ค. การบริหารส่วนท้องถิ่น/ส่วนภูมิภาค/ส่วนกลาง ง. การบริหารส่วนภูมิภาค/ ส่วนท้องถิ่น/ส่วนกลาง 7. ข้อใดเป็นหลักการ การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นของไทย ก. การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น ข. การใช้หลักการกระจายอานาจ ค. ประชาชนมีอานาจในการตัดสินใจ ง. การใช้หลักการกระจายอานาจให้แก่ประชาชนโดยตรง 8. ข้อใด คือรูปแบบการปกครองท้องถิ่นของไทย ก. มี 3 รูปแบบ ข. มี 4 รูปแบบ ค. มี 5 รูปแบบ ง. มี 6 รูปแบบ 9. โครงสร้างและองค์ประกอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ถูกต้องคือข้อใด ก. ฝ่ายบุคลากรและนิติกร ข. ฝ่ายบริหารและการคลัง ค. ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร ง. ฝ่ายนิติบัญญัติและสานักงานปลัด 10. การกากับดูแลขององค์การบริหารส่วนตาบล กฎหมายกาหนดให้ใครเป็นผู้ กากับดูแล ก. นายกองค์การบริหารส่วนตาบล ข. ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล ค. นายอาเภอและผู้ว่าราชการจังหวัด ง. ประชาชนและข้าราชการในท้องถิ่น
  • 20. 20 ตอนที่ 2 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ จากความหมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญของการ ปกครองท้องถิ่นมาให้เข้าใจพอสังเขป แนวคาตอบ สรุปสาระสาคัญของการปกครองท้องถิ่น ๑.มีรูปแบบหน่วยการปกครองตามความแตกต่างของความเจริญ ประชากร ขนาดพื้นที่ และวัฒนธรรม ๒.มีอานาจอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม ๓.มีสิทธิทางกฎหมายที่จะดาเนินการปกครองด้วยตัวเองโดยแบ่งเป็น ๓.๑.สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้องบังคับต่าง ๆ ขององค์กร ปกครองท้องถิ่น ๓.๒.สิทธิในการกาหนดงบประมาณ เพื่อบริหารกิจการตามอานาจ หน้าที่ที่มีอยู่ ๔. มีองค์กรที่จาเป็นในการบริหารและปกครองตนเอง คือ มีองค์กรฝ่าย บริหาร และองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ ๕.ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น ...................................................................................................................