SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง	 การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่
	 ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
ปีที่พิมพ์	 กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
จำ�นวนหน้า 	 ๕๗ หน้า
พิมพ์ครั้งที่ ๑ 	จำ�นวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เล่ม
จัดทำ�โดย	 กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำ�นักประชาสัมพันธ์
	 สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
	 ถนนประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐
	 โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๑-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๒
ข้อมูล	 นางฐิติรัตน์  สมศิริวัฒนา
พิมพ์ข้อมูล	 นางสาวเสาวลักษณ์  ธนชัยอภิภัทร
ศิลปกรรม	 นายมานะ  เรืองสอน
พิมพ์ที่	 สำ�นักการพิมพ์
	 สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
คำ�นำ�
	 จุลสาร  เรื่อง  “การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจ
หน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน”  ฉบับนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อเผยแพร่
ความรู้ความเข้าใจให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน
ทั่วไป  ซึ่งปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ได้เข้ามามีบทบาท
ในการดูแลประชาชนในท้องถิ่นตามอำ�นาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญ  ฯ  ส่วนกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน  ซึ่งถือว่าเป็นตัวแทน
ระหว่างรัฐบาลกับประชาชน  ก็ยังคงเป็นกลไกสำ�คัญของรัฐ  และ
มีบทบาทการทำ�งานด้านการปกครองในการช่วยเหลือประชาชน 
ซึ่งจะต้องประสานการทำ�งานอย่างใกล้ชิดกับองค์กรปกครอง      
ส่วนท้องถิ่นในด้านต่างๆ  เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการ      
อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะทำ�ให้ ท้องถิ่นมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น
	 สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  หวังเป็นอย่างยิ่ง
ว่าจุลสารฉบับนี้จะช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบทบาทของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
ให้แก่ผู้สนใจได้มากยิ่งขึ้น
                             สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
                                        กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
สารบัญ
การปกครองส่วนท้องถิ่นและบทบาทของกำ�นัน
	 และผู้ใหญ่บ้าน	 ๗
	 ความนำ�		 ๗
	 ความหมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น	 ๙
	 วัตถุประสงค์ของการปกครองส่วนท้องถิ่น	 ๑๔
	 ความสำ�คัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น	 ๑๖
	 การปกครองส่วนท้องถิ่นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ
	 	 ปี ๒๕๕๐	 ๑๘
	 หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น	 ๒๘
	 การจัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันของไทย	 ๓๐
	 	 ๑.	องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)	 ๓๐
	 	 ๒.	เทศบาล	 ๓๓
	 	 ๓.	องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อบต.)	 ๓๕
	 	 ๔.	กรุงเทพมหานคร (กทม.)	 ๓๙
	 	 ๕.	เมืองพัทยา	 ๔๐
	 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น	 ๔๓
	 กำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน	 ๔๕
	 การเข้าสู่ตำ�แหน่งของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน 	 ๔๗
	 อำ�นาจหน้าที่ของกำ�นัน	 ๔๙
	 อำ�นาจหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้าน	 ๕๐
บทสรุป		 	 ๕๔
บรรณานุกรม	 ๕๖
7การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่
ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
ความนำ�
	 นับจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ.  ๒๕๔๐ 
ที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับ  การปกครองส่วนท้องถิ่น  ในหมวดที่  ๙ 
จนกระทั่งถึงรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ที่ได้บัญญัติไว้ในหมวด ๑๔ 
การปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นนับว่ามีความสำ�คัญกับประชาชน         
เพราะเป็นการกระจายอำ�นาจให้ประชาชนในท้องถิ่นต่าง  ๆ  ได้
เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองได้มากขึ้น  เพิ่มช่องทางในการ
บริหารและสร้างนักการเมืองระดับท้องถิ่นเพื่อนำ�ไปสู่การปกครอง
ระดับชาติต่อไป  การปกครองส่วนท้องถิ่นยังเป็นหลักการ                  
ที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยดังที่กล่าว  คือ  เป็นการ
กระจายอำ�นาจ  มุ่งเน้นให้ประชาชนรู้จักหน้าที่  รักและหวงแหน
ชุมชนที่ตนอยู่อาศัย  เพราะถ้าเกิดปัญหาในท้องถิ่นใด  คนใน      
ท้องถิ่นนั้นย่อมที่จะรู้สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดปัญหาได้
มากกว่าคนนอกพื้นที่  การแก้ไขปัญหาก็จะตรงจุดและมี
ประสิทธิภาพ  รวมทั้งประชาชนยังร่วมตรวจสอบการทำ�งานของ
นักการเมืองท้องถิ่นหรือฝ่ายบริหารเพื่อให้เกิดความโปร่งใส      
ตามหลักการตรวจสอบและถ่วงดุลอำ�นาจและนำ�ไปสู่การบริหาร
บ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลต่อไป
8
	 ในกรณี  กำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน  ที่มีความเป็นมายาวนาน
และใกล้ชิดกับประชาชนเช่นเดียวกันกับการปกครองส่วนท้องถิ่น 
โดยกำ�นันและผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้ช่วยเหลือนายอำ�เภอ  (ในระบบ
บริหารราชการส่วนภูมิภาค)  บทบาทของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน 
จึงมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนในท้องถิ่น  ทั้งในด้านการดูแล
ประชาชน  การรักษาความสงบเรียบร้อย  และหากเกิดกรณี        
ข้อพิพาท  กำ�นันและผู้ใหญ่บ้านก็มีหน้าที่ไกล่เกลี่ยประนีประนอม
เพื่อหาข้อยุติ  หรือ  “บำ�บัดทุกข์บำ�รุงสุข”  ของประชาชน 
นอกจากนี้  กำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน  ยังมีอำ�นาจหน้าที่  ตาม          
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่  พ.ศ.  ๒๔๕๗  (แก้ไข
เพิ่มเติม  ฉบับที่ ๑๒) อีกด้วย
9การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
ความหมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น
	 ความหมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น  ได้มีผู้ที่ให้
ความหมายไว้หลายคน  ส่วนใหญ่แล้วมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน
อาจแตกต่างไปในรายละเอียด  ดังนี้
	 เดเนียล  วิท (Daniel  Wit, 1967 : 101 – 103) นิยามว่า 
การปกครองส่วนท้องถิ่น  หมายถึง  การปกครองที่รัฐบาลกลางให้
อำ�นาจ  หรือกระจายอำ�นาจไปให้หน่วยการปกครองท้องถิ่น  
เปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีโอกาสในการปกครองร่วม
กันทั้งหมด  หรือบางส่วนในการบริหารท้องถิ่น  ตามหลักการที่ว่า
ถ้าอำ�นาจการปกครองมาจากประชาชนในท้องถิ่นแล้ว  รัฐบาล
ของท้องถิ่นก็ย่อมเป็นรัฐบาลของประชาชนโดยประชาชนและเพื่อ
ประชาชน  ดังนั้น  การบริหารการปกครองท้องถิ่นจึงจำ�เป็นต้องมี
องค์กรของตนเองอันเกิดจากการกระจายอำ�นาจของรัฐบาลกลาง 
โดยให้องค์กรอันมิได้เป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาล  มีอำ�นาจในการ
ตัดสินใจและบริหารงานภายในท้องถิ่นในเขตอำ�นาจของตน
	 จอห์น  เจ. คลาร์ก (John J. Clark,  1957 : 87 – 89)
นิยามว่า  การปกครองส่วนท้องถิ่น  หมายถึง  หน่วยการปกครอง
ที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนในเขต
พื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดโดยเฉพาะ  และหน่วยการปกครองดังกล่าวนี้จัด
ตั้งและจะอยู่ในความดูแลของรัฐบาลกลาง
	 แฮรีส  จี.  มอนตากู  (Harris  G.  Montagu,  1984  : 574) 
นิยามว่า  การปกครองส่วนท้องถิ่น  หมายถึง  การปกครองซึ่ง
หน่วยการปกครองท้องถิ่นได้มีการเลือกตั้งโดยอิสระ  เพื่อเลือก
10
ผู้ที่มีหน้าที่บริหารการปกครองท้องถิ่น  มีอำ�นาจอิสระ  พร้อม
ความรับผิดชอบซึ่งตนสามารถที่จะใช้ได้โดยปราศจากการควบคุม          
ของหน่วยการบริหารราชการส่วนกลางหรือภูมิภาค  แต่ทั้งนี้
หน่วยการปกครองท้องถิ่นยังต้องอยู่ภายใต้บทบังคับว่าด้วย
อำ�นาจสูงสุดของประชาชน  ไม่ได้กลายเป็นรัฐอิสระใหม่แต่        
อย่างใด
	 ประทาน  คงฤทธิศึกษาการ  (๒๕๒๔  :  ๑๕)  นิยามว่า 
การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นระบบการปกครองที่เป็นผลสืบเนื่อง
มาจากการกระจายอำ�นาจทางการปกครองของรัฐ  และโดยนัยนี้
จะเกิดองค์การทำ�หน้าที่ปกครองท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่นนั้น  ๆ 
องค์การนี้  จัดตั้งและถูกควบคุมโดยรัฐบาล  แต่ก็มีอำ�นาจการ
กำ�หนดนโยบายและควบคุมให้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบาย
ของตนเอง
	 รศ.ดร.สมคิด  เลิศไพฑูรย์  (๒๕๔๗  :  ๔-๕) นิยามว่า 
การปกครองส่วนท้องถิ่น  คือ  การให้คนในท้องถิ่นมีอิสระในการ
ปกครองตนเอง  กล่าวอีกนัยหนึ่ง  คือ  การปกครองตนเองโดย
ประชาชนในท้องถิ่น  ซึ่งแนวคิดดังกล่าวมีพื้นฐานจากหลักการ
กระจายอำ�นาจการปกครอง  (Decentralization)  ที่หมายถึง
การที่รัฐมอบอำ�นาจการปกครองให้องค์กรอื่น  ๆ  ที่ไม่ใช่องค์กร
ส่วนกลางจัดทำ�บริการสาธารณะบางอย่างภายใต้การกำ�กับดูแล
ของรัฐ
	 อุทัย  หิรัญโย  (๒๕๒๓  :  ๒)  นิยามว่า  การปกครอง
ส่วนท้องถิ่น คือ การปกครองที่รัฐบาลมอบอำ�นาจให้ประชาชนใน
11การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
ท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งจัดการปกครองและดำ�เนินกิจการบางอย่าง 
โดยดำ�เนินการกันเองเพื่อบำ�บัดความต้องการของตน  การบริหารงาน
ของท้องถิ่นมีการจัดเป็นองค์การมีเจ้าหน้าที่ซึ่งประชาชนเลือกตั้ง
ขึ้นมาทั้งหมดหรือบางส่วนมีความเป็นอิสระในการบริหารงาน        
แต่รัฐบาลต้องควบคุมด้วยวิธีการต่าง  ๆ  ตามความเหมาะสม      
จะปราศจากการควบคุมของรัฐหาได้ไม่  เพราะการปกครอง       
ท้องถิ่นเป็นสิ่งที่รัฐทำ�ให้เกิดขึ้น
	 จากที่กล่าวมานั้น  พอสรุปถึงความหมายสำ�คัญของการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ดังนี้
	 ๑.	การปกครองส่วนท้องถิ่น  หมายถึง  การจัดการ
ปกครองท้องถิ่นของคนในท้องถิ่น  การจัดการดังกล่าวกระทำ�โดย
การเลือกบุคคลหรือคณะบุคคลเข้ามาดำ�เนินการปกครอง  ซึ่ง
ท้องถิ่นและชุมชนแต่ละชุมชนดังกล่าว  อาจจะมีลักษณะเฉพาะที่
แตกต่างกันทั้งในด้านพื้นที่  จำ�นวนประชากร  ความเจริญมั่งคั่ง
(เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย  ได้แก่  องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด  เทศบาล  องค์การบริหารส่วนตำ�บลกรุงเทพมหานคร 
และเมืองพัทยา)  ทำ�ให้ท้องถิ่นแต่ละท้องถิ่นมีลักษณะการ
ปกครองที่มีลักษณะเฉพาะ
	 ๒.	หน่วยการปกครองท้องถิ่นจะต้องมีอำ�นาจอิสระ 
(Autonomy)  ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม  กล่าวคือ
อำ�นาจของหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นจะต้องมีขอบเขต
ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยการ
ปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างแท้จริง  หากมีอำ�นาจมากเกินไป 
12
หน่วยงานท้องถิ่นนั้น  ก็จะกลายสภาพเป็นรัฐอธิปไตยเองซึ่งจะ
กระทบต่อความมั่นคงของชาติ  อำ�นาจของท้องถิ่นมีขอบเขตที่
แตกต่างกันออกไปตามลักษณะของความเจริญของแต่ละท้องถิ่น
นั้นเป็นสำ�คัญ
	 ๓.	หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีสิทธิตาม
กฎหมายที่จะดำ�เนินการปกครองตนเอง  โดยแบ่งสิทธิออกเป็น ๒
ประการ คือ
	 		 ๓.๑		 สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับ
ต่าง  ๆ  ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
	 		 ๓.๒		 สิทธิที่จะกำ�หนดงบประมาณ  เพื่อบริหาร
กิจการตามอำ�นาจหน้าที่
13การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 ๔.	มีองค์กรที่จำ�เป็นในการบริหารและการปกครองตนเอง 
คือ  มีองค์กรฝ่ายบริหารและองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ  (เช่น
การปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาล  จะมีคณะเทศมนตรีเป็น
ฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ  หรือ  ในแบบ
มหานคร  คือกรุงเทพมหานคร  จะมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
เป็นฝ่ายบริหาร  และสภากรุงเทพมหานครเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ
เป็นต้น)
	 ๕.	ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น
จากหลักการที่ว่าประชาชนในท้องถิ่นรู้ปัญหาของตนเองดีกว่า
องค์กรของรัฐส่วนกลาง  หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นจึงจำ�เป็น
ต้องมีคนในท้องถิ่นมาบริหารงาน  เพื่อจะได้แก้ปัญหาของ
ประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง  ส่งเสริมประชาชนในท้องถิ่น
ให้เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อพัฒนาการกระจายอำ�นาจ
ตามวิถีของแนวทางระบอบประชาธิปไตย
14
วัตถุประสงค์ของการปกครองส่วนท้องถิ่น
	 ชูวงศ์ ฉายะบุตร (๒๕๓๙ : ๒๖) ได้จำ�แนกวัตถุประสงค์
ของการปกครองส่วนท้องถิ่นไว้ดังนี้
	 ๑.	ช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาล  เป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดว่า
ในการบริหารประเทศ  จะต้องอาศัยเงินงบประมาณเป็นหลัก
หากเงินงบประมาณจำ�กัด  ภารกิจที่จะต้องบริการให้กับชุมชน
ต่างๆ  อาจไม่เพียงพอ  ดังนั้นหากจัดให้มีการปกครองส่วน        
ท้องถิ่น  หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ  ก็สามารถมีรายได้
มีเงินงบประมาณของตนเองเพียงพอที่จะดำ�เนินการสร้างสรรค์ 
ความเจริญให้กับท้องถิ่นได้  จึงเป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐบาล
ได้เป็นอย่างมาก  การแบ่งเบานี้เป็นการแบ่งเบาทั้งในด้านการเงิน 
ตัวบุคคล  ตลอดจนเวลาที่ใช้ในการดำ�เนินการ
	 ๒.	เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในท้อง
ถิ่นอย่างแท้จริง  เนื่องจากประเทศมีขนาดกว้างใหญ่ความต้องการ
ของประชาชนในแต่ละท้องที่  ย่อมมีความแตกต่างกัน  การรอรับ
การบริการจากรัฐบาลแต่อย่างเดียว  อาจไม่ตรงตามความต้องการ
ที่แท้จริงและล่าช้า  หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีประชาชน
ในท้องถิ่นเป็นผู้บริหารเท่านั้น  จึงจะสามารถตอบสนองความ
ต้องการนั้นได้
	 ๓.	เพื่อความประหยัด  โดยที่ท้องถิ่นแต่ละแห่งมีความ
แตกต่างกัน  สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนก็ต่างไปด้วย       
การจัดตั้งหน่วยปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นจึงมีความจำ�เป็น  โดยให้
อำ�นาจหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บภาษีอากร  ซึ่งเป็น
15การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
วิธีการหารายได้ให้กับท้องถิ่นเพื่อนำ�ไปใช้ในการบริหารกิจการ
ของท้องถิ่น  ทำ�ให้ประหยัดเงินงบประมาณของรัฐบาล  ที่จะต้อง
จ่ายให้กับท้องถิ่นทั่วประเทศเป็นอันมาก  และแม้จะมีการจัดสรร
เงินงบประมาณจากรัฐบาลไปให้บ้างแต่ก็มีเงื่อนไขที่กำ�หนดไว้
อย่างรอบคอบ
	 ๔.	เพื่อให้หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถาบันที่
ให้การศึกษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยแก่ประชาชน  จาก
การที่การปกครองส่วนท้องถิ่น  เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ในการปกครองตนเอง  ไม่ว่าจะโดยการสมัครรับเลือกตั้งเพื่อให้
ประชาชนในท้องถิ่นเลือกเข้าไปทำ�หน้าที่ฝ่ายบริหาร  หรือฝ่าย
นิติบัญญัติของหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นก็ตาม  การปฏิบัติ 
หน้าที่ที่แตกต่างกันนี้มีส่วนในการส่งเสริมการเรียนรู้ถึง
กระบวนการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระดับชาติได้เป็น
อย่างดี
16
ความสำ�คัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น
	 เมื่อกล่าวถึงการปกครองส่วนท้องถิ่นและเพื่อเป็น
การดำ�เนินการให้สอดคล้องกับแนวคิดของการกระจายอำ�นาจ 
(Decentralization)  ตามระบอบประชาธิปไตย  ดังนั้น  จึงพอ
สรุปความสำ�คัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ดังนี้
	 ๑.	การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นรากฐานของการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตย  เพราะถือว่าเป็นการให้ประชาชนรู้จัก
การเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง  รู้จักใช้สิทธิและหน้าที่ในการ
เป็นพลเมือง  เพื่อนำ�ไปสู่การเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่
สมบูรณ์
17การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 ๒.	การปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนในท้องถิ่นหรือชุมชนได้ตรงเป้าหมายและมี
ประสิทธิภาพ  เนื่องจากประชาชนในท้องถิ่นย่อมที่จะรู้ปัญหาได้ดี
กว่าคนนอกพื้นที่  ส่งผลให้การแก้ปัญหาเป็นไปโดยประสิทธิภาพ
	 ๓.	การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นการแบ่งเบาภาระของ
รัฐบาล  เพราะแต่เดิมรัฐบาลดำ�เนินกิจการเกี่ยวกับการปกครอง
หรือการบริการสาธารณะเอง  เมื่อมอบอำ�นาจบางส่วนให้กับ
องค์กรอื่นแล้วภาระของรัฐบาลจึงลดลง  แต่ทั้งนี้ภายใต้การกำ�กับ
ดูแลของรัฐบาลด้วย
	 ๔.	การปกครองส่วนท้องถิ่นจะเป็นแหล่งสร้างผู้นำ�ทาง  
การเมือง  เนื่องจากการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นกำ�หนดให้มี                   
การเลือกตั้งคณะบุคคลเข้ามาบริหารงานในท้องถิ่นนั้น  ดังนั้น              
จึงเป็นการส่งเสริมให้บุคคลเข้ามาร่วมดำ�เนินงานทางการเมือง  
การปกครองเพื่อสร้างนักการเมืองสู่การบริหารประเทศในอนาคต
	 ๕.	การปกครองส่วนท้องถิ่นจะทำ�ให้ประชาชนรู้จักการ
ปกครองตนเอง  เมื่อประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมทาง
การเมืองแล้ว  จะทำ�ให้คนในท้องถิ่นนั้นตระหนักถึงคุณค่าและเกิด
จิตสำ�นึกที่ดีในการรักษาผลประโยชน์ของชุมชน  นอกจากนั้น
คนในชุมชนยังสามารถเข้ามาแก้ไขปัญหาเพราะรู้จักปัญหาได้          
ดีกว่า  เข้ามาร่วมตรวจสอบเป็นการถ่วงดุลอำ�นาจ
18
การปกครองส่วนท้องถิ่นตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญฯ ปี ๒๕๕๐
	 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  ๒๕๕๐
บัญญัติไว้ในหมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อกำ�หนดหลัก
การปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่น ไว้ดังนี้
	 มาตรา ๒๘๑ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ รัฐจะต้องให้ความ
เป็นอิสระแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครอง
ตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น  และส่งเสริมให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำ�บริการ
สาธารณะ  และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในพื้นที่
	 ท้องถิ่นใดมีลักษณะที่จะปกครองตนเองได้ ย่อมมีสิทธิจัด
ตั้งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
	 มาตรา ๒๘๒ การกำ�กับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ต้องทำ�เท่าที่จำ�เป็นและมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ชัดเจน
สอดคล้องและเหมาะสมกับรูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
ทั้งนี้  ตามที่กฎหมายบัญญัติ  โดยต้องเป็นไปเพื่อการคุ้มครอง
ประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นหรือของประเทศเป็นส่วนรวม
และจะกระทบถึงสาระสำ�คัญแห่งหลักการปกครองตนเองตาม
เจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น  หรือนอกเหนือจากที่
กฎหมายบัญญัติไว้มิได้
	 มาตรา  ๒๘๓  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำ�นาจ
หน้าที่โดยทั่วไปในการดูแลและจัดทำ�บริการสาธารณะเพื่อ
ประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น  และย่อมมีความเป็นอิสระ
19การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
ในการกำ�หนดนโยบาย  การบริหาร  การจัดบริการสาธารณะ 
การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอำ�นาจหน้าที่ของ
ตนเองโดยเฉพาะ  โดยต้องคำ�นึงถึงความสอดคล้องกับการพัฒนา
ของจังหวัดและประเทศเป็นส่วนรวมด้วย
	 ความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
	 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมได้รับการส่งเสริมและ
สนับสนุนให้มีความเข้มแข็งในการบริหารงานได้โดยอิสระและตอบ
สนองต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ  สามารถพัฒนาระบบการคลังท้องถิ่นให้จัดบริการ
สาธารณะได้โดยครบถ้วนตามอำ�นาจหน้าที่  จัดตั้งหรือร่วมกันจัด
ตั้งองค์การเพื่อการจัดทำ�บริการสาธารณะตามอำ�นาจหน้าที่  เพื่อ
ให้เกิดความคุ้มค่าเป็นประโยชน์  และให้บริการประชาชนอย่าง  
ทั่วถึง
20
	 ให้มีกฎหมายกำ�หนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำ�นาจ 
เพื่อกำ�หนดการแบ่งอำ�นาจหน้าที่และจัดสรรรายได้ระหว่าง
ราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาคกับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น  และระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเอง  โดย
คำ�นึงถึงการกระจายอำ�นาจเพิ่มขึ้นตามระดับความสามารถของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ  รวมทั้งกำ�หนดระบบ
ตรวจสอบและประเมินผลโดยมีคณะกรรมการประกอบด้วยผู้แทน
หน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง  ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
และผู้ทรงคุณวุฒิโดยมีจำ�นวนเท่ากัน  เป็นผู้ดำ�เนินการให้เป็นไป
ตามกฎหมาย
	 กฎหมายกำ�หนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อำ�นาจ
	 ให้มีกฎหมายรายได้ท้องถิ่น เพื่อกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ใน
การจัดเก็บภาษีและรายได้อื่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
โดยมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมตามลักษณะของภาษีแต่ละชนิด       
การจัดสรรทรัพยากรในภาครัฐ  การมีรายได้ที่เพียงพอกับรายจ่าย
ตามอำ�นาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ โดยคำ�นึง
ถึงระดับขั้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น  สถานะทาง      
การคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  และความยั่งยืนทาง     
การคลังของรัฐ
	 กฎหมายรายได้ท้องถิ่น
	 ในกรณีที่มีการกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่และการจัดสรรรายได้
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้ว  คณะกรรมการตาม
21การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
วรรคสามจะต้องนำ�เรื่องดังกล่าวมาพิจารณาทบทวนใหม่ทุกระยะ
เวลาไม่เกินห้าปี  เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมของการกำ�หนด
อำ�นาจหน้าที่  และการจัดสรรรายได้ที่ได้กระทำ�ไปแล้ว  ทั้งนี้ 
ต้องคำ�นึงถึงการกระจายอำ�นาจเพิ่มขึ้นให้แก่องค์กรปกครอง       
ส่วนท้องถิ่นเป็นสำ�คัญ
	 การดำ�เนินการตามวรรคห้า เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก
คณะรัฐมนตรีและรายงานรัฐสภาแล้ว  ให้มีผลบังคับได้
	 มาตรา  ๒๘๔  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีสภา
ท้องถิ่นและคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
	 สมาชิกสภาท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง
	 คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นให้มาจาก       
การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน  หรือมาจากความเห็นชอบของ
สภาท้องถิ่นให้มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน  หรือมา
จากความเห็นชอบของสภาท้องถิ่น
22
	 การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและคณะผู้บริหารท้องถิ่น
หรือผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน  
ให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ
	 สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่น หรือ ผู้บริหาร
ท้องถิ่น มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละสี่ปี
	 วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง
	 คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นจะเป็น
ข้าราชการซึ่งมีตำ�แหน่งหรือเงินเดือนประจำ�  พนักงานหรือลูกจ้าง
ของหน่วยราชการ  หน่วยงานของรัฐ  หรือรัฐวิสาหกิจหรือของ
ราชการส่วนท้องถิ่น  และจะมีผลประโยชน์ขัดกันกับการดำ�รง
ตำ�แหน่งตามที่กฎหมายบัญญัติมิได้
	 ข้อห้ามของคณะผู้บริหารท้องถิ่น
	 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้มีสิทธิสมัครรับ       
เลือกตั้ง  หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น  
คณะผู้บริหารท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น  ให้เป็นไปตามที่
กฎหมายบัญญัติ
	 ในกรณีที่คณะผู้บริหารท้องถิ่นต้องพ้นจากตำ�แหน่งทั้ง
คณะ  หรือผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำ�แหน่งและจำ�เป็นต้องมีการ
แต่งตั้งคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว 
มิให้นำ�บทบัญญัติวรรคสาม  และวรรคหกมาใช้บังคับ ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
	 การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มี
โครงสร้างการบริหารที่แตกต่างจากที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ให้
23การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
กระทำ�ได้ตามที่กฎหมายบัญญัติ  แต่คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือ          
ผู้บริหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง
	 ให้นำ�บทบัญญัติมาตรา  ๒๖๕  มาตรา  ๒๖๖  มาตรา
๒๖๗ และมาตรา ๒๖๘ มาใช้บังคับกับสมาชิกสภาท้องถิ่นคณะ      
ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณีด้วยโดยอนุโลม
	 มาตรา  ๒๘๕  ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นใดเห็นว่าสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหาร
ท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นผู้ใดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นั้น  ไม่สมควรดำ�รงตำ�แหน่งต่อไป  ให้มีสิทธิลงคะแนนเสียง
ถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ท้องถิ่นผู้นั้นพ้นจากตำ�แหน่ง  ทั้งนี้  จำ�นวนผู้มีสิทธิเข้าชื่อ            
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อการตรวจสอบรายชื่อ  และการลง
คะแนนเสียง ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
	 การลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือ
คณะผู้บริหารท้องถิ่น
	 มาตรา ๒๘๖ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานสภาท้องถิ่นเพื่อให้
สภาท้องถิ่นพิจารณาออกข้อบัญญัติท้องถิ่นได้
	 จำ�นวนผู้มีสิทธิเข้าชื่อ  หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวม
ทั้งการตรวจสอบรายชื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
	 มาตรา ๒๘๗ ประชาชนในท้องถิ่นมีสิทธิมีส่วนร่วมในการ
บริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นต้องจัดให้มีวิธีการที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมดังกล่าว     
ได้ด้วย
24
	 การมีส่วนร่วมในท้องถิ่นของประชาชน
	 ในกรณีที่การกระทำ�ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมี
ผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในท้องถิ่นในสาระ
สำ�คัญ  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องแจ้งข้อมูลรายละเอียดให้
ประชาชนทราบก่อนกระทำ�การเป็นเวลาพอสมควร  และในกรณีที่
เห็นสมควรหรือได้รับการร้องขอจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็น
ก่อนการกระทำ�นั้น  หรืออาจจัดให้ประชาชนออกเสียงประชามติ
เพื่อตัดสินใจก็ได้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
25การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรายงานการดำ�เนินงาน
ต่อประชาชนในเรื่องการจัดทำ�งบประมาณการใช้จ่าย  และผลการ
ดำ�เนินงานในรอบปี  เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ
และกำ�กับการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
	 ในการจัดทำ�งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตามวรรคสาม ให้นำ�บทบัญญัติมาตรา ๑๖๘ วรรคหก มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม
	 มาตรา ๒๘๘ การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการและลูกจ้าง
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ้นจากตำ�แหน่งต้องเป็นไปตาม
ความเหมาะสมและความจำ�เป็นของแต่ละท้องถิ่น  โดยการบริหาร
งานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีมาตรฐาน
สอดคล้องกัน  และอาจได้รับการพัฒนาร่วมกันหรือสับเปลี่ยน
บุคลากรระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันได้  รวมทั้ง
ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการข้าราชการส่วนท้องถิ่น
ซึ่งเป็นองค์กรกลางบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นก่อน  ทั้งนี้      
ตามที่กฎหมายบัญญัติ	
	 การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการและลูกจ้างของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ้นจากตำ�แหน่ง
	 ในการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ต้องมีองค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรมของข้าราชการส่วนท้องถิ่น 
เพื่อสร้างระบบคุ้มครองคุณธรรมและจริยธรรมในการบริหารงาน
บุคคล ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
26
	 คณะกรรมการข้าราชการส่วนท้องถิ่นตามวรรคหนึ่งจะ
ต้องประกอบด้วย  ผู้แทนของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง  ผู้แทน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ผู้แทนข้าราชการส่วนท้องถิ่น
และผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีจำ�นวนเท่ากัน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
	 การโยกย้าย  การเลื่อนตำ�แหน่ง  การเลื่อนเงินเดือนและ
การลงโทษข้าราชการและลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
	 มาตรา  ๒๘๙  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำ�นาจ
หน้าที่บำ�รุงรักษาศิลปะ  จารีตประเพณี  ภูมิปัญญาท้องถิ่น  และ
วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
	 อำ�นาจหน้าที่และสิทธิขององค์กรปกครองส่วน       
ท้องถิ่น
	 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีสิทธิที่จะจัดการศึกษา
อบรม  และการฝึกอาชีพตามความเหมาะสมและความต้องการ
ภายในท้องถิ่นนั้น  และเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอบรม
ของรัฐ  โดยคำ�นึงถึงความสอดคล้องกับมาตรฐานและระบบ        
การศึกษาของชาติ
27การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 การจัดการศึกษาอบรมภายในท้องถิ่นตามวรรคสอง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องคำ�นึงถึงการบำ�รุงรักษาศิลปะ 
จารีตประเพณี  ภูมิปัญญาท้องถิ่น  และวัฒนธรรมอันดีของ         
ท้องถิ่นด้วย
	 มาตรา  ๒๙๐  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำ�นาจ
หน้าที่ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมาย
บัญญัติ
	 การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
	 กฎหมายตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระสำ�คัญ           
ดังต่อไปนี้
	 (๑)	การจัดการ  การบำ�รุงรักษา  และการใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตพื้นที่
	 (๒)	การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบำ�รุงรักษาทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่  เฉพาะในกรณีที่อาจ
มีผลกระทบต่อการดำ�รงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน
28
	 (๓)	การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการ     
หรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพ                       
สิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่
	 (๔)	การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
	 หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
ต้องคำ�นึงถึงกำ�ลังคน  กำ�ลังงาน  งบประมาณขององค์กร  กำ�ลัง
ความสามารถ  เครื่องมือ  อุปกรณ์ต่างๆ  รวมทั้งภาระหน้าที่         
ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำ�นั้นต้องเป็นประโยชน์กับ       
ท้องถิ่นอย่างแท้จริง  ไม่เกินกำ�ลังความสามารถเพราะจะยิ่ง
เป็นการเพิ่มภาระให้ท้องถิ่นมากขึ้นและจะส่งผลเสียต่อท้องถิ่น
มากกว่าผลดีที่จะเกิดขึ้น
	 การกำ�หนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นดำ�เนินการเป็นงานเกี่ยวกับการบริการสาธารณะมี       
ข้อพิจารณา  ดังนี้
	 ๑.	เป็นงานเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  
หรือสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นนั้น  และงานที่เกี่ยวกับความ
สะดวกในชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน  ได้แก่  การสร้างถนน  
สะพาน  สวนสาธารณะ  ประปา  การกำ�จัดขยะมูลฝอย
29การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 ๒.	เป็นงานเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม เช่น การจัดให้มีการ
บริการทางสาธารณสุข  แพทย์หรืออนามัยในชุมชน  ซึ่งเป็นงานที่
มีความสำ�คัญต่อประชาชนในท้องถิ่น
	 ๓.	งานที่เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความปลอดภัย  
เช่น งานดับเพลิง เป็นต้น
	 ๔.	เป็นงานที่เกี่ยวกับพาณิชยกรรมในท้องถิ่น เช่น  การ
จัดการตลาดและงานต่าง  ๆ  ที่มีรายได้โดยสามารถเรียกเก็บค่า
บริการจากประชาชน
30
การจัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันของไทย
	 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ไทยจัดนั้นเป็น  ๕  รูปแบบ
แยกเป็นรูปแบบทั่วไป ๓ รูปแบบ คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด 
(อบจ.)  เทศบาล  องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อบต.) และรูปแบบ
พิเศษ ๒ รูปแบบ คือ กรุงเทพมหานคร  และเมืองพัทยา  ซึ่งจะ
กล่าวในรายละเอียด ดังนี้
	 ๑.	องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
	 องค์การบริหารส่วนจังหวัด  (อบจ.)  ถือเป็นองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุด  และตามพระราชบัญญัติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งถือว่าเป็นกฎหมาย
ฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน  โครงสร้างและองค์ประกอบขององค์การ
บริหารส่วนจังหวัด  ประกอบด้วย  สภาองค์การบริหารส่วน
จังหวัด  ซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ  และนายกองค์การบริหารส่วน
จังหวัด  ซึ่งเป็นฝ่ายบริหาร
	 สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ในจังหวัดหนึ่งให้มีสภา
จังหวัดที่ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้งขึ้นและถือตาม
เกณฑ์จำ�นวนราษฎรแต่ละจังหวัดตามหลักฐานทะเบียนราษฎรที่
ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้ง ดังนี้
	 จังหวัดใดมีราษฎรไม่เกิน  ๕๐๐,๐๐๐  คน  มีสมาชิกสภา
จังหวัดได้ ๒๔ คน
	 จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า  ๕๐๐,๐๐๐  คน  แต่ไม่เกิน
๑,๐๐๐,๐๐๐ คน มีสมาชิกได้ ๓๐ คน
31การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า  ๑,๐๐๐,๐๐๐  คน  แต่ไม่เกิน
๑,๕๐๐,๐๐๐ คน มีสมาชิกได้ ๓๖ คน
	 จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า  ๑,๕๐๐,๐๐๐  คน  แต่ไม่เกิน
๒,๐๐๐,๐๐๐ คน มีสมาชิกได้ ๔๒ คน
	 จังหวัดใดมีราษฎรเกิน  ๒,๐๐๐,๐๐๐  คนขึ้นไปมีสมาชิก
ได้ ๔๘ คน
	 สมาชิกสภาจังหวัดอยู่ในตำ�แหน่งได้คราวละ  ๔  ปี  ให้
สภาจังหวัดเลือกตั้งสมาชิกสภาเป็นประธานสภา  ๑  คน  และ           
รองประธานสภา ๒ คน
	 นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ซึ่งมีที่มาจากประชาชน
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งภายในจังหวัด  เลือกนายกองค์การบริหาร                
ส่วนจังหวัด  และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด  มีอำ�นาจ      
แต่งตั้งรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตามที่กฎหมาย
กำ�หนด
	 สำ�หรับรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดให้มาจาก
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ดังนี้
	 ในกรณีมีสมาชิก ๔๘ คน ให้มีรองนายกองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดได้ ๔ คน
	 ในกรณีมีสมาชิก  ๓๖  -  ๔๒  คน  ให้มีรองนายก
องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ ๓ คน
	 ในกรณีมีสมาชิก ๒๔  -  ๓๐ คน ให้มีรองนายกองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดได้ ๒ คน
32
	 อำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดตามพระราช
บัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด  พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๔๕ ได้
กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดไว้ดังนี้
	 (๑)	ตราข้อบัญญัติโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย
	 (๒)	จัดทำ�แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  และ
ประสานการจัดทำ�แผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรี
กำ�หนด
	 (๓)	สนับสนุนสภาตำ�บลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่นใน
การพัฒนาท้องถิ่น
	 (๔)	ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ของ
สภาตำ�บลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่น
	 (๕)	แบ่งสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แก่สภา
ตำ�บลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่น
	 (๖)	อำ�นาจหน้าที่ของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการส่วนจังหวัด  พ.ศ.  ๒๔๙๘ เฉพาะภายในเขตสภาตำ�บล
	 (๗)	คุ้มครอง  ดูแล  และบำ�รุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
	 (๗  ทวิ)  บำ�รุงรักษาศิลปะ  จารีตประเพณี  ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
	 (๘)	จัดทำ�กิจการใดๆ  อันเป็นอำ�นาจหน้าที่ของราชการ
ส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด  และกิจการ
นั้นเป็นการสมควรให้ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นร่วมกันดำ�เนินการ
หรือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดจัดทำ�  ทั้งนี้  ตามที่กำ�หนดใน     
กฎกระทรวง
33การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 (๙)	จัดทำ�กิจการอื่นใดตามที่กำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัติ
นี้หรือกฎหมายอื่นกำ�หนดให้เป็นอำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด
	 การปฏิบัติงานตามอำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วน
ท้องถิ่นต้องให้เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน  และให้
คำ�นึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน  ทั้งในการจัดทำ�แผนพัฒนา
องค์การบริหารส่วนจังหวัด  การงบประมาณ  การจัดซื้อจัดจ้าง       
การตรวจสอบ  กระประเมินผลการปฏิบัติงาน  และการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสาร เป็นต้น
	 ๒.	เทศบาล
	 ตามพระราชบัญญัติเทศบาล  พ.ศ.  ๒๔๙๖  ได้แบ่ง
โครงสร้างของเทศบาลออกเป็น ๒ ส่วน คือ สภาเทศบาล และคณะ
เทศมตรี
34
	 สภาเทศบาล  ซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ  คอยควบคุมและ
ตรวจสอบการทำ�งานของฝ่ายบริหารซึ่งเป็นการถ่วงดุลอำ�นาจ
(Check and Balance)  กำ�หนด ให้สภาเทศบาลประกอบด้วย
สมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน  และสมาชิก
สภาเทศบาลอยู่ในตำ�แหน่งได้คราวละ  ๔  ปี  จำ�นวนสมาชิก
สภาเทศบาลจะขึ้นอยู่กับประเภทของเทศบาล กล่าวคือ
	 ๒.๑		 สภาเทศบาลตำ�บล มีสมาชิกทั้งหมด ๑๒ คน
	 ๒.๒ 	สภาเทศบาลเมือง มีสมาชิกทั้งหมด ๑๘ คน
	 ๒.๓ 	สภาเทศบาลนคร มีสมาชิกทั้งหมด ๒๔ คน
	 สภาเทศบาลนั้นมีประธานสภาคนหนึ่ง  และ รองประธาน
สภาคนหนึ่งโดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งมาจากสมาชิก        
สภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาล  ประธานสภามีหน้าที่
ดำ�เนินกิจการของสภาเทศบาลให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ 
การประชุมเทศบาล  บังคับบัญชา  รักษาความสงบ  และเป็น
ตัวแทนสภาในกิจการภายนอก
	 คณะเทศมนตรี  ซึ่งเป็นฝ่ายบริหารของเทศบาล  โดย
คณะเทศมนตรีเลือกมาจากสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งสมาชิก             
สภาเทศบาลมีมติเห็นชอบ  ประกอบด้วยนายกเทศมนตรี  และ
เทศมนตรีอีก ๒ - ๔ คน ตามประเภทของเทศบาล คือ
	 -	 เทศบาลเมืองและเทศบาลตำ�บล  ให้มีเทศมนตรีได้      
๒  คน  ซึ่งเมื่อรวมกับนายกเทศมนตรีเป็นคณะเทศมนตรีแล้ว            
มีจำ�นวน ๓ คน
35การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 -	 เทศบาลนคร  ให้มีเทศมนตรีได้ ๔ คน  ซึ่งเมื่อรวมกับ
นายกเทศมนตรีเป็นคณะเทศมนตรีแล้วมีจำ�นวน ๕ คน  ในกรณีที่
เทศบาลเมืองที่รายได้จากการจัดเก็บปีละ ๒๐ ล้านบาทขึ้นไป  ให้มี
เทศมนตรีเพิ่มขึ้นอีก ๑ คน
	 ๓.	องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อบต.)  
	 รูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังกล่าวนี้  เป็น
องค์กรที่มีจำ�นวนมากที่สุดและมีความใกล้ชิดกับประชาชนใน      
ท้องถิ่นมากที่สุด  มีฐานะเป็นนิติบุคคลและราชการส่วนท้องถิ่น 
จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำ�บลและองค์การบริหารส่วน
ตำ�บล พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๘
36
	 องค์การบริหารส่วนตำ�บลประกอบด้วย  สภาองค์การ
บริหารส่วนตำ�บล  (สภา  อบต.)  และ  คณะผู้บริหารองค์การ
บริหารส่วนตำ�บล  จำ�นวนสมาชิกขององค์การบริหารส่วนตำ�บล
นั้นจะขึ้นอยู่กับจำ�นวนหมู่บ้านในแต่ละองค์การบริหารส่วนตำ�บล
คือ
	 องค์การบริหารส่วนตำ�บลใด มี ๑ หมู่บ้าน  ให้มีสมาชิก
สภาองค์การบริหารส่วนตำ�บล ได้  ๖ คน
	 องค์การบริหารส่วนตำ�บลใด มี ๒ หมู่บ้าน  ให้มีสมาชิก
สภาองค์การบริหารส่วนตำ�บลได้ หมู่บ้านละ ๓ คน รวมเป็น ๖ คน
	 องค์การบริหารส่วนตำ�บลใด มีหมู่บ้านมากกว่า ๒ หมู่บ้าน
ขึ้นไป  ให้มีสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนตำ�บล ได้ หมู่บ้านละ
๒ คน
	 มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ ๔ ปี
	 สำ�หรับคณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำ�บล  ประกอบ
ด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล ๑ คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง
โดยตรงของประชาชน  มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ๔ ปี นับแต่วัน
เลือกตั้ง  และมีอำ�นาจแต่งตั้งรองนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล
ซึ่งมิใช่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำ�บลได้ไม่เกิน ๒ คน รวม
ทั้งอาจแต่งตั้งเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล  ๑  คน
	 อำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลมีอำ�นาจ
หน้าที่ในการพัฒนาตำ�บล  ทั้งในด้านเศรษฐกิจ  สังคมและ
วัฒนธรรม  และมีบทบัญญัติในกฎหมาย  กำ�หนดหน้าที่ของ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลดังนี้
37การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 (๑)	จัดให้มีและบำ�รุงรักษาทางน้ำ�และทางบก
	 (๒)	รักษาความสะอาดของถนน  ทางน้ำ�  ทางเดิน และที่
สาธารณะ รวมทั้งกำ�จัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
	 (๓)	ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
	 (๔)	ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
	 (๕)	ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
	 (๖)	ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และ     
ผู้พิการ
	 (๗)	คุ้มครอง  ดูแล  และบำ�รุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
38
	 (๘)	บำ�รุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
	 (๙)	ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดย
จัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำ�เป็นและสมควร
	 นอกจากนี้  องค์การบริหารส่วนตำ�บลอาจจัดทำ�กิจการ
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บล ดังต่อไปนี้
	 (๑)	ให้มีน้ำ�เพื่อการอุปโภค  บริโภค  และการเกษตร
	 (๒)	ให้มีและบำ�รุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
	 (๓)	ให้มีและบำ�รุงรักษาทางระบายน้ำ�
	 (๔)	ให้มีและบำ�รุงสถานที่ประชุม  การกีฬา  การพักผ่อน
หย่อนใจและสวนสาธารณะ
	 (๕)	ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
	 (๖) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
	 (๗)	บำ�รุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
	 (๘)	การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดิน
	 (๙)	หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหาร
ส่วนตำ�บล
	 (๑๐)	ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
	 (๑๑)	กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
	 (๑๒)	การท่องเที่ยว
	 (๑๓)	การผังเมือง
39การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 ๔.	กรุงเทพมหานคร (กทม.)
	 กรุงเทพมหานคร  หรือ  กทม.  มีฐานะเป็นนิติบุคคลและ
เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ  เนื่องจาก
กรุงเทพมหานคร  เป็นเมืองหลวงและมีความเจริญทางด้าน
เศรษฐกิจ  จึงต้องมีการบริหารจัดการเฉพาะ  ตามที่พระราช
บัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ วาง
หลักเกณฑ์ไว้
	 โครงสร้างของกรุงเทพมหานคร  ประกอบด้วย
	 -	 สภากรุงเทพมหานคร
	 -	 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
	 สภากรุงเทพมหานคร  กรุงเทพมหานครมีสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานคร (ส.ก.) มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนโดยตรง 
และสภากรุงเทพมหานครจะมีประธานสภากรุงเทพมหานคร          
๑  คน  รองประธานสภากรุงเทพมหานคร อีกไม่เกิน ๒ คน  ซึ่ง
สภากรุงเทพมหานครเลือกจากสมาชิกสภาโดยให้ดำ�รงตำ�แหน่ง
วาระละ ๒ ปี
40
	 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารมา
จากการเลือกตั้ง  โดยวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ
	 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีวาระในการดำ�รงตำ�แหน่ง
คราวละ  ๔  ปี  นับแต่วันเลือกตั้ง  การเลือกตั้งผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานครจะกระทำ�ได้เมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกากำ�หนดให้
มีการเลือกตั้งแล้ว  ซึ่งระบุวันเลือกตั้งและระยะเวลารับสมัคร      
เลือกตั้ง
	 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำ�นาจหน้าที่ตาม       
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร             
พ.ศ.  ๒๕๒๘  อาทิ  กำ�หนดนโยบายและบริหารราชการสั่ง
อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร แต่งตั้งและ
ถอดถอนรองผู้ว่าฯ  เลขานุการฯ  ผู้ทรงคุณวุฒิ  ที่ปรึกษาบริหาร
ราชการตามที่คณะรัฐมนตรี  นายกรัฐมนตรี  หรือรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยมอบหมาย  วางระเบียบเพื่อให้งานของ
กรุงเทพมหานครเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
	 ๕.	เมืองพัทยา  
	 เมืองพัทยา  เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  รูปแบบ
พิเศษ  ที่ได้เคยทดลองใช้การจัดการปกครองแบบผู้จัดการเมือง 
(City  Manager)  หรือที่เรียกว่า  Council  and  manager
Form  เพียงแห่งเดียวนับตั้งแต่ปี  พ.ศ.  ๒๕๒๑  เหมือนกับใน
หลายเมืองของสหรัฐอเมริกา  โดยสาระสำ�คัญของรูปแบบนี้  คือ 
แยกความรับผิดชอบระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร
เป็นการให้ได้มาซึ่งผู้บริหารที่เป็นมืออาชีพ
41การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
	 เมืองพัทยาในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการเมืองพัทยา  พ.ศ.  ๒๕๔๒  โครงสร้างเมืองพัทยาคล้ายรูป
แบบเทศบาล  โดยให้มีการเลือกตั้งนายกเมืองพัทยาโดยตรง 
โครงสร้างเมืองพัทยา ประกอบด้วย สภาเมืองพัทยาและนายกเมือง
พัทยา
	 สภาเมืองพัทยา  ทำ�หน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติประกอบ
ด้วยสมาชิกจำ�นวน  ๒๔  คน  ซึ่งเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน
เขตเมืองพัทยา  ดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ  ๔  ปีนับแต่วันเลือกตั้ง  
โดยสภาเมืองพัทยาเลือกประธานสภาเมืองพัทยา ๑ คน และรอง
ประธานสภาเมืองพัทยาจำ�นวน  ๒  คน  แล้วเสนอผู้ว่าราชการ
จังหวัดแต่งตั้ง  ประธานสภาเมืองพัทยาอาจแต่งตั้งเลขานุการ
ประธานสภาเมืองพัทยาและผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาเมือง
42
พัทยาไม่เกินจำ�นวนรองประธานสภาเมืองพัทยา  เพื่อช่วยเหลือ
กิจการที่ได้รับมอบหมาย  และให้ปลัดเมืองพัทยาทำ�หน้าที่
เลขานุการสภาเมืองพัทยา  มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการและ     
การจัดประชุมและงานอื่นใดตามที่สภาเมืองพัทยามอบหมาย
	 นายกเมืองพัทยา  ให้มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจาก
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมืองพัทยา  ให้กระทำ�โดยวิธีออก
เสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ  ดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ  ๔  ปี 
และนายกเมืองพัทยาสามารถแต่งตั้งรองนายกเมืองพัทยาจำ�นวน
ไม่เกิน  ๔ คน
	 นายกเมืองพัทยามีอำ�นาจหน้าที่ ดังนี้
	 ๑.	กำ�หนดนโยบายและรับผิดชอบในการบริหารราชการ
ของเมืองพัทยาให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบัญญัติ และนโยบาย
	 ๒.	สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของเมืองพัทยา
	 ๓.	แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกเมืองพัทยา  เลขานุการ
นายกเมืองพัทยา  ผู้ช่วยเลขานุการนายกเมืองพัทยา  ประธานที่
ปรึกษา  ที่ปรึกษาและคณะที่ปรึกษา
	 ๔.	วางระเบียบเพื่อให้งานของเมืองพัทยาเป็นไปด้วย
ความเรียบร้อย
	 ๕.	ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี  นายกรัฐมนตรี 
รัฐมนตรี  หรือผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย  หรือตามที่กฎหมาย
กำ�หนดให้เป็นอาจหน้าที่ของนายกเมืองพัทยา  หรือนายก
เทศมนตรีหรือคณะเทศมนตรี
43การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น
	 เดิมนั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนมีเพียงการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นเท่านั้น  แต่นับจาก
รัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐  เป็นต้นมาถึงรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้เพิ่ม
บทบาทของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น คือ
	 ๑.	การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ท้องถิ่น  กล่าวคือ  หากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในท้องถิ่นเห็น
ว่าสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
นั้น  ไม่สมควรดำ�รงตำ�แหน่งต่อไป  ให้มีสิทธิลงคะแนนเสียง
ถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นให้พ้นจากตำ�แหน่งได้  (รัฐธรรมนูญ 
มาตรา ๒๘๕)
	 ๒.	การเข้าชื่อเพื่อเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่น  คือ 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีจำ�นวน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน

More Related Content

What's hot

รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...Prawwe Papasson
 
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไขบันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
Kittiphat Chitsawang
 
ppt
pptppt
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
sripayom
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
กวดวิชา บ้านครูจอย
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
โรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
Kansinee Kosirojhiran
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
cm carent
 
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักAlongkorn WP
 
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
Poramate Minsiri
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
ariga sara
 

What's hot (20)

รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
 
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไขบันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ppt
pptppt
ppt
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
 
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
 
บันทึกทัศนะศึกษา
บันทึกทัศนะศึกษาบันทึกทัศนะศึกษา
บันทึกทัศนะศึกษา
 
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่อลงกรณ์ อารามกูล
 
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นรัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นSupakij Paentong
 
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่นkroobannakakok
 
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นkroobannakakok
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
แนวทางการพัฒนา จังหวัด อัจฉริยะต้นแบบ นครนายก
แนวทางการพัฒนา จังหวัด อัจฉริยะต้นแบบ นครนายกแนวทางการพัฒนา จังหวัด อัจฉริยะต้นแบบ นครนายก
แนวทางการพัฒนา จังหวัด อัจฉริยะต้นแบบ นครนายกSurachai Sriviroj
 
สหการ
สหการสหการ
สหการ
Prakasit Meesawat
 
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตยผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
Saiiew Sarana
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
Kongkrit Pimpa
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
Proud N. Boonrak
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
Suradet Sriangkoon
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
Mint NutniCha
 

Viewers also liked (20)

เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
 
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นรัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
 
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทยทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
ทิศทางการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นในยุคปฏิรูปประเทศไทย
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
2. แนวโน้มการปกครองท้องถิ่น
 
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
3 เทศบาล
3 เทศบาล3 เทศบาล
3 เทศบาล
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
คำพิพากษา ศาลาเอนกประสงค์
คำพิพากษา ศาลาเอนกประสงค์คำพิพากษา ศาลาเอนกประสงค์
คำพิพากษา ศาลาเอนกประสงค์
 
แนวทางการพัฒนา จังหวัด อัจฉริยะต้นแบบ นครนายก
แนวทางการพัฒนา จังหวัด อัจฉริยะต้นแบบ นครนายกแนวทางการพัฒนา จังหวัด อัจฉริยะต้นแบบ นครนายก
แนวทางการพัฒนา จังหวัด อัจฉริยะต้นแบบ นครนายก
 
สหการ
สหการสหการ
สหการ
 
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตยผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
 
ซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปีซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปี
 
4. อบต
4.  อบต4.  อบต
4. อบต
 
กรุงเทพ
กรุงเทพกรุงเทพ
กรุงเทพ
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 

More from อลงกรณ์ อารามกูล

ซักซ้อมงบประมาณ 60
ซักซ้อมงบประมาณ 60ซักซ้อมงบประมาณ 60
ซักซ้อมงบประมาณ 60
อลงกรณ์ อารามกูล
 
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะLPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
อลงกรณ์ อารามกูล
 
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังLPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
อลงกรณ์ อารามกูล
 
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาLPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
อลงกรณ์ อารามกูล
 
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการLPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
อลงกรณ์ อารามกูล
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
อลงกรณ์ อารามกูล
 
อาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อาหารจานเดียว สูตรเด็ดอาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อลงกรณ์ อารามกูล
 
อาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อาหารจานเดียว ต้นตำรับอาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อลงกรณ์ อารามกูล
 
คิดเชิงคณิตศาสตร์
คิดเชิงคณิตศาสตร์คิดเชิงคณิตศาสตร์
คิดเชิงคณิตศาสตร์
อลงกรณ์ อารามกูล
 
Six thinking hats th
Six thinking hats thSix thinking hats th
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
อลงกรณ์ อารามกูล
 

More from อลงกรณ์ อารามกูล (20)

คมชัดลึก14 ต.ค.59
คมชัดลึก14 ต.ค.59คมชัดลึก14 ต.ค.59
คมชัดลึก14 ต.ค.59
 
ประวัติย่อของกาลเวลา
ประวัติย่อของกาลเวลาประวัติย่อของกาลเวลา
ประวัติย่อของกาลเวลา
 
รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559
 
ซักซ้อมงบประมาณ 60
ซักซ้อมงบประมาณ 60ซักซ้อมงบประมาณ 60
ซักซ้อมงบประมาณ 60
 
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะLPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
 
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังLPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
 
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาLPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
 
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการLPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
อาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อาหารจานเดียว สูตรเด็ดอาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อาหารจานเดียว สูตรเด็ด
 
อาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อาหารจานเดียว ต้นตำรับอาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อาหารจานเดียว ต้นตำรับ
 
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชนคู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
 
กับข้าวสูตรเด็ด
กับข้าวสูตรเด็ดกับข้าวสูตรเด็ด
กับข้าวสูตรเด็ด
 
คิดเชิงคณิตศาสตร์
คิดเชิงคณิตศาสตร์คิดเชิงคณิตศาสตร์
คิดเชิงคณิตศาสตร์
 
Six thinking hats th
Six thinking hats thSix thinking hats th
Six thinking hats th
 
Maxim มีนาคม 2559
Maxim มีนาคม 2559Maxim มีนาคม 2559
Maxim มีนาคม 2559
 
ศูนย์ถ่ายทอด 47
ศูนย์ถ่ายทอด 47ศูนย์ถ่ายทอด 47
ศูนย์ถ่ายทอด 47
 
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
 
แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59
 
Basic for-golf
Basic for-golfBasic for-golf
Basic for-golf
 

การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน

  • 1.
  • 2.
  • 3. เรื่อง การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ปีที่พิมพ์ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ จำ�นวนหน้า ๕๗ หน้า พิมพ์ครั้งที่ ๑ จำ�นวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เล่ม จัดทำ�โดย กลุ่มงานผลิตเอกสาร สำ�นักประชาสัมพันธ์ สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ถนนประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๑-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๒๙๒ ข้อมูล นางฐิติรัตน์ สมศิริวัฒนา พิมพ์ข้อมูล นางสาวเสาวลักษณ์ ธนชัยอภิภัทร ศิลปกรรม นายมานะ เรืองสอน พิมพ์ที่ สำ�นักการพิมพ์ สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
  • 4. คำ�นำ� จุลสาร  เรื่อง  “การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจ หน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน”  ฉบับนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อเผยแพร่ ความรู้ความเข้าใจให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ทั่วไป  ซึ่งปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ได้เข้ามามีบทบาท ในการดูแลประชาชนในท้องถิ่นตามอำ�นาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ใน รัฐธรรมนูญ  ฯ  ส่วนกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน  ซึ่งถือว่าเป็นตัวแทน ระหว่างรัฐบาลกับประชาชน  ก็ยังคงเป็นกลไกสำ�คัญของรัฐ  และ มีบทบาทการทำ�งานด้านการปกครองในการช่วยเหลือประชาชน  ซึ่งจะต้องประสานการทำ�งานอย่างใกล้ชิดกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในด้านต่างๆ  เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการ อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะทำ�ให้ ท้องถิ่นมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าจุลสารฉบับนี้จะช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบทบาทของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ให้แก่ผู้สนใจได้มากยิ่งขึ้น สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
  • 5. สารบัญ การปกครองส่วนท้องถิ่นและบทบาทของกำ�นัน และผู้ใหญ่บ้าน ๗ ความนำ� ๗ ความหมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น ๙ วัตถุประสงค์ของการปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๔ ความสำ�คัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๖ การปกครองส่วนท้องถิ่นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ ปี ๒๕๕๐ ๑๘ หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๒๘ การจัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันของไทย ๓๐ ๑. องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ๓๐ ๒. เทศบาล ๓๓ ๓. องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อบต.) ๓๕ ๔. กรุงเทพมหานคร (กทม.) ๓๙ ๕. เมืองพัทยา ๔๐ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น ๔๓ กำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ๔๕ การเข้าสู่ตำ�แหน่งของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ๔๗ อำ�นาจหน้าที่ของกำ�นัน ๔๙ อำ�นาจหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้าน ๕๐ บทสรุป ๕๔ บรรณานุกรม ๕๖
  • 6. 7การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ความนำ� นับจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ.  ๒๕๔๐  ที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับ  การปกครองส่วนท้องถิ่น  ในหมวดที่  ๙  จนกระทั่งถึงรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ที่ได้บัญญัติไว้ในหมวด ๑๔  การปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นนับว่ามีความสำ�คัญกับประชาชน เพราะเป็นการกระจายอำ�นาจให้ประชาชนในท้องถิ่นต่าง  ๆ  ได้ เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองได้มากขึ้น  เพิ่มช่องทางในการ บริหารและสร้างนักการเมืองระดับท้องถิ่นเพื่อนำ�ไปสู่การปกครอง ระดับชาติต่อไป  การปกครองส่วนท้องถิ่นยังเป็นหลักการ ที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยดังที่กล่าว  คือ  เป็นการ กระจายอำ�นาจ  มุ่งเน้นให้ประชาชนรู้จักหน้าที่  รักและหวงแหน ชุมชนที่ตนอยู่อาศัย  เพราะถ้าเกิดปัญหาในท้องถิ่นใด  คนใน ท้องถิ่นนั้นย่อมที่จะรู้สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดปัญหาได้ มากกว่าคนนอกพื้นที่  การแก้ไขปัญหาก็จะตรงจุดและมี ประสิทธิภาพ  รวมทั้งประชาชนยังร่วมตรวจสอบการทำ�งานของ นักการเมืองท้องถิ่นหรือฝ่ายบริหารเพื่อให้เกิดความโปร่งใส  ตามหลักการตรวจสอบและถ่วงดุลอำ�นาจและนำ�ไปสู่การบริหาร บ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลต่อไป
  • 7. 8 ในกรณี  กำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน  ที่มีความเป็นมายาวนาน และใกล้ชิดกับประชาชนเช่นเดียวกันกับการปกครองส่วนท้องถิ่น  โดยกำ�นันและผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้ช่วยเหลือนายอำ�เภอ  (ในระบบ บริหารราชการส่วนภูมิภาค)  บทบาทของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน  จึงมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนในท้องถิ่น  ทั้งในด้านการดูแล ประชาชน  การรักษาความสงบเรียบร้อย  และหากเกิดกรณี ข้อพิพาท  กำ�นันและผู้ใหญ่บ้านก็มีหน้าที่ไกล่เกลี่ยประนีประนอม เพื่อหาข้อยุติ  หรือ  “บำ�บัดทุกข์บำ�รุงสุข”  ของประชาชน  นอกจากนี้  กำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน  ยังมีอำ�นาจหน้าที่  ตาม พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่  พ.ศ.  ๒๔๕๗  (แก้ไข เพิ่มเติม ฉบับที่ ๑๒) อีกด้วย
  • 8. 9การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ความหมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น ความหมายของการปกครองส่วนท้องถิ่น  ได้มีผู้ที่ให้ ความหมายไว้หลายคน  ส่วนใหญ่แล้วมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน อาจแตกต่างไปในรายละเอียด ดังนี้ เดเนียล วิท (Daniel Wit, 1967 : 101 – 103) นิยามว่า  การปกครองส่วนท้องถิ่น  หมายถึง  การปกครองที่รัฐบาลกลางให้ อำ�นาจ  หรือกระจายอำ�นาจไปให้หน่วยการปกครองท้องถิ่น  เปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีโอกาสในการปกครองร่วม กันทั้งหมด  หรือบางส่วนในการบริหารท้องถิ่น  ตามหลักการที่ว่า ถ้าอำ�นาจการปกครองมาจากประชาชนในท้องถิ่นแล้ว  รัฐบาล ของท้องถิ่นก็ย่อมเป็นรัฐบาลของประชาชนโดยประชาชนและเพื่อ ประชาชน  ดังนั้น  การบริหารการปกครองท้องถิ่นจึงจำ�เป็นต้องมี องค์กรของตนเองอันเกิดจากการกระจายอำ�นาจของรัฐบาลกลาง  โดยให้องค์กรอันมิได้เป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาล  มีอำ�นาจในการ ตัดสินใจและบริหารงานภายในท้องถิ่นในเขตอำ�นาจของตน จอห์น เจ. คลาร์ก (John J. Clark, 1957 : 87 – 89) นิยามว่า  การปกครองส่วนท้องถิ่น  หมายถึง  หน่วยการปกครอง ที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนในเขต พื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดโดยเฉพาะ  และหน่วยการปกครองดังกล่าวนี้จัด ตั้งและจะอยู่ในความดูแลของรัฐบาลกลาง แฮรีส  จี.  มอนตากู  (Harris  G.  Montagu,  1984  : 574)  นิยามว่า  การปกครองส่วนท้องถิ่น  หมายถึง  การปกครองซึ่ง หน่วยการปกครองท้องถิ่นได้มีการเลือกตั้งโดยอิสระ  เพื่อเลือก
  • 9. 10 ผู้ที่มีหน้าที่บริหารการปกครองท้องถิ่น  มีอำ�นาจอิสระ  พร้อม ความรับผิดชอบซึ่งตนสามารถที่จะใช้ได้โดยปราศจากการควบคุม ของหน่วยการบริหารราชการส่วนกลางหรือภูมิภาค  แต่ทั้งนี้ หน่วยการปกครองท้องถิ่นยังต้องอยู่ภายใต้บทบังคับว่าด้วย อำ�นาจสูงสุดของประชาชน  ไม่ได้กลายเป็นรัฐอิสระใหม่แต่ อย่างใด ประทาน  คงฤทธิศึกษาการ  (๒๕๒๔  :  ๑๕)  นิยามว่า  การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นระบบการปกครองที่เป็นผลสืบเนื่อง มาจากการกระจายอำ�นาจทางการปกครองของรัฐ  และโดยนัยนี้ จะเกิดองค์การทำ�หน้าที่ปกครองท้องถิ่นโดยคนในท้องถิ่นนั้น  ๆ  องค์การนี้  จัดตั้งและถูกควบคุมโดยรัฐบาล  แต่ก็มีอำ�นาจการ กำ�หนดนโยบายและควบคุมให้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบาย ของตนเอง รศ.ดร.สมคิด  เลิศไพฑูรย์  (๒๕๔๗  :  ๔-๕) นิยามว่า  การปกครองส่วนท้องถิ่น  คือ  การให้คนในท้องถิ่นมีอิสระในการ ปกครองตนเอง  กล่าวอีกนัยหนึ่ง  คือ  การปกครองตนเองโดย ประชาชนในท้องถิ่น  ซึ่งแนวคิดดังกล่าวมีพื้นฐานจากหลักการ กระจายอำ�นาจการปกครอง  (Decentralization)  ที่หมายถึง การที่รัฐมอบอำ�นาจการปกครองให้องค์กรอื่น  ๆ  ที่ไม่ใช่องค์กร ส่วนกลางจัดทำ�บริการสาธารณะบางอย่างภายใต้การกำ�กับดูแล ของรัฐ อุทัย  หิรัญโย  (๒๕๒๓  :  ๒)  นิยามว่า  การปกครอง ส่วนท้องถิ่น คือ การปกครองที่รัฐบาลมอบอำ�นาจให้ประชาชนใน
  • 10. 11การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งจัดการปกครองและดำ�เนินกิจการบางอย่าง  โดยดำ�เนินการกันเองเพื่อบำ�บัดความต้องการของตน  การบริหารงาน ของท้องถิ่นมีการจัดเป็นองค์การมีเจ้าหน้าที่ซึ่งประชาชนเลือกตั้ง ขึ้นมาทั้งหมดหรือบางส่วนมีความเป็นอิสระในการบริหารงาน แต่รัฐบาลต้องควบคุมด้วยวิธีการต่าง  ๆ  ตามความเหมาะสม  จะปราศจากการควบคุมของรัฐหาได้ไม่  เพราะการปกครอง ท้องถิ่นเป็นสิ่งที่รัฐทำ�ให้เกิดขึ้น จากที่กล่าวมานั้น  พอสรุปถึงความหมายสำ�คัญของการ ปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ดังนี้ ๑. การปกครองส่วนท้องถิ่น  หมายถึง  การจัดการ ปกครองท้องถิ่นของคนในท้องถิ่น  การจัดการดังกล่าวกระทำ�โดย การเลือกบุคคลหรือคณะบุคคลเข้ามาดำ�เนินการปกครอง  ซึ่ง ท้องถิ่นและชุมชนแต่ละชุมชนดังกล่าว  อาจจะมีลักษณะเฉพาะที่ แตกต่างกันทั้งในด้านพื้นที่  จำ�นวนประชากร  ความเจริญมั่งคั่ง (เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย  ได้แก่  องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด  เทศบาล  องค์การบริหารส่วนตำ�บลกรุงเทพมหานคร  และเมืองพัทยา)  ทำ�ให้ท้องถิ่นแต่ละท้องถิ่นมีลักษณะการ ปกครองที่มีลักษณะเฉพาะ ๒. หน่วยการปกครองท้องถิ่นจะต้องมีอำ�นาจอิสระ  (Autonomy)  ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม  กล่าวคือ อำ�นาจของหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นจะต้องมีขอบเขต ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยการ ปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างแท้จริง  หากมีอำ�นาจมากเกินไป 
  • 11. 12 หน่วยงานท้องถิ่นนั้น  ก็จะกลายสภาพเป็นรัฐอธิปไตยเองซึ่งจะ กระทบต่อความมั่นคงของชาติ  อำ�นาจของท้องถิ่นมีขอบเขตที่ แตกต่างกันออกไปตามลักษณะของความเจริญของแต่ละท้องถิ่น นั้นเป็นสำ�คัญ ๓. หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีสิทธิตาม กฎหมายที่จะดำ�เนินการปกครองตนเอง  โดยแบ่งสิทธิออกเป็น ๒ ประการ คือ ๓.๑ สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับ ต่าง  ๆ  ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๓.๒ สิทธิที่จะกำ�หนดงบประมาณ  เพื่อบริหาร กิจการตามอำ�นาจหน้าที่
  • 12. 13การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ๔. มีองค์กรที่จำ�เป็นในการบริหารและการปกครองตนเอง  คือ  มีองค์กรฝ่ายบริหารและองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ  (เช่น การปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาล  จะมีคณะเทศมนตรีเป็น ฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ  หรือ  ในแบบ มหานคร  คือกรุงเทพมหานคร  จะมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นฝ่ายบริหาร  และสภากรุงเทพมหานครเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นต้น) ๕. ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น จากหลักการที่ว่าประชาชนในท้องถิ่นรู้ปัญหาของตนเองดีกว่า องค์กรของรัฐส่วนกลาง  หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นจึงจำ�เป็น ต้องมีคนในท้องถิ่นมาบริหารงาน  เพื่อจะได้แก้ปัญหาของ ประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง  ส่งเสริมประชาชนในท้องถิ่น ให้เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อพัฒนาการกระจายอำ�นาจ ตามวิถีของแนวทางระบอบประชาธิปไตย
  • 13. 14 วัตถุประสงค์ของการปกครองส่วนท้องถิ่น ชูวงศ์ ฉายะบุตร (๒๕๓๙ : ๒๖) ได้จำ�แนกวัตถุประสงค์ ของการปกครองส่วนท้องถิ่นไว้ดังนี้ ๑. ช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาล  เป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดว่า ในการบริหารประเทศ  จะต้องอาศัยเงินงบประมาณเป็นหลัก หากเงินงบประมาณจำ�กัด  ภารกิจที่จะต้องบริการให้กับชุมชน ต่างๆ  อาจไม่เพียงพอ  ดังนั้นหากจัดให้มีการปกครองส่วน ท้องถิ่น  หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ  ก็สามารถมีรายได้ มีเงินงบประมาณของตนเองเพียงพอที่จะดำ�เนินการสร้างสรรค์  ความเจริญให้กับท้องถิ่นได้  จึงเป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐบาล ได้เป็นอย่างมาก  การแบ่งเบานี้เป็นการแบ่งเบาทั้งในด้านการเงิน  ตัวบุคคล  ตลอดจนเวลาที่ใช้ในการดำ�เนินการ ๒. เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในท้อง ถิ่นอย่างแท้จริง  เนื่องจากประเทศมีขนาดกว้างใหญ่ความต้องการ ของประชาชนในแต่ละท้องที่  ย่อมมีความแตกต่างกัน  การรอรับ การบริการจากรัฐบาลแต่อย่างเดียว  อาจไม่ตรงตามความต้องการ ที่แท้จริงและล่าช้า  หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีประชาชน ในท้องถิ่นเป็นผู้บริหารเท่านั้น  จึงจะสามารถตอบสนองความ ต้องการนั้นได้ ๓. เพื่อความประหยัด  โดยที่ท้องถิ่นแต่ละแห่งมีความ แตกต่างกัน  สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนก็ต่างไปด้วย  การจัดตั้งหน่วยปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นจึงมีความจำ�เป็น  โดยให้ อำ�นาจหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บภาษีอากร  ซึ่งเป็น
  • 14. 15การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน วิธีการหารายได้ให้กับท้องถิ่นเพื่อนำ�ไปใช้ในการบริหารกิจการ ของท้องถิ่น  ทำ�ให้ประหยัดเงินงบประมาณของรัฐบาล  ที่จะต้อง จ่ายให้กับท้องถิ่นทั่วประเทศเป็นอันมาก  และแม้จะมีการจัดสรร เงินงบประมาณจากรัฐบาลไปให้บ้างแต่ก็มีเงื่อนไขที่กำ�หนดไว้ อย่างรอบคอบ ๔. เพื่อให้หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถาบันที่ ให้การศึกษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยแก่ประชาชน  จาก การที่การปกครองส่วนท้องถิ่น  เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการปกครองตนเอง  ไม่ว่าจะโดยการสมัครรับเลือกตั้งเพื่อให้ ประชาชนในท้องถิ่นเลือกเข้าไปทำ�หน้าที่ฝ่ายบริหาร  หรือฝ่าย นิติบัญญัติของหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นก็ตาม  การปฏิบัติ  หน้าที่ที่แตกต่างกันนี้มีส่วนในการส่งเสริมการเรียนรู้ถึง กระบวนการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระดับชาติได้เป็น อย่างดี
  • 15. 16 ความสำ�คัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อกล่าวถึงการปกครองส่วนท้องถิ่นและเพื่อเป็น การดำ�เนินการให้สอดคล้องกับแนวคิดของการกระจายอำ�นาจ  (Decentralization)  ตามระบอบประชาธิปไตย  ดังนั้น  จึงพอ สรุปความสำ�คัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ดังนี้ ๑. การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นรากฐานของการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตย  เพราะถือว่าเป็นการให้ประชาชนรู้จัก การเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง  รู้จักใช้สิทธิและหน้าที่ในการ เป็นพลเมือง  เพื่อนำ�ไปสู่การเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่ สมบูรณ์
  • 16. 17การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ๒. การปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถตอบสนองความ ต้องการของประชาชนในท้องถิ่นหรือชุมชนได้ตรงเป้าหมายและมี ประสิทธิภาพ  เนื่องจากประชาชนในท้องถิ่นย่อมที่จะรู้ปัญหาได้ดี กว่าคนนอกพื้นที่  ส่งผลให้การแก้ปัญหาเป็นไปโดยประสิทธิภาพ ๓. การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นการแบ่งเบาภาระของ รัฐบาล  เพราะแต่เดิมรัฐบาลดำ�เนินกิจการเกี่ยวกับการปกครอง หรือการบริการสาธารณะเอง  เมื่อมอบอำ�นาจบางส่วนให้กับ องค์กรอื่นแล้วภาระของรัฐบาลจึงลดลง  แต่ทั้งนี้ภายใต้การกำ�กับ ดูแลของรัฐบาลด้วย ๔. การปกครองส่วนท้องถิ่นจะเป็นแหล่งสร้างผู้นำ�ทาง การเมือง  เนื่องจากการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นกำ�หนดให้มี การเลือกตั้งคณะบุคคลเข้ามาบริหารงานในท้องถิ่นนั้น  ดังนั้น  จึงเป็นการส่งเสริมให้บุคคลเข้ามาร่วมดำ�เนินงานทางการเมือง การปกครองเพื่อสร้างนักการเมืองสู่การบริหารประเทศในอนาคต ๕. การปกครองส่วนท้องถิ่นจะทำ�ให้ประชาชนรู้จักการ ปกครองตนเอง  เมื่อประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมทาง การเมืองแล้ว  จะทำ�ให้คนในท้องถิ่นนั้นตระหนักถึงคุณค่าและเกิด จิตสำ�นึกที่ดีในการรักษาผลประโยชน์ของชุมชน  นอกจากนั้น คนในชุมชนยังสามารถเข้ามาแก้ไขปัญหาเพราะรู้จักปัญหาได้ ดีกว่า  เข้ามาร่วมตรวจสอบเป็นการถ่วงดุลอำ�นาจ
  • 17. 18 การปกครองส่วนท้องถิ่นตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญฯ ปี ๒๕๕๐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  ๒๕๕๐ บัญญัติไว้ในหมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อกำ�หนดหลัก การปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่น ไว้ดังนี้ มาตรา ๒๘๑ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ รัฐจะต้องให้ความ เป็นอิสระแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครอง ตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น  และส่งเสริมให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำ�บริการ สาธารณะ  และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในพื้นที่ ท้องถิ่นใดมีลักษณะที่จะปกครองตนเองได้ ย่อมมีสิทธิจัด ตั้งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๘๒ การกำ�กับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องทำ�เท่าที่จำ�เป็นและมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ชัดเจน สอดคล้องและเหมาะสมกับรูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ทั้งนี้  ตามที่กฎหมายบัญญัติ  โดยต้องเป็นไปเพื่อการคุ้มครอง ประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นหรือของประเทศเป็นส่วนรวม และจะกระทบถึงสาระสำ�คัญแห่งหลักการปกครองตนเองตาม เจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น  หรือนอกเหนือจากที่ กฎหมายบัญญัติไว้มิได้ มาตรา  ๒๘๓  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำ�นาจ หน้าที่โดยทั่วไปในการดูแลและจัดทำ�บริการสาธารณะเพื่อ ประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น  และย่อมมีความเป็นอิสระ
  • 18. 19การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ในการกำ�หนดนโยบาย  การบริหาร  การจัดบริการสาธารณะ  การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอำ�นาจหน้าที่ของ ตนเองโดยเฉพาะ  โดยต้องคำ�นึงถึงความสอดคล้องกับการพัฒนา ของจังหวัดและประเทศเป็นส่วนรวมด้วย ความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมได้รับการส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีความเข้มแข็งในการบริหารงานได้โดยอิสระและตอบ สนองต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ  สามารถพัฒนาระบบการคลังท้องถิ่นให้จัดบริการ สาธารณะได้โดยครบถ้วนตามอำ�นาจหน้าที่  จัดตั้งหรือร่วมกันจัด ตั้งองค์การเพื่อการจัดทำ�บริการสาธารณะตามอำ�นาจหน้าที่  เพื่อ ให้เกิดความคุ้มค่าเป็นประโยชน์  และให้บริการประชาชนอย่าง ทั่วถึง
  • 19. 20 ให้มีกฎหมายกำ�หนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำ�นาจ  เพื่อกำ�หนดการแบ่งอำ�นาจหน้าที่และจัดสรรรายได้ระหว่าง ราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาคกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น  และระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเอง  โดย คำ�นึงถึงการกระจายอำ�นาจเพิ่มขึ้นตามระดับความสามารถของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ  รวมทั้งกำ�หนดระบบ ตรวจสอบและประเมินผลโดยมีคณะกรรมการประกอบด้วยผู้แทน หน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง  ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  และผู้ทรงคุณวุฒิโดยมีจำ�นวนเท่ากัน  เป็นผู้ดำ�เนินการให้เป็นไป ตามกฎหมาย กฎหมายกำ�หนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อำ�นาจ ให้มีกฎหมายรายได้ท้องถิ่น เพื่อกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ใน การจัดเก็บภาษีและรายได้อื่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  โดยมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมตามลักษณะของภาษีแต่ละชนิด  การจัดสรรทรัพยากรในภาครัฐ  การมีรายได้ที่เพียงพอกับรายจ่าย ตามอำ�นาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ โดยคำ�นึง ถึงระดับขั้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น  สถานะทาง การคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  และความยั่งยืนทาง การคลังของรัฐ กฎหมายรายได้ท้องถิ่น ในกรณีที่มีการกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่และการจัดสรรรายได้ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้ว  คณะกรรมการตาม
  • 20. 21การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน วรรคสามจะต้องนำ�เรื่องดังกล่าวมาพิจารณาทบทวนใหม่ทุกระยะ เวลาไม่เกินห้าปี  เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมของการกำ�หนด อำ�นาจหน้าที่  และการจัดสรรรายได้ที่ได้กระทำ�ไปแล้ว  ทั้งนี้  ต้องคำ�นึงถึงการกระจายอำ�นาจเพิ่มขึ้นให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเป็นสำ�คัญ การดำ�เนินการตามวรรคห้า เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรีและรายงานรัฐสภาแล้ว  ให้มีผลบังคับได้ มาตรา  ๒๘๔  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีสภา ท้องถิ่นและคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นให้มาจาก การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน  หรือมาจากความเห็นชอบของ สภาท้องถิ่นให้มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน  หรือมา จากความเห็นชอบของสภาท้องถิ่น
  • 21. 22 การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและคณะผู้บริหารท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน  ให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่น หรือ ผู้บริหาร ท้องถิ่น มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละสี่ปี วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นจะเป็น ข้าราชการซึ่งมีตำ�แหน่งหรือเงินเดือนประจำ�  พนักงานหรือลูกจ้าง ของหน่วยราชการ  หน่วยงานของรัฐ  หรือรัฐวิสาหกิจหรือของ ราชการส่วนท้องถิ่น  และจะมีผลประโยชน์ขัดกันกับการดำ�รง ตำ�แหน่งตามที่กฎหมายบัญญัติมิได้ ข้อห้ามของคณะผู้บริหารท้องถิ่น คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้มีสิทธิสมัครรับ เลือกตั้ง  หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น  ให้เป็นไปตามที่ กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่คณะผู้บริหารท้องถิ่นต้องพ้นจากตำ�แหน่งทั้ง คณะ  หรือผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำ�แหน่งและจำ�เป็นต้องมีการ แต่งตั้งคณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว  มิให้นำ�บทบัญญัติวรรคสาม  และวรรคหกมาใช้บังคับ ทั้งนี้ ตามที่ กฎหมายบัญญัติ การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มี โครงสร้างการบริหารที่แตกต่างจากที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ให้
  • 22. 23การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน กระทำ�ได้ตามที่กฎหมายบัญญัติ  แต่คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือ ผู้บริหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง ให้นำ�บทบัญญัติมาตรา  ๒๖๕  มาตรา  ๒๖๖  มาตรา ๒๖๗ และมาตรา ๒๖๘ มาใช้บังคับกับสมาชิกสภาท้องถิ่นคณะ ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณีด้วยโดยอนุโลม มาตรา  ๒๘๕  ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นใดเห็นว่าสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหาร ท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นผู้ใดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นั้น  ไม่สมควรดำ�รงตำ�แหน่งต่อไป  ให้มีสิทธิลงคะแนนเสียง ถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหาร ท้องถิ่นผู้นั้นพ้นจากตำ�แหน่ง  ทั้งนี้  จำ�นวนผู้มีสิทธิเข้าชื่อ หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อการตรวจสอบรายชื่อ  และการลง คะแนนเสียง ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ การลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือ คณะผู้บริหารท้องถิ่น มาตรา ๒๘๖ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานสภาท้องถิ่นเพื่อให้ สภาท้องถิ่นพิจารณาออกข้อบัญญัติท้องถิ่นได้ จำ�นวนผู้มีสิทธิเข้าชื่อ  หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวม ทั้งการตรวจสอบรายชื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๘๗ ประชาชนในท้องถิ่นมีสิทธิมีส่วนร่วมในการ บริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นต้องจัดให้มีวิธีการที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมดังกล่าว ได้ด้วย
  • 23. 24 การมีส่วนร่วมในท้องถิ่นของประชาชน ในกรณีที่การกระทำ�ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมี ผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในท้องถิ่นในสาระ สำ�คัญ  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องแจ้งข้อมูลรายละเอียดให้ ประชาชนทราบก่อนกระทำ�การเป็นเวลาพอสมควร  และในกรณีที่ เห็นสมควรหรือได้รับการร้องขอจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็น ก่อนการกระทำ�นั้น  หรืออาจจัดให้ประชาชนออกเสียงประชามติ เพื่อตัดสินใจก็ได้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
  • 24. 25การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรายงานการดำ�เนินงาน ต่อประชาชนในเรื่องการจัดทำ�งบประมาณการใช้จ่าย  และผลการ ดำ�เนินงานในรอบปี  เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ และกำ�กับการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดทำ�งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามวรรคสาม ให้นำ�บทบัญญัติมาตรา ๑๖๘ วรรคหก มาใช้บังคับ โดยอนุโลม มาตรา ๒๘๘ การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการและลูกจ้าง ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ้นจากตำ�แหน่งต้องเป็นไปตาม ความเหมาะสมและความจำ�เป็นของแต่ละท้องถิ่น  โดยการบริหาร งานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีมาตรฐาน สอดคล้องกัน  และอาจได้รับการพัฒนาร่วมกันหรือสับเปลี่ยน บุคลากรระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันได้  รวมทั้ง ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการข้าราชการส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นองค์กรกลางบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นก่อน  ทั้งนี้  ตามที่กฎหมายบัญญัติ การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการและลูกจ้างของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ้นจากตำ�แหน่ง ในการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีองค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรมของข้าราชการส่วนท้องถิ่น  เพื่อสร้างระบบคุ้มครองคุณธรรมและจริยธรรมในการบริหารงาน บุคคล ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
  • 25. 26 คณะกรรมการข้าราชการส่วนท้องถิ่นตามวรรคหนึ่งจะ ต้องประกอบด้วย  ผู้แทนของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง  ผู้แทน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ผู้แทนข้าราชการส่วนท้องถิ่น และผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีจำ�นวนเท่ากัน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การโยกย้าย  การเลื่อนตำ�แหน่ง  การเลื่อนเงินเดือนและ การลงโทษข้าราชการและลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา  ๒๘๙  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำ�นาจ หน้าที่บำ�รุงรักษาศิลปะ  จารีตประเพณี  ภูมิปัญญาท้องถิ่น  และ วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น อำ�นาจหน้าที่และสิทธิขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีสิทธิที่จะจัดการศึกษา อบรม  และการฝึกอาชีพตามความเหมาะสมและความต้องการ ภายในท้องถิ่นนั้น  และเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอบรม ของรัฐ  โดยคำ�นึงถึงความสอดคล้องกับมาตรฐานและระบบ การศึกษาของชาติ
  • 26. 27การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน การจัดการศึกษาอบรมภายในท้องถิ่นตามวรรคสอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องคำ�นึงถึงการบำ�รุงรักษาศิลปะ  จารีตประเพณี  ภูมิปัญญาท้องถิ่น  และวัฒนธรรมอันดีของ ท้องถิ่นด้วย มาตรา  ๒๙๐  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอำ�นาจ หน้าที่ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมาย บัญญัติ การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม กฎหมายตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระสำ�คัญ ดังต่อไปนี้ (๑) การจัดการ  การบำ�รุงรักษา  และการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตพื้นที่ (๒) การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบำ�รุงรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่  เฉพาะในกรณีที่อาจ มีผลกระทบต่อการดำ�รงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน
  • 27. 28 (๓) การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการ หรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพ  สิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ (๔) การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ต้องคำ�นึงถึงกำ�ลังคน  กำ�ลังงาน  งบประมาณขององค์กร  กำ�ลัง ความสามารถ  เครื่องมือ  อุปกรณ์ต่างๆ  รวมทั้งภาระหน้าที่ ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำ�นั้นต้องเป็นประโยชน์กับ ท้องถิ่นอย่างแท้จริง  ไม่เกินกำ�ลังความสามารถเพราะจะยิ่ง เป็นการเพิ่มภาระให้ท้องถิ่นมากขึ้นและจะส่งผลเสียต่อท้องถิ่น มากกว่าผลดีที่จะเกิดขึ้น การกำ�หนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นดำ�เนินการเป็นงานเกี่ยวกับการบริการสาธารณะมี ข้อพิจารณา ดังนี้ ๑. เป็นงานเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นนั้น  และงานที่เกี่ยวกับความ สะดวกในชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน  ได้แก่  การสร้างถนน สะพาน สวนสาธารณะ ประปา การกำ�จัดขยะมูลฝอย
  • 28. 29การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ๒. เป็นงานเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม เช่น การจัดให้มีการ บริการทางสาธารณสุข  แพทย์หรืออนามัยในชุมชน  ซึ่งเป็นงานที่ มีความสำ�คัญต่อประชาชนในท้องถิ่น ๓. งานที่เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความปลอดภัย เช่น งานดับเพลิง เป็นต้น ๔. เป็นงานที่เกี่ยวกับพาณิชยกรรมในท้องถิ่น เช่น  การ จัดการตลาดและงานต่าง  ๆ  ที่มีรายได้โดยสามารถเรียกเก็บค่า บริการจากประชาชน
  • 29. 30 การจัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันของไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ไทยจัดนั้นเป็น  ๕  รูปแบบ แยกเป็นรูปแบบทั่วไป ๓ รูปแบบ คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด  (อบจ.)  เทศบาล  องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อบต.) และรูปแบบ พิเศษ ๒ รูปแบบ คือ กรุงเทพมหานคร  และเมืองพัทยา  ซึ่งจะ กล่าวในรายละเอียด ดังนี้ ๑. องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด  (อบจ.)  ถือเป็นองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุด  และตามพระราชบัญญัติ องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งถือว่าเป็นกฎหมาย ฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน  โครงสร้างและองค์ประกอบขององค์การ บริหารส่วนจังหวัด  ประกอบด้วย  สภาองค์การบริหารส่วน จังหวัด  ซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ  และนายกองค์การบริหารส่วน จังหวัด ซึ่งเป็นฝ่ายบริหาร สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ในจังหวัดหนึ่งให้มีสภา จังหวัดที่ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้งขึ้นและถือตาม เกณฑ์จำ�นวนราษฎรแต่ละจังหวัดตามหลักฐานทะเบียนราษฎรที่ ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้ง ดังนี้ จังหวัดใดมีราษฎรไม่เกิน  ๕๐๐,๐๐๐  คน  มีสมาชิกสภา จังหวัดได้ ๒๔ คน จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า  ๕๐๐,๐๐๐  คน  แต่ไม่เกิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน มีสมาชิกได้ ๓๐ คน
  • 30. 31การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า  ๑,๐๐๐,๐๐๐  คน  แต่ไม่เกิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ คน มีสมาชิกได้ ๓๖ คน จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า  ๑,๕๐๐,๐๐๐  คน  แต่ไม่เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ คน มีสมาชิกได้ ๔๒ คน จังหวัดใดมีราษฎรเกิน  ๒,๐๐๐,๐๐๐  คนขึ้นไปมีสมาชิก ได้ ๔๘ คน สมาชิกสภาจังหวัดอยู่ในตำ�แหน่งได้คราวละ  ๔  ปี  ให้ สภาจังหวัดเลือกตั้งสมาชิกสภาเป็นประธานสภา  ๑  คน  และ รองประธานสภา ๒ คน นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด  ซึ่งมีที่มาจากประชาชน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งภายในจังหวัด  เลือกนายกองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด  และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด  มีอำ�นาจ แต่งตั้งรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตามที่กฎหมาย กำ�หนด สำ�หรับรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดให้มาจาก สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ดังนี้ ในกรณีมีสมาชิก ๔๘ คน ให้มีรองนายกองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดได้ ๔ คน ในกรณีมีสมาชิก  ๓๖  -  ๔๒  คน  ให้มีรองนายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ ๓ คน ในกรณีมีสมาชิก ๒๔  -  ๓๐ คน ให้มีรองนายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัดได้ ๒ คน
  • 31. 32 อำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดตามพระราช บัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด  พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๔๕ ได้ กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดไว้ดังนี้ (๑) ตราข้อบัญญัติโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย (๒) จัดทำ�แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด  และ ประสานการจัดทำ�แผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรี กำ�หนด (๓) สนับสนุนสภาตำ�บลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่นใน การพัฒนาท้องถิ่น (๔) ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ของ สภาตำ�บลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่น (๕) แบ่งสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แก่สภา ตำ�บลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่น (๖) อำ�นาจหน้าที่ของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการส่วนจังหวัด  พ.ศ.  ๒๔๙๘ เฉพาะภายในเขตสภาตำ�บล (๗) คุ้มครอง  ดูแล  และบำ�รุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (๗  ทวิ)  บำ�รุงรักษาศิลปะ  จารีตประเพณี  ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (๘) จัดทำ�กิจการใดๆ  อันเป็นอำ�นาจหน้าที่ของราชการ ส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด  และกิจการ นั้นเป็นการสมควรให้ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นร่วมกันดำ�เนินการ หรือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดจัดทำ�  ทั้งนี้  ตามที่กำ�หนดใน กฎกระทรวง
  • 32. 33การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน (๙) จัดทำ�กิจการอื่นใดตามที่กำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัติ นี้หรือกฎหมายอื่นกำ�หนดให้เป็นอำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัด การปฏิบัติงานตามอำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วน ท้องถิ่นต้องให้เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน  และให้ คำ�นึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน  ทั้งในการจัดทำ�แผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนจังหวัด  การงบประมาณ  การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ  กระประเมินผลการปฏิบัติงาน  และการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร เป็นต้น ๒. เทศบาล ตามพระราชบัญญัติเทศบาล  พ.ศ.  ๒๔๙๖  ได้แบ่ง โครงสร้างของเทศบาลออกเป็น ๒ ส่วน คือ สภาเทศบาล และคณะ เทศมตรี
  • 33. 34 สภาเทศบาล  ซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ  คอยควบคุมและ ตรวจสอบการทำ�งานของฝ่ายบริหารซึ่งเป็นการถ่วงดุลอำ�นาจ (Check and Balance)  กำ�หนด ให้สภาเทศบาลประกอบด้วย สมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน  และสมาชิก สภาเทศบาลอยู่ในตำ�แหน่งได้คราวละ  ๔  ปี  จำ�นวนสมาชิก สภาเทศบาลจะขึ้นอยู่กับประเภทของเทศบาล กล่าวคือ ๒.๑ สภาเทศบาลตำ�บล มีสมาชิกทั้งหมด ๑๒ คน ๒.๒ สภาเทศบาลเมือง มีสมาชิกทั้งหมด ๑๘ คน ๒.๓ สภาเทศบาลนคร มีสมาชิกทั้งหมด ๒๔ คน สภาเทศบาลนั้นมีประธานสภาคนหนึ่ง  และ รองประธาน สภาคนหนึ่งโดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งมาจากสมาชิก สภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาล  ประธานสภามีหน้าที่ ดำ�เนินกิจการของสภาเทศบาลให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ  การประชุมเทศบาล  บังคับบัญชา  รักษาความสงบ  และเป็น ตัวแทนสภาในกิจการภายนอก คณะเทศมนตรี  ซึ่งเป็นฝ่ายบริหารของเทศบาล  โดย คณะเทศมนตรีเลือกมาจากสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งสมาชิก สภาเทศบาลมีมติเห็นชอบ  ประกอบด้วยนายกเทศมนตรี  และ เทศมนตรีอีก ๒ - ๔ คน ตามประเภทของเทศบาล คือ - เทศบาลเมืองและเทศบาลตำ�บล  ให้มีเทศมนตรีได้ ๒  คน  ซึ่งเมื่อรวมกับนายกเทศมนตรีเป็นคณะเทศมนตรีแล้ว มีจำ�นวน ๓ คน
  • 34. 35การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน - เทศบาลนคร ให้มีเทศมนตรีได้ ๔ คน ซึ่งเมื่อรวมกับ นายกเทศมนตรีเป็นคณะเทศมนตรีแล้วมีจำ�นวน ๕ คน ในกรณีที่ เทศบาลเมืองที่รายได้จากการจัดเก็บปีละ ๒๐ ล้านบาทขึ้นไป ให้มี เทศมนตรีเพิ่มขึ้นอีก ๑ คน ๓. องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อบต.) รูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังกล่าวนี้  เป็น องค์กรที่มีจำ�นวนมากที่สุดและมีความใกล้ชิดกับประชาชนใน ท้องถิ่นมากที่สุด  มีฐานะเป็นนิติบุคคลและราชการส่วนท้องถิ่น  จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำ�บลและองค์การบริหารส่วน ตำ�บล พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๘
  • 35. 36 องค์การบริหารส่วนตำ�บลประกอบด้วย  สภาองค์การ บริหารส่วนตำ�บล  (สภา  อบต.)  และ  คณะผู้บริหารองค์การ บริหารส่วนตำ�บล  จำ�นวนสมาชิกขององค์การบริหารส่วนตำ�บล นั้นจะขึ้นอยู่กับจำ�นวนหมู่บ้านในแต่ละองค์การบริหารส่วนตำ�บล คือ องค์การบริหารส่วนตำ�บลใด มี ๑ หมู่บ้าน ให้มีสมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนตำ�บล ได้  ๖ คน องค์การบริหารส่วนตำ�บลใด มี ๒ หมู่บ้าน ให้มีสมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนตำ�บลได้ หมู่บ้านละ ๓ คน รวมเป็น ๖ คน องค์การบริหารส่วนตำ�บลใด มีหมู่บ้านมากกว่า ๒ หมู่บ้าน ขึ้นไป ให้มีสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนตำ�บล ได้ หมู่บ้านละ ๒ คน มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ ๔ ปี สำ�หรับคณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำ�บล  ประกอบ ด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล ๑ คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง โดยตรงของประชาชน  มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ๔ ปี นับแต่วัน เลือกตั้ง  และมีอำ�นาจแต่งตั้งรองนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล ซึ่งมิใช่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำ�บลได้ไม่เกิน ๒ คน รวม ทั้งอาจแต่งตั้งเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล  ๑  คน อำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลมีอำ�นาจ หน้าที่ในการพัฒนาตำ�บล  ทั้งในด้านเศรษฐกิจ  สังคมและ วัฒนธรรม  และมีบทบัญญัติในกฎหมาย  กำ�หนดหน้าที่ของ องค์การบริหารส่วนตำ�บลดังนี้
  • 36. 37การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน (๑) จัดให้มีและบำ�รุงรักษาทางน้ำ�และทางบก (๒) รักษาความสะอาดของถนน  ทางน้ำ�  ทางเดิน และที่ สาธารณะ รวมทั้งกำ�จัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (๓) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (๔) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (๕) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และ ผู้พิการ (๗) คุ้มครอง  ดูแล  และบำ�รุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
  • 37. 38 (๘) บำ�รุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (๙) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดย จัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำ�เป็นและสมควร นอกจากนี้  องค์การบริหารส่วนตำ�บลอาจจัดทำ�กิจการ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บล ดังต่อไปนี้ (๑) ให้มีน้ำ�เพื่อการอุปโภค  บริโภค  และการเกษตร (๒) ให้มีและบำ�รุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น (๓) ให้มีและบำ�รุงรักษาทางระบายน้ำ� (๔) ให้มีและบำ�รุงสถานที่ประชุม  การกีฬา  การพักผ่อน หย่อนใจและสวนสาธารณะ (๕) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์ (๖) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว (๗) บำ�รุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร (๘) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณ สมบัติของแผ่นดิน (๙) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหาร ส่วนตำ�บล (๑๐) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม (๑๑) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ (๑๒) การท่องเที่ยว (๑๓) การผังเมือง
  • 38. 39การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน ๔. กรุงเทพมหานคร (กทม.) กรุงเทพมหานคร  หรือ  กทม.  มีฐานะเป็นนิติบุคคลและ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ  เนื่องจาก กรุงเทพมหานคร  เป็นเมืองหลวงและมีความเจริญทางด้าน เศรษฐกิจ  จึงต้องมีการบริหารจัดการเฉพาะ  ตามที่พระราช บัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ วาง หลักเกณฑ์ไว้ โครงสร้างของกรุงเทพมหานคร  ประกอบด้วย - สภากรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สภากรุงเทพมหานคร  กรุงเทพมหานครมีสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร (ส.ก.) มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนโดยตรง  และสภากรุงเทพมหานครจะมีประธานสภากรุงเทพมหานคร  ๑  คน  รองประธานสภากรุงเทพมหานคร อีกไม่เกิน ๒ คน ซึ่ง สภากรุงเทพมหานครเลือกจากสมาชิกสภาโดยให้ดำ�รงตำ�แหน่ง วาระละ ๒ ปี
  • 39. 40 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารมา จากการเลือกตั้ง  โดยวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีวาระในการดำ�รงตำ�แหน่ง คราวละ  ๔  ปี  นับแต่วันเลือกตั้ง  การเลือกตั้งผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครจะกระทำ�ได้เมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกากำ�หนดให้ มีการเลือกตั้งแล้ว  ซึ่งระบุวันเลือกตั้งและระยะเวลารับสมัคร เลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำ�นาจหน้าที่ตาม  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร  พ.ศ.  ๒๕๒๘  อาทิ  กำ�หนดนโยบายและบริหารราชการสั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร แต่งตั้งและ ถอดถอนรองผู้ว่าฯ  เลขานุการฯ  ผู้ทรงคุณวุฒิ  ที่ปรึกษาบริหาร ราชการตามที่คณะรัฐมนตรี  นายกรัฐมนตรี  หรือรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยมอบหมาย  วางระเบียบเพื่อให้งานของ กรุงเทพมหานครเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ๕. เมืองพัทยา เมืองพัทยา  เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  รูปแบบ พิเศษ  ที่ได้เคยทดลองใช้การจัดการปกครองแบบผู้จัดการเมือง  (City  Manager)  หรือที่เรียกว่า  Council  and  manager Form  เพียงแห่งเดียวนับตั้งแต่ปี  พ.ศ.  ๒๕๒๑  เหมือนกับใน หลายเมืองของสหรัฐอเมริกา  โดยสาระสำ�คัญของรูปแบบนี้  คือ  แยกความรับผิดชอบระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร เป็นการให้ได้มาซึ่งผู้บริหารที่เป็นมืออาชีพ
  • 40. 41การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน เมืองพัทยาในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการเมืองพัทยา  พ.ศ.  ๒๕๔๒ โครงสร้างเมืองพัทยาคล้ายรูป แบบเทศบาล  โดยให้มีการเลือกตั้งนายกเมืองพัทยาโดยตรง  โครงสร้างเมืองพัทยา ประกอบด้วย สภาเมืองพัทยาและนายกเมือง พัทยา สภาเมืองพัทยา  ทำ�หน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติประกอบ ด้วยสมาชิกจำ�นวน  ๒๔  คน  ซึ่งเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน เขตเมืองพัทยา  ดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ  ๔  ปีนับแต่วันเลือกตั้ง โดยสภาเมืองพัทยาเลือกประธานสภาเมืองพัทยา ๑ คน และรอง ประธานสภาเมืองพัทยาจำ�นวน  ๒  คน  แล้วเสนอผู้ว่าราชการ จังหวัดแต่งตั้ง  ประธานสภาเมืองพัทยาอาจแต่งตั้งเลขานุการ ประธานสภาเมืองพัทยาและผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาเมือง
  • 41. 42 พัทยาไม่เกินจำ�นวนรองประธานสภาเมืองพัทยา  เพื่อช่วยเหลือ กิจการที่ได้รับมอบหมาย  และให้ปลัดเมืองพัทยาทำ�หน้าที่ เลขานุการสภาเมืองพัทยา  มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการและ การจัดประชุมและงานอื่นใดตามที่สภาเมืองพัทยามอบหมาย นายกเมืองพัทยา  ให้มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจาก ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมืองพัทยา  ให้กระทำ�โดยวิธีออก เสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ  ดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ  ๔  ปี  และนายกเมืองพัทยาสามารถแต่งตั้งรองนายกเมืองพัทยาจำ�นวน ไม่เกิน  ๔ คน นายกเมืองพัทยามีอำ�นาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. กำ�หนดนโยบายและรับผิดชอบในการบริหารราชการ ของเมืองพัทยาให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบัญญัติ และนโยบาย ๒. สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของเมืองพัทยา ๓. แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกเมืองพัทยา เลขานุการ นายกเมืองพัทยา  ผู้ช่วยเลขานุการนายกเมืองพัทยา  ประธานที่ ปรึกษา ที่ปรึกษาและคณะที่ปรึกษา ๔. วางระเบียบเพื่อให้งานของเมืองพัทยาเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย ๕. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี  นายกรัฐมนตรี  รัฐมนตรี  หรือผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย หรือตามที่กฎหมาย กำ�หนดให้เป็นอาจหน้าที่ของนายกเมืองพัทยา  หรือนายก เทศมนตรีหรือคณะเทศมนตรี
  • 42. 43การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำ�นาจหน้าที่ของกำ�นันและผู้ใหญ่บ้าน การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น เดิมนั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนมีเพียงการเลือกตั้ง สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นเท่านั้น  แต่นับจาก รัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐ เป็นต้นมาถึงรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้เพิ่ม บทบาทของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น คือ ๑. การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร ท้องถิ่น  กล่าวคือ  หากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในท้องถิ่นเห็น ว่าสมาชิกสภาท้องถิ่น  คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น นั้น  ไม่สมควรดำ�รงตำ�แหน่งต่อไป  ให้มีสิทธิลงคะแนนเสียง ถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นให้พ้นจากตำ�แหน่งได้  (รัฐธรรมนูญ  มาตรา ๒๘๕) ๒. การเข้าชื่อเพื่อเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่น  คือ  ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีจำ�นวน