SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 5
Digital Media ทิศทางของสือดิจตอล
                         ่   ิ
เมื่อเราพูดถึงคำาว่า “สื่อสาร” หลายคน
 คงคิดถึงอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ใกล้ตัวเช่น
 โทรศัพท์ วิทยุ โทรทัศน์ซึ่งคำานี้มาจาก
 “สื่อ” หมายถึงตัวกลาง (Media) ที่
 นำาพา
 “สาร” หมายถึง ข้อความ ข่าวสาร
 (Information) ที่เกาะติดมากับ สื่อ ถ้า
 มองไปรอบตัวเรา “ตัวสื่อ” จะเป็น
 อุปกรณ์ และ “ตัวสาร” มักจะเป็นเนื้อหา
สืออนาลอก
  ่

   เนื่องจาก “สาร” อย่างเช่น เสียงเพลง โดย
    ปกติแล้วเป็นสัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลง
    แบบต่อเนื่อง (Analogue) ทำาให้ “สื่อ” ที่
    จะนำา “สาร” ชนิดนี้ไปได้ ก็ต้องสามารถ
    รองรับ การทำางานเหล่านี้ได้ เช่น เทปเพลง
    มีเพลงเป็นสัญญาณเสียง ที่มีการเปลี่ยน
    ระดับความดังและความถี่แบบต่อเนื่อง การ
    บรรจุเพลง ลงบนเนื้อเทป โดยการปรับ
    ความเข้มของสนามแม่เหล็กที่อยูบนเนือ
                                    ่    ้
“สื่อ” (Media) ที่สามารถนำา “สาร” (contents) ที่เป็น
สัญญาณทางธรรมชาติที่ต่อเนื่อง จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“สื่ออนาลอก” หรือ “Analogue Media”




          รูปที่ 1-1 ระบบสัญญาณแบบอนาล๊อก
สือดิจิตอล
  ่

   ระบบดิจิตอล มีพนฐานมาจากตัวเลข 1 และ
                       ื้
    0 ในยุคแรกเริ่มเมื่อประมาณ 30-40 ปี มา
    นี้เอง เพื่อนำามาใช้ในการคำานวณหา
    ตำาแหน่งพื้นที่ และต่อมา ก็พฒนาไปเป็น
                                  ั
    เครื่องมือ ในการนับจำานวนประชากร ของ
    ประเทศสหรัฐอเมริกา พื้นฐานการทำางานจะ
    อาศัยตัวเลข และใช้ทฤษฎีทางด้าน
    คณิตศาสตร์ ที่เรียกว่า “Discrete Math”
    และการประมวลผลสามารถทำาได้เฉพาะ
    ข้อมูลที่เป็น ตัวเลข กับ ตัวอักษร เท่านั้น
   ความคล่องตัวของเทคโนโลยีดจิตอลนี้ ทำาให้เกิด
                                  ิ
    ความพยายามที่จะพัฒนา และเจริญเติบโตนี้ เช่น
     Digital Electronics
     Computation Technique
     Digital Signal Processing (DSP)
     Image Processing
     Optical Processing
     Information Transmission
     และอื่น ๆ อีกมากมาย พื้นฐานเหล่านีเป็นสิ่งที่
                                          ้
      ทำาให้ดจิตอล สามารถนำามาใช้กับ “สาร” ที่เป็น
              ิ
      สัญญาณทีต่อเนื่องได้ ประกอบกับเทคโนโลยี
                   ่
      ของ สารกึงตัวนำาที่ทำาให้อุปกรณ์อีเล็กทรอ
                 ่
      นิกส์ มีความเร็วสูง มีขนาดเล็กลง การทำางานมี
      รูปลักษณ์เป็นไปตามเวลาจริง (Real Time)
   ถึงอย่างไรก็ตาม ยังมีนักพัฒนาบางท่าน ให้
    ความเห็นว่า ปัญหาใหญ่ของอุปกรณ์ ที่นำามา
    ใช้กับข้อมูลที่เป็นเสียงวีดิทัศน์ ที่ต้องการ
    ความเร็ว ในการคำานวณสูงมาก และใช้เนือที่     ้
    ในหน่วยความจำา จำานวนมาก จึงน่าจะมี
    เทคโนโลยีอื่น ที่ทำาได้ดีกว่า เทคโนโลยีที่ใช้
    กันอยู่ในปัจจุบันนี้ เช่น การประมวลผลโดยใช้
    แสง เป็นต้น และระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน ที่มี
    ต้นแบบมาจากเครื่องจักรคำานวณ ของนายนอ
    ยมาร์น น่าจะหมดอายุลงไปได้แล้ว เช่น
    เดียวกันกับ รถยนต์ที่มีต้นแบบเครื่องยนต์มาก
    จากไม้ฟืน (ถ่าน) เป็นเชื้อเพลิง แต่ก็คงเป็น
    เรื่องของอนาคต ที่ยงหาคำาตอบไม่ได้ในขณะ
                           ั
รูปที่ 1-2 สือดิจิตอลในปัจจุบัน
             ่
การถ่ายภาพ
การถ่ายภาพ แต่เดิมนันเราใช้ฟิล์ม ในการรับภาพ
                     ้
 การปรับแสง และ โฟกัสของเลนส์ คุณภาพของ
 เลนส์ และ คุณภาพของฟิล์มเป็นหลักประกันในการ
 ให้ได้ภาพที่คมชัด ตอมาระบบการปรับ Auto-
 Focus ทำาให้การถ่ายภาพของคนที่ไม่ใช่มืออาชีพ
 ก็สามารถให้ภาพคมชัดได้
กล้องถ่าปดิจิตดิจิตปกรณ์รับภาพเปลี่ยนจากฟิลม
 กล้องถ่ายรู
              ยรูป อล อุ อล                  ์
  มาเป็น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิก ที่เรียกกันว่า Charge
  Coupled Device (CCD) ความคมชัดขึนอยู่กบ แสง
                                         ้    ั
  โฟกัส และ BIT Resolution ของ CCD เมื่อได้ภาพที่
  ต้องการ ภาพจะถูกเก็บลง หน่วยความจำา (Memory)
  ที่อยู่ในกล้อง เมือต้องการดูทำาได้โดยการถ่ายข้อมูล
                    ่
  จากหน่วยความจำา ลงบนเครื่องพิมพ์หรือเครื่อง
  คอมพิวเตอร์ ภาพที่ได้มีขนาดตามที่ตองการ สามารถ
                                       ้
  ย่อ/ขยาย แล้วแต่ความพอใจ แสง/เงา หรือ จะเพิ่มรูป
  แบบ ก็สามารถทำาได้และเมื่อจะถ่ายใหม่ ก็สามารถใช้
  หน่วยความจำาเดิมได้เลย ถ่ายภาพซำ้าได้เลยไม่ต้อง
  เสียเงินซือฟิล์มอีก
            ้
   กล้องถ่ายวีดิทัศน์ แบบอนาลอกที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
    กล้องถ่า่วไปดิทล้าน์ดิจิตองถ่ายภาพนิ่งดิจิตอล โดยมี
    ระบบโดยทัยวี ก็ค ัศ ยกับกล้ อล
    อุปกรณ์รับภาพ CCD ทำาหน้าที่รบภาพ แล้วเปลี่ยนเป็น
                                    ั
    สัญญาณภาพ (ไฟฟ้า) แล้วจึงบันทึกลงในตลับ ที่เรียกกัน
    ติดปากว่า “ม้วนวิดีโอเทป” คุณภาพของภาพ จึงขึ้นอยู่กับ
    คุณภาพของ เล็นซ์ ที่ใช้กับความสามารถของ CCD ใน
    การแปลงภาพ ให้ออกมาเป็นสัญญาณไฟฟ้า ความละเอียด
    ของภาพจะขึ้นอยู่กับความละเอียดของจุดรับภาพบน CCD
    มีหน่วยวัดเป็น จุด หรือ Pixel และเทคโนโลยีทีที่ใช้ทำา
    CCD
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยขบวนการตัดต่อวีดิ
ทัศน์ อย่างไม่เป็นลำาดับ (Non-Linear
Video Editing)

   สามารถทำาได้ด้วยระบบดิจิตอลเท่านั้น ซึ่งเป็น
    ขบวนการ ในการปรับแต่ง ภาพวีดทัศน์ที่ถ่ายทำา
                                      ิ
    มาให้ดูดี มีคุณภาพ ตัดสิงที่ไม่ต้องการออก ใส่
                               ่
    หัวเรื่อง เสียง ทำาให้คุณภาพ ของการถ่ายทำาน่า
    ดูมากขึ้น การทำางานของขบวนการตัดต่อวีดิ
    ทัศน์แบบดิจิตอลนี้ จะต้องนำาภาพทั้งหมดใส่ลง
    ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น Hard Disk แล้วจึง
    ทำาการตัดต่อด้วยโปรแกรมตัดต่อ (Video
    Editing Software) เมือตัดต่อเสร็จแล้ว อาจจะ
                             ่
กล้องถ่ายวีดทัศน์ดจิตอล
            ิ     ิ
ระบบเสียงดิจิตอล

   อุปกรณ์ในการบันทึกเสียงแต่เดิมนั้นใช้ เทป แผ่น
    เสียง แต่อปกรณ์เหล่านี้กำาลังถูกเปลียนไป การจัด
               ุ                        ่
    เก็บ โดยแปลงให้อยู่ในรูปของข้อมูลดิจตอล จาก
                                           ิ
    นั้นจึงนำาไปเข้ารหัสก่อน (เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็น
    แฟ้มข้อมูลแบบ WAV แล้วจึงเก็บลงใน Hard Disk
    หรือ CD-ROM
การตัดต่อ การนำาไปปรับปรุง แต่งเติม ด้วย
ขบวนการอย่างไม่เป็นลำาดับ (Non-Linear
Audio Editing)

   การนำาเอาเสียงตนตรีที่มีรปแบบแฟ้มข้อมูลแบบ
                              ู
    MIDI การนำาเสียงจากทีต่าง ๆ มาผสมผสาน
                            ่
    ใหม่ขบวนการจัดการกับเสียงแบบดิจตอลนี้
                                      ิ
    ทำาให้ ศิลปิน สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้อย่าง
    มีประสิทธิภาพ และตรงกับใจของตัวเองได้มาก
    ที่สุด รวมไปถึงขบวนการของระบบเสียงใหม่ ๆ
    อย่างเช่น Dolby Digital Stereo เป็นระบบ
    เสียงสองช่องเสียง ที่บนทึกแบบดิจิตอล หรือ
                          ั
    ระบบเสียงรอบทิศทาง อย่าง 5.1 Digital
   นอกจากนี้ยังมีรูปแบบการสื่อสารที่มาใหม่ ได้แก่
    Webcast, Web-TV , วิทยุทางอินเตอร์เน็ต… ซึง  ่
    เป็นการส่งสัญญาณ ที่ความเร็วตำ่า มาทางสาย
    โทรศัพท์ มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งข้อมูล
    เป็นแบบสารธาร (Streaming Data) ที่ทำาให้การ
    ส่งทั้งภาพวีดทัศน์ และเสียง สามารถส่งมาพร้อม
                 ิ
    กันได้
เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ดิจิตอล
(Digital Television)

   ความต้องการภาพที่คมชัดกว่าเดิม สัดส่วนจอภาพ
    ที่เป็นธรรมชาติมากกว่าเดิมเป็นแรงผลักดันไปสู่
    การแพร่สัญญาณภาพ และการแสดงภาพที่หน้าจอ
    วิทยุโทรทัศน์ในแบบดิจิตอลและทำาให้ค้นพบว่า
    การส่งสัญญาณสื่อสารในระบบดิจิตอลนั้น เป็นการ
    ลดขนาดของช่องสื่อสารสัญญาณ (Bandwidth)
    ให้เล็กลง สัญญาณรบกวนตำ่ากว่าแบบอนาลอก
    และให้ความคมชัดของภาพสูงมากขึ้น
   จะเห็นได้ว่า สื่อดิจิตอล เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมา
    ทดแทนสิ่งที่มีอยู่เดิม เพื่อทำาให้ราคาถูกลงและ
    รักษาไว้ซงคุณภาพ สร้างประสิทธิภาพที่ดีกว่า เอื้อ
              ึ่
รูปที่ 1-4 เครื่องรับสัญญาณ วิทยุโทรทัศน์ดิจิตอล
การทำางานของสือดิจิตอล
              ่


   กล้องถ่ายรูปแบบดิจิตอล มีระบบการทำางานอย่างไร?
    คุณภาพของภาพที่ออกมากจะสู้กล้องแบบเดิมได้หรือ
    เปล่า? ใช้ฟิล์มของใครดีกว่ากัน? พื้นฐานการทำางานของ
    กล้องถ่ายรูปดิจิตอลกับกล้องวีดิทศน์ดิจิตอล เหมือนกัน
                                    ั
    หรือต่างกันอย่างไร? และถ้าจะซื้อไว้ใช้ส่วนตัว จะเลือกซื้อ
    แบบธรรมดาหรือแบบดิจิตอล? แบบไหนจะคุ้มค่ากว่ากัน?
    คำาถามเหล่านี้ เป็นคำาถามที่พบอยู่เสมอในยุคสมัยที่อยู่ใน
    ช่วงของการปรับเปลี่ยนเช่นปัจจุบัน
   แต่สำาหรับอนาคต คำาถามจะเปลี่ยนเป็น.. รูปภาพที่เรารับส่ง
    กันทางสายโทรศัพท์ เป็นรูปแบบเดียวกันกับภาพ ที่ได้จาก
    กล้องถ่ายภาพดิจิตอลหรือเปล่า? ภาพขาว-ดำาที่ โทรสาร
หลักการพื้นฐานของสื่อดิจิตอล (Digital Media)

   หลักการพื้นฐานของสื่อดิจิตอล (Digital Media)
    ก็คอ รูปแบบของข้อมูลต้องเป็นตัวเลข จากรูปแบบ
       ื
    ข่าวสาร อย่างเช่น รูปภาพ วีดทัศน์ เสียง เป็นต้น
                                   ิ
    รูปแบบเหล่านี้เมื่อรับเข้ามาต้องถูกเปลี่ยนเป็น
    ข้อมูลแบบตัวเลขฐานสอง (Binary Number) ที่
    สามารถเก็บลงใน ตัวกลางแบบดิจิตอล (Digital
    Media) และเมื่อต้องการนำากลับมาสู่รูปแบบเดิม (
    รูปภาพ วีดิทัศน์ เสียง) จะต้องผ่านขบวนการ
    เปลี่ยนแปลงตัวเลขเหล่านี้ ให้กลับไปเป็นรูปแบบ
    เดิม (รูปภาพ วีดิทัศน์ เสียง)
สัมผัสของธรรมชาติ

   ข้อมูลข่าวสารโดยทั่วไปเป็นสิ่งที่เราสามารถสัมผัส
    ได้ในรูป-รส-กลิ่น-เสียง-ความร้อน สัมผัสเหล่านี้
    เป็นเนื้อหา ที่เราต้องการนำามาเก็บเอาไว้ หรือส่ง
    ต่อให้ผู้อน และเป็นสัมผัสที่สามารถสังเคราะห์ดวย
              ื่                                    ้
    ขบวนการ ทางไฟฟ้า ได้เช่น ภาพที่เห็น เสียงที่
    ได้ยิน อุณหภูมิ ร้อน-หนาว แต่ก็มบางสัมผัสที่เรา
                                       ี
    ไม่สามารถสังเคราะห์ทางไฟฟ้าได้ เช่น กลิ่น
    รสชาติ จึงยังคงเป็นข้อจำากัด ที่ยังไม่สามารถ นำา
    มาใช้กับสื่อดิจิตอล (Digital Media) ได้
A/D Converter and ENCODER

   ข่าวสาร ที่เป็นสัญญาณธรรมชาติ จะต้องระบบตรวจจับ
    (Transducer) สัญญาณเหล่านี้อย่างเช่น การถ่ายภาพ
    ที่กล้องถ่ายภาพจะมีแผงรับภาพ CCD ทำาหน้าที่รับ
    ภาพ (แสง ประกอบมาจาก 3 สี คือ แดง-เขียว-
    นำ้าเงิน หรือ Red-Green-Blue RGB) จากนั้น CCD
    จะทำาหน้าที่ เปลี่ยนภาพที่รบได้มานั้น ให้เป็นสัญญาณ
                               ั
    ทางไฟฟ้า จุดนี้ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของขบวนการ อ
    นาลอก
   ต่อจากนั้น จึงนำาเอาสัญญาณที่ได้มานี้ ส่งต่อมา
    ที่ ขบวนการแปลงให้เป็นดิจิตอล (Digitized)
    โดยใช้อุปกรณ์เปลี่ยนสัญญาณทีเรียกว่า A/D
                                  ่
    (Analog to Digital Converter) เพื่อให้ได้มีรปู
    แบบข้อมูลเป็นเลขฐานสอง (Binary Number)
   เนื่องจากข้อมูลที่นำาเข้ามานี้ มีจำานวนมาก มากเกิน
    กว่าที่จะจัดเก็บหรือนำาไปใช้ ดังนั้น จึงต้องมี
    ขบวนการลดทอนข้อมูล ทีเรียกว่า การเข้ารหัส
                               ่
    (ENCODER) เป็นการทำาให้ขนาดของข้อมูล
    เหมาะสมต่อการนำามาใช้งาน อย่างเช่น การส่งต่อ
    ไปยังช่องสื่อสาร การจัดเก็บ และรูปแบบของการ
    เข้ารหัสจะมีมาตรฐานทีแตกต่างกัน ความเหมาะสม
                             ่
    ขึนอยู่กับลักษณะการนำามาใช้งาน เช่น MPEG
      ้
    เป็นมาตรฐานของการเข้ารหัส ภาพและเสียง มี
    ระดับความเหมาะสมหลายระดับ หรือมาตรฐานอื่น
    เช่น AVI ก็เป็นมาตรฐานของการเข้ารหัส ภาพและ
    เสียง เช่นกัน การเข้ารหัสของภาพเช่น BMP, J-
    PEG
   มาตรฐานของการเข้ารหัสแต่ละแบบ มีประโยชน์
    ใช้สอยแตกต่างกัน บางแบบเน้นทีคุณภาพ ความ
                                    ่
    ต่อเนื่อง บางแบบจะเน้นที่ความประหยัดในการจัด
    เก็บ คุณภาพลดลง แต่ก็ยังคงไว้ซึ่งเนือหา
                                        ้
    มาตรฐานบางแบบเน้นไปที่การส่งผ่านไปตามระบบ
    สื่อสาร เช่น INTERNET แต่ไม่มีระบบมาตรฐาน
    ใด ที่เหมาะสมสำาหรับทุก ๆ ความต้องการ ที่จะใช้
    งาน… ข้อมูล (DATA) ที่อยู่ในมาตรฐานใด
    มาตรฐานหนึ่ง สามารถเปลี่ยนไปสู่มาตรฐานอื่นได้
ตัวกลาง (Media)

   สัมผัสที่เราเปลี่ยนมาเป็นข้อมูล (Data) ที่
    คอมพิวเตอร์รู้จัก เราอาจจะจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูล
    หรือส่งต่อไปในระบบสื่อสารข้อมูล (Computer
    Networking) เป็นระบบการสื่อสารที่เรียกกันว่า
    “Broadband Communication System” ที่มีการ
    สื่อสารที่เป็น แฟ้มข้อมูล (DATA FILE) และแบบ
    สารธารข้อมูล (STREAMING DATA) และจุด
    เด่นของ สื่อดิจิตอล (Digital Media) ก็คือ ค่า
    ความสูญเสียของข้อมูลในระหว่างที่ทำาการสื่อสารมี
    น้อยมาก เพราะระบบมีการชดเชยความสูญเสีย
DECODER and D/A

   ขบวนการถอดรหัส (Decoder) และการแปลง
    สัญญาณกลับสู่สัญญาณทางธรรมชาติ (Digital to
    Analog, D/A) นั้นเกิดขึนเมื่อเราต้องการนำาข้อมูล
                            ้
    ที่เป็นดิจิตอลกลับมาใช้งาน เช่นต้องการดูวีดิทัศน์
    ที่เก็บไว้ในแผ่น CD โดยวิธการแล้วอุปกรณ์ที่เป็น
    เครื่องเล่น CD จะทำาหน้าที่อ่านข้อมูลที่อยูในแผ่น
                                               ่
    CD มาทำาการถอดรหัส (Decode) และการสร้าง
    รูปแบบสัมผัสให้กลับมาเหมือนเดิม (Digitized)
    ด้วยอุปกรณ์ “D/A Converter” ขบวนการเหล่านี้
    เป็นความพยายามที่จะให้ได้สัมผัส หรือ ภาพที่
ข้อดีของสือดิจิตอล
          ่

   1. ความคงทน
       คุณภาพของสิ่งที่อยู่ใน “Digital Media” การ
       เสื่อมสภาพจะใช้เวลานานกว่า เพราะรูปแบบ
       ของข้อมูลที่จัดเก็บแบบ .สองระดับ” (0 กับ 1)
       โอกาสที่จะผิดเพี้ยนจะเกิดขึ้นได้ยากกว่า ข้อมูล
       แบบต่อเนื่อง เช่น การบันทึกภาพลงในวีดทัศน์
                                               ิ
       แบบอนาลอก กับการบันทึกภาพลงวีดิทัศน์ ใน
       ระบบดิจิตอล เมื่อเส้นเทปยืด การอ่านข้อมูล
       กลับมาในแบบดิจิตอลนั้น จะทำาได้ง่ายกว่า และ
       สามารถทำาให้ได้ขอมูลกลับมาได้เหมือนเดิมได้
                         ้
   2. รูปแบบของการนำาไปใช้งานทำาได้หลากหลาย
    วิธี
    ข้อมูลที่จดเก็บในแบบดิจิตอล ถือได้ว่า เป็นข้อมูล
              ั
    กลาง ที่สามารถแปลงไปสู่รูปแบบอื่นได้ง่ายเช่น
    ถ่ายรูปด้วยกล้องดิจิตอล เมื่อได้เป็น ข้อมูลภาพ
    ออกมาแล้ว จากนั้น สามารพิมพ์ภาพลงบนกระดาษ
    หรือการแสดงภาพบนจอคอมพิวเตอร์ หรือแสดง
    ภาพบนจอทีวี ก็ได้เช่นกัน
   3. การนำาไปผสมผสานกับสื่อรูปแบบอื่น เช่น
    ภาพถ่าย นำามารวมกับเสียง มีการแสดงแบบ Multi-
    Media
   4. การปรับแต่ง (Edit) เป็นการปรับแต่งสื่อที่
    เป็นภาพถ่าย วิดีโอ เสียงนกร้อง… นำามาปรับแต่ง
    ให้ดขึ้นกว่าเดิม การสอดแทรก สิ่งเหล่านี้ทำาให้น่า
         ี
    ดู น่าฟัง มากกว่าปกติ มีความวิจิตรพิสดาร
ข้อเสียของสือดิจิตอล
            ่

   เป็นสิ่งที่ง่ายต่อการกระทำาผิดศิลธรรม การละเมิด
    ในสิทธิของผูอื่น เช่น การนำาเอาภาพของบุคคล
                     ้
    หนึ่ง มาตัดต่อกับภาพเปลือยกายของอีกคนหนึ่ง
    หรือ การทำาซำ้า (Copy) กับ งานสื่อ ที่มีลขสิทธิ์ถก
                                              ิ      ู
    ต้อง เป็นต้น
   ถึงอย่างไรก็ตาม จากข้อดี ที่มีคุณสมบัตเด่น
                                            ิ
    มากมายเหล่านี้ ทำาให้แนวโน้มของอุปกรณ์สื่อใน
    อนาคต สามารถพัฒนาขึ้นเป็นสื่อดิจิตอล (Digital
    Media) และมีแนวทางของการพัฒนา ให้มี
    คุณภาพดีขนทุกขณะ และราคาถูกลงอย่างเหลือ
                  ึ้
มาตรฐานของวีดทัศน์ดจิตอล
             ิ     ิ

   การพัฒนาเพือให้ได้มาตรฐานกลางของ วีดทัศน์
                   ่                           ิ
    ดิจิตอล ได้ก่อกำาเนิดขึ้นจากความร่วมมือของ
    บริษัทชั้นนำาทางด้านวีดทัศน์ดจิตอล นักวิชาการ
                             ิ    ิ
    จากมหาวิทยาลัย และผู้สนใจอีกมาก เพื่อให้ได้มา
    ซึงมาตรฐานกลาง สำาหรับนำาไปใช้กับขบวนการ วีดิ
      ่
    ทัศน์ สื่อวีดิทัศน์ และรวมไปถึงการแพร่ภาพทาง
    โทรทัศน์โดยเรียกชือมาตรฐานนี้วา “MPEG”
                          ่            ่
    ความร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อผลักดันมาตรฐานนี้ อาจ
    จะไม่ใช้มาตรฐานที่ดีที่สุด แต่ก็ถอว่าเป็นมาตรฐาน
                                     ื
    ที่มีคุณสมบัตแบบเปิด (Open System) ที่ผผลิต
                     ิ                           ู้
MPEG คืออะไร

   MPEG มาจากคำาว่า Moving Pictures Expers
    Group เป็นการทำางานของคณะบุคคลหลายสาขา
    อาชีพ ได้เข้ามากำาหนดมาตรฐานสำาหรับ ภาพ
    เคลื่อนไหวและเสียง โดยกำาหนดเป็นมาตรฐานภาย
    ใต้ ISO (Internal Standards Organization)
    และ International Electrotechnical
    Commission (IEC) มาตรฐานนี้บางส่วนได้มการ
                                           ี
    ประกาศและนำาไปใช้งานแล้ว และบางส่วนยังอยู่ใน
    ระหว่าง กำาหนดรายละเอียด
โดยแบ่งออกเป็น
MPEG-1

   ประกาศเป็นมาตรฐานที่ ISO/IEC-11172 เริ่มในปี
    1992 เป็นวีดทัศน์ดิจิตอล ที่มีทั้งภาพและเสียงที่
                ิ
    คุณภาพในระดับใช้งานทั่วไป พบเห็นได้ในผลิตภัณฑ์
    Video CD ได้แก่ VCD, SVCD, DVCD
   MPEG-1 เป็นจุดเริ่มต้นในความชัดเจนของ
    มาตรฐานที่ให้คำาตอบว่า “Digital Video” สามารถ
    เข้ามาทดแทนระบบ Analog แบบเดิมได้ ผลิตผล
    ที่ออกมาในรูปของ Video-CD ที่กำาลังเข้ามา
    แทนที่เทปวีดทัศน์ (Video Tape) เพราะให้
                  ิ
    คุณภาพที่ทัดเทียมกันการใช้งานการจัดเก็บการ
    ผลิตที่ดีกว่าและราคามีแนวโน้มที่ทัดเทียมกัน
MPEG-2
   ประกาศเป็นมาตรฐานที่ IOS/IEC-13818 เริ่มใน
    ปี 1995 ใช้เทคโนโลยีที่ปรับปรุงมาจาก MPEG-1
    แต่เน้นไปที่คุณภาพที่ดกว่า พบเห็นได้ในระบบ
                          ี
    DVD และ Digital TV
   จากความสำาเร็จของ MPEG-1 จึงได้สร้าง
    มาตรฐานใหม่โดยเน้นไปที่คุณภาพของภาพโดย
    ให้ชอว่า MPEG-2 .ในปัจจุบันนับได้ว่ามาตรฐานนี้
         ื่
    นิ่งแล้วไม่มีการปรับเปลี่ยนอีกแล้ว… ถึงแม้ว่า
    MPEG-2 จะมีการกำาหนดรายละเอียดย่อยออก
    เป็นหลายประเภท (Profile) แต่ละประเภท ยังมีข้อ
    ปลีกย่อยออกไปอีกเป็นระดับ (Level)
   กิจกรรมของขบวนการสือจะต้องเลือกใช้ให้
                            ่
    เหมาะสม เช่น ในขั้นตอน Post-Production
    ควรเป็น P@ML มีการจัดเก็บที่ยังคงนำาไปตัด
    ต่อได้ แต่เมื่อผ่านพ้นขบวนการนี้ไปแล้ว ควร
    เก็บไว้แบบ MP@ML เพราะใช้เนือที่ในการ
                                     ้
    จัดเก็บน้อยกว่ากันมาก และง่ายต่อการนำาไป
    เผยแพร่ หรือการทำาเป็นแผ่น DVD… ผลิตผล
    ที่ออกมาในรูปของ DVD จึงเป็นชนิดหนึ่ง
    (Profile) ของ MPEG-2 ที่ใช้สำาหรับเผยแพร่
    ออกเป็นแผ่น DVD ทำาให้ภาพของ Digital
    Video มีความชัดเจนอย่างแท้จริง ด้วย
MPEG-3

   เป็นการเน้นไปที่ HDTV (Hi-Definition TV) แต่
    ปรากฎว่า สามารถใช้เทคโนโลยีเดียวกันกับ
    MPEG-2 ได้ ดังนั้น มาตรฐานนี้ให้ไปรวมอยูใน
                                             ่
    MPEG-2
MPEG-4

   ประกาศเป็นมาตรฐานที่ IOS/IEC-14496 เริ่มใน
    ปี 1998 (ver. 1) โดยมีแนวทางในการจัดส่งภาพ
    และเสียง การตอบสนอง และการส่งผ่านข้อมูลที่ใช้
    ความเร็วตำ่าให้ที่สุด เพื่อให้การส่งข้อมูลในลักษณะ
    นี้ผ่านทางระบบ Interner ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   MPEG-4 เป็นอีกมาตรฐาน ที่กำาลังเป็นคูแข่งใน
                                           ่
    ขบวนการเผยแพร่บน ระบบอินเตอร์เน็ตกันอยู่ใน
    ปัจจุบัน อาจจะเรียกได้วามาตรฐานนี้ยังไม่นิ่ง แต่ก็
                           ่
    มีความชัดเจนออกมามากที่เดียวเป็นความพยายาม
    ที่จะลดขนาดข้อมูล คล้ายกับ MPEG-1,
    MPEG-2 โดยทำาให้มีขนาดข้อมูลที่เล็กกว่า
   ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ที่เป็น MPEG-4 ส่วนมากจะใช้
     Software CODEC อย่างเช่น Windows Media
    Technology ของ Microsoft และคาดว่าจะมีการ
    ผลิตออกมาเป็นอุปกรณ์เฉพาะ (Integrated
    Circuits หรือ IC) ที่มีทั้งการ Encode และ
    Decode และการทำาออกมาเป็น Set Top Box…
   ขบวนการเหล่านี้จะเป็นข้อพิสูจน์ของ MPEG-4
    ที่มีแนวโน้มที่จะมาเป็นมาตรฐานของการเผยแพร่
    แบบความเร็วตำ่า (Low bit rate) ไปบนระบบ
    สื่อสารอินเตอร์เน็ต และรวมไปถึงการแพร่ในแบบ
    Hi-Bitrate ไปบนระบบเครือข่ายที่เรียกว่า
    “Broadband Communication”
   ปัจจุบันมีผู้ผลิตหลายราย อย่างเช่น PHILIPS,
    Optibase… ได้ประกาศแนวทางของอุปกรณ์ที่
    เป็น MPEG-4 ที่มีทั้ง Encode และ Decode
    ที่ประกอบลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ และที่เป็น
    “Set Top Box” และมีข้อสังเกตอยู่อย่างหนึ่งก็คอ
                                                 ื
    อุปกรณ์เหล่านี้จะทำางานได้ทั้ง MPEG-1,
    MPEG-2 และ MPEG-4
   MPEG-7 บและค้นหาส่วนประกอบของข้อมูลเราได้
    เป็นการจัดเก็
    อะไรจากแนวทางของ MPEG
   แนวทางวีดิทัศน์ดจิตอล นั้นมีมาหลายปีแล้ว สำาหรับ
                      ิ
    บ้านเรายังถือว่าเป็นเรืองใหม่ และเป็นช่วงของการปรับ
                           ่
    เปลียนในขบวนการจากระบบเดิม (อนาลอก) ไปสู่
        ่
    ระบบดิจิตอล การเลือกใช้มาตรฐานกลาง ที่มีขบวนการ
    พัฒนามาอย่างมีระบบ มีการเปิดเผยรายละเอียด ที่ผู้
    ผลิตสามารถนำาไปผลิตได้ เป็นแนวทางที่ไม่หยุดนิ่ง มี
    แนวทางที่ครอบคลุมไปสู่อนาคตอย่างทั่วถึง ดังนั้น
    “MPEG” จึงเป็นการป้องกันการผูกขาดจากผู้ผลิต
    อุปกรณ์ ความเข้ากันได้ด้วยระบบมาตรฐานกลางจะ
    ทำาให้ทั้งขบวนการจัดทำาไปจนถึงการเผยแพร่ เป็นไป
MPEG-2 Technology

   ถ้าลองย้อนมามองดูมาตรฐานของระบบโทรทัศน์ใน
    ปัจจุบัน NTSC 525 เส้น 60Hz กับ PAL 625 เส้น
    50Hz เป็นมาตรฐานที่เป็นไปตาม ITU-RBT.601
    เมื่อนำาเอามาตรฐานนี้มาทำาการส่งแบบดิจิตอลจะต้อง
    ใช้ Bandwidth 6MHz หรือความเร็วในการสื่อสาร
    270Mbit/s
   ในโลกของการสื่อสารแบบอนลอก ที่นำาเอา
    NTSC/PAL ใช้การ Modulate แบบ AM-VSB
    ที่ได้ใช้กันมานานกว่า 60 ปี ระบบนี้เมือนำามาเข้า
                                           ่
    รหัสแล้วส่งออกไปในรูปของ SDTV (Standard
    Digital TV) ก็คงทำาได้ทันที แต่ดวยความต้องการ
                                      ้
    ภาพที่ดีกว่าในระบบ HDTV (Hi-Definition TV)
    ทำาให้ตองใช้ Bandwidth สูงขึนกว่า 5 เท่า
             ้                      ้
    หรือความเร็วสื่อสารมากถึง 1.485Gbit/s จะเห็น
    ได้ว่าแนวทางนี้ ถ้าไม่มีการบีบอัดข้อมูลแล้ว นับได้
    ว่าไม่มีทาง เป็นไปได้อย่างแน่นอน
   MPEG เป็นเทคโนโลยีในการบีบอัดข้อมูลภาพ เริ่ม
    วางแนวทางมาตังแต่ปี 1990 ด้วยมาตรฐาน
                      ้
    MPEG-1 เป็นการนำาภาพ “Low Resolution” ให้
    ภาพขนาดหนึ่งในสี่ของมาตรฐาน CCIR 601 นำามา
    ใช้ที่ความเร็วไม่เกิน 1.5Mbit/s จากความสำาเร็จนี้เป็น
    หนทางนำาไปสู่ MPEG-2 ที่มีแนวทางเป็น Home
    Entertainment เป็นเทคโนโลยีที่ได้กำาหนดเงื่อนไข
    ในการบีบอัด ทั้งภาพและเสียง และเงื่อนไขการทำางาน
    อย่างชัดเจน จนออกมาเป็นระบบ Digital TV ที่ใช้กับ
    ช่องสัญญาณสื่อสารเดิมขนาด 6MHz และความเร็ว
   MPEG-2 Technology เป็นการบีบอัด
    ข้อมูลและการลดข้อมูลที่ไม่จำาเป็นออกไป
   แนวทางของ MPEG-1 และ MPEG-2 ก็คือการ
    ที่พยายามลดรูปแบบข้อมูล ที่ซำ้ากันของสัญญาณ
    วีดิทัศน์ออกไป เพื่อทำาให้สามารถลดความเร็วใน
    การสื่อสารลงได้ แต่กยังไม่เพียงพอจึงต้องใช้
                         ็
    แนวทางที่เรียกว่า Human Visual System (HVS)
     หรือความสามารถในการของเห็นภาพของคนโดย
    เฉลี่ย จึงเกิดเป็นแนวทางของเทคโนโลยี ดังนี้
(1) ข้อมูลที่ไม่มีความสำาคัญต่อภาพ อย่างเช่น
  Vertical-Horizontal Banking data ซึงข้อมูล
                                       ่
  เหล่านี้ไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อคุณภาพของภาพ
  จึงตัดออกได้
(2) ข้อมูลซำ้าในเชิงสถิติ อย่างเช่น ช่วงที่ไม่มี
  ข้อมูลหรือช่องว่าง ข้อมูลเหมือนกันที่อยู่ชดกันสี
                                            ิ
  เดียวกัน ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก จน
  สายตาคนทั่วไปไม่สามารถสังเกตุหนได้ ขนาด
                                     ็
  ของข้อมูลเหล่านี้สามารถลดทอนลงได้ และเมื่อ
  ลดทอนลงแล้วยังคงทำาให้ได้ภาพเหมือนเดิม
  (Lossless)
(3) ข้อมูลที่นอกเหนือจากความสามารถของคนที่
  จะรับรู้ได้ โดยอาศัยแนวทางของ HVS อย่าง
  เช่นแสงที่น้อยเกินไปหรือสีที่ไม่มีผลต่อการเห็น
  ภาพ ทำาให้เราสามารถกำาจัดออกไปได้ (Lossy)
   ซึงแนวทางทั้ง 3 นี้ได้กลายเป็น Key
     ่
  Technology ของ MPEG
เครื่องมือที่ใช้ในการบีบอัดข้อมูล

   DCT (Discrete Cosine Transform) โดยการ
    แบ่งภาพออกเป็นตารางเล็ก ๆ ขนาด 8 x 8 จุด
    (Block) ที่มีขอมูลของภาพเป็น Iuminance (Y)
                   ้
    และข้อมูลสี (color difference) เป็น CB/CR ดัง
    นั้นแต่ละชุดข้อมูล (Block) จึงมีขอมูลย่อยอีก 64
                                     ้
     ชุดข้อมูล ที่ใช้อธิบายระดับสัญญาณ dc ในส่วนนี้
    จะไม่มีขอมูลส่วนใดสูญหายไปได้เลย
             ้
   DCT (Discrete Cosine Transform) โดยการ
    แบ่งภาพออกเป็นตารางเล็ก ๆ ขนาด 8 x 8 จุด
    (Block) ที่มีขอมูลของภาพเป็น Iuminance (Y)
                   ้
    และข้อมูลสี (color difference) เป็น CB/CR ดัง
    นั้นแต่ละชุดข้อมูล (Block) จึงมีขอมูลย่อยอีก 64
                                     ้
     ชุดข้อมูล ที่ใช้อธิบายระดับสัญญาณ dc ในส่วนนี้
    จะไม่มีขอมูลส่วนใดสูญหายไปได้เลย
             ้
   REQ (Requantizing) เนื่องจากข้อมูลที่เกิดขึนที่
                                                  ้
    DCT มีเป็นจำานวนมาก และมีกลุ่มของข้อมูล
    จำานวนมากที่มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ (0) ข้อมูลในส่วนนี้
    มีผลต่อการมองเห็นภาพน้อยมาก (HVS) ทำาให้
    สามารถกำาจัดออกไปแล้วไม่มีผลต่อคุณภาพของ
    ภาพ (Lossy)
   RLC (Run-length coding) จากผลจาก DCT
    จะได้ระดับความสูงของสัญญาณ ที่เหมือนกันจะให้
    ระดับที่เท่ากัน หรือใกล้เคียงกันมาก เราสามารถ
    แทนที่ค่าของสัญญาณเหล่านี้ ได้ด้วยชุดข้อมูล
    เพียงชุดเดียว เพื่อใช้อธิบายกลุ่มของข้อมูลที่เหมือ
    นๆกัน วิธีนี้ทำาให้ลดขนาดของข้อมูลลงไปได้มาก
   VLC (Variable length coding) เป็นเทคนิคการ
    สร้าง ตัวแทนข้อมูล ที่ใช้อธิบายชินส่วนของภาพ
                                     ้
    ในลักษณะของกลุ่มข้อมูล อย่างเช่นภาพนิ่งที่ปราก
    ฎบ่อยๆ หรือวัตถุที่เคลื่อนที่
   Buffer หรือที่พักข้อมูล เนื่องจากข้อมูลที่ได้ใน
    แต่ละภาพ มีขนาดไม่เท่ากัน ที่พักข้อมูลจะทำา
    หน้าที่รับข้อมูลภาพที่มีขนาดไม่เท่ากัน (Variable
    Bit Rate) ให้เป็นข้อมูลที่เท่ากันอย่างสมำ่าเสมอ
    (Constant Bit Rate) เพือให้การทำางานทั้งระบบ
                              ่
    สามารถขับเคลือนไปได้ ภาพไม่สะดุด
                    ่
เมื่อนำามารวมกันให้เป็น MPEG
โครงสร้างของ MPEG ประกอบมาจาก
โครงสร้างพืนฐาน 6 ระดับ คือ
           ้
   1. Block หรือหน่วยย่อยเล็ก ๆ ของภาพ ที่
    ประกอบไปด้วยจุด 8 x 8 และกลุมของข้อมูลที่
                                   ่
    เป็น สีเทา (Y) และข้อมูลสี (color difference)
    CB/CR
   2. Macro-block เป็นกลุ่มของข้อมูลในระดับ
    Block โดยให้ 4 (สี่) ชุดข้อมูลของ Block
    ประกอบขึ้นเป็นข้อมูลภาพแบบ 4:2:0 หมายถึงที่
    Macro-block จะมีสัญญาณ Y อยู่ 4 ชุด และ
    สัญญาณ CB/CR อย่างละชุด หรือในกรณี 4:2:2
    ก็จะเพิ่มในส่วนของ CB/CR เข้าไปอีกอย่างละชุด
   3. Slice เป็นกลุ่มของ Macro-block ที่นำามา
    เรียงต่อกัน
   4. Picture เป็นภาพที่เกิดจากกลุ่มของภาพย่อย
    มาทำาให้ต่อเนื่องกัน (Group of Slice) ภาพย่อย
    แต่ละภาพสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
    –   I-intraframe code เป็นข้อมูลภาพที่รับเข้ามา ผ่าน
        ขบวนการลดทอนในแบบ Lossy และ Lossless
    –   P-predicted เป็นข้อมูลภาพที่รับข้อมูลจาก I แล้วนำา
        มาผ่านขบวนการลดทอนลงไปอีกโดยการตัดข้อมูลทีซำ้า   ่
        ซ้อนออกไป
    –     B-bidirectional code เป็นข้อมูลภาพสำาหรับการเชื่อม
        โยงเมื่อข้อมูลมีการเลื่อนไป-มา (Forware-Bcakward)
   5. Group of Picture (GOP) เป็นภาพที่เกิดจาก
    องค์ประกอบของ I,P,B ลำาดับของภาพจะประกอบ
    ไปด้วยชุดข้อมูลของ I กับ P,B จำานวน 15 ชุด
   6. Video Sepuence หรือภาพวีดิทัศน์ที่ปรากฎ
    ออกมา จะเป็นภาพที่ประกอบไปด้วย GOP ตั้งแต่
    เริ่มต้นข้อมูลไปจนกระทั่งจบสิ้นข้อมูล
การจำาแนกชนิดและประเภท ของ
MPEG-2

   เนื่องจากแนวทางตามมาตรฐานของโทรทัศน์ ที่มี
    ในปัจจุบัน (SDTV) และแนวทางของ HDTV
    ทำาให้การจำาแนกชนิดและประเภทของ MPEG-2
    ต้องทำาให้สอดคล้องกัน และให้เป็นแนวทาง
    สำาหรับผูผลิตสื่อ ให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างมี
             ้
    ประสิทธิภาพ ดังนั้น ขอบเขตจึงถูกกำาหนด เพื่อใช้
    รองรับกับสื่อ DVD การนำาไปเผยแพร่ในระบบ
    Broadband และการนำาไปใช้กับ โทรทัศน์ดิจิตอล
    (Digital TV)
ตารางแสดง Maximum constraint parameter for MPEG-2
   Profile     Simple        Main         4:2:2       SNR         Spatial       Hight
              I,P 4:2:0      I,P,B       Profile      I,P,B        I,P,B        I,B,P

   Level                     4:2:0        I,P,B       4:2:0        4:2:0        4:2:0,
                                                                                4:2:2
      Hight               1920 x 1152                                         1920 x 1152
                           80 Mbit/s                                           100 Mbit/s


      Hight               1440 x 1152                           1440 x 1152   1440 x 1152
      1440                 60 Mbit/s                             60 Mbit/s     80 Mbit/s


      Main    720 x 576    720 x 576    720 x 608   720 x 576                  720 x 608
              15Mbit/s     15 Mbit/s    50 Mbit/s   15 Mbit/s                  20 Mbit/s

       Low                 352 x 288                352 x 288
                            4Mbit/s                  4 Mbit/s
levels and profiles
ขีดจำากัด ที่ ระดับ (Level) และชนิด (Profile)
ของ MPEG-2



     MPEG-2 จะมีรูปแบบของการกำาหนดที่สมบูรณ์
      และหลากหลาย จึงได้กำาหนดระดับของการระบุ
      มาตรฐานออกเป็น Profiles และ Levels โดยที่
      Profiles จะบ่งบอกถึง ความสามารถ และคุณภาพ
      ในการเข้ารหัส อย่างเช่น I,P 4:2:0 จะให้คุณภาพ
      ที่ตำ่ากว่า I,P,B 4:2:2 และ Levels เป็นการระบุ
      ถึง ขนาดของภาพและความเร็ว ที่ใช้
   จากตาราง จะเห็นได้ว่า มาตรฐาน MPEG-2 นั้น
    สามารถรองรับการใช้งานในระดับ SDTV ไปจนถึง
     HDTV ได้อย่างสมบูรณ์ และเป็นเหตุให้
    MPEG-3 ไม่มีความจำาเป็นเพราะใช้เทคโนโลยี
    เดียวกันและสามารถทดแทนได้ด้วย MPEG-2
   จะเห็นได้ว่าเนื้อแท้หรือตัวเทคโนโลยีของ MPEG
    เป็นการกล่าวถึงขบวนการแสดงภาพโดยนำามาเรียง
    ต่อกันคล้ายกับภาพในฟิล์มภาพยนต์ แต่จะแตก
    ต่างกันก็ตรงที่แต่ละภาพของ MPEG เป็นภาพที่
    ถูกลดขนาดและอาศัยการชดเชยด้วยขบวนการ
    ข้อมูล (Information System) ทำาให้เราเห็นภาพ
    ที่คมชัดได้ และขบวนการสร้างภาพที่เกิดจากความ
    แตกต่าง ทำาให้ภาพย่อยแต่ละภาพ มีขนาดไม่เท่า
    กันจึงมีผลไปถึงกระบวนการสื่อสารที่เป็นแบบ
    “Variable Bit Rate”
MPEG ความสูญเสียที่ไม่สญเสีย
                       ู
ทำาไมภาพวีดิทศน์ที่แสดงบนเครื่อง
               ั
คอมพิวเตอร์ บางเครืองก็คมชัดดีมาก
                      ่
แต่บางเครืองก็ดแทบไม่ได้เลย เสียงที่
           ่     ู
ออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ บางเครื่อง
ก็คมชัดดีมาก ให้คณภาพระดับสตูดโอ
                    ุ                    ิ
แต่บางเครืองก็ให้เสียงพอฟังได้… อะไร
             ่
เป็นปัจจัยสำาคัญที่เป็นเครื่องชี้วัดสิ่ง
เหล่านี้
การทำางานของสายธารข้อมูล
(Streaming Data) ของวีดโอและเสียง
                          ิ
เป็นสัญญาณทีมีการไหลต่อเนื่องกัน
               ่
ตลอดเวลา ปัจจัยที่สำาคัญอย่างหนึงที่
                                 ่
เป็นตัวบงบอกถึงคุณภาพจะอยู่ที่ A/D
และ D/A สำาหรับข้อมูลทีรับเข้ามาจะ
                       ่
ทำาการบีบอัดหรือไม่ ขนาดมาก-น้อย จะ
ขึ้นอยู่กบ Encoder/Decoder
         ั
A/D (Analog to Digital Converter)

   เป็นอุปกรณ์ Hardware ที่ทำาหน้าที่ในการรับ
    สัญญาณภาพและเสียง แล้วแปลงระดับของ
    สัญญาณ สูง-ตำ่า ให้ไปเป็นตัวเลข ในกรณีของ
    เสียงจะเป็นตัวอย่างที่เข้าใจได้ง่าย ความดังจะเป็น
    ความสูง-ตำ่าของสัญญาณ โดยใช้ Bit-Resolution
     เป็นตัวบงบอกถึงความละเอียดในการแบ่งส่วน
    เช่น 16 Bit จะแบ่งชันได้ 65,536 ส่วน ซึงจะ
                          ้                    ่
    สัมพันธ์กับ Dynamic Range ของเสียง และ
    คุณสมบัติที่สำาคัญอีกอย่างก็คือ Sampling Rate
    เป็นคุณสมบัตที่เกี่ยวพันกับ Bandwidth ของเสียง
                   ิ
    ที่รับเข้ามา เช่น sampling rate 44Hz จะเป็น
   แต่ในกรณีของวีดทัศน์จะดูซับซ้อนกว่ากันมาก โดยเฉพาะ
                      ิ
    อย่างยิ่งการจับความเคลือนไหวจะมีเทคนิค ในการแยกราย
                            ่
    ละเอียดของภาพอยู่เหลายแบบ และต้องใช้ A/D หลาย
    ชุด แต่อย่างไรก็ตาม Bit Resolution และ Sampling
    Rate ก็ยังเป็นปัจจัยสำาคัญในการบงบอกถึงคุณภาพของ
    ภาพโดยกระบวนการทางเทคนิคของภาพ ที่ต้องการ
    Bandwidth ถึง 5MHz จึงต้องใช้ Sampling Rate ไม่นอย    ้
    กว่า 10MHz อุปกรณ์ทต้องทำางานรวดเร็วขนาดนีเป็นข้อ
                              ี่                      ้
    จำากัด ดังนันอุปกรณ์ทใช้กับวีดิทัศน์ที่มีคุณภาพระดับกลาง
                ้        ี่
    จะใช้ Bit Resolution ที่ 6-8Bit สำาหรับงานที่ตองการ
                                                    ้
    คุณภาพสูงจึงจะใช้ 10 Bit หรือมากกว่า
D/A (Digital to Analog Converter)

   เป็นอุปกรณ์ Hardware ที่เปลี่ยนจากข้อมูล
    ดิจิตอลให้กลับไปเป็นสัญญาณเสียงและภาพซึง  ่
    คุณสมบัติของ Bit Resolution และ Sampling
    Rate ก็ยังคงให้ความสำาคัญเหมือนกับ A/D ทุก
    อย่างแต่ไม่จำาเป็นต้องเป็นชุดเดียวกัน
   ทั้ง A/D และ D/A ต่างก็เป็น Hardware ทำาหน้าที่
    เชือมต่อระหว่างโลกของอนาลอก กับโลกของดิจิตอล
        ่
    เมื่ออยู่ในโลกของดิจิตอล ก็จะพบ

    ขบวนการ Encoder/Decoder ที่ทำาหน้าที่บีบอัด
    ข้อมูลให้เล็กที่สุดที่ยงคงคุณภาพเช่นเดิมอยู่ ข้อมูลที่
                           ั
    รับเข้ามาโดยตรงจาก A/D นั้นถ้าเป็นเสียงที่ใช้
    Sampling Rate 44KHz 16Bit จะต้องใช้พื้นที่สำาหรับ
    จัดเก็บ 88Kbyte/sec ถ้าเวลาเป็นชัวโมง จะต้องใช้
                                        ่
    พื้นที่ 316.8Mbyte จะเห็นได้ว่าการจัดเก็บด้วยวิธีนี้
    คงไม่คุ้มค่าใช้จ่ายอย่างแน่นอน จึงมีความพยายามที่
    จะบีบอัดข้อมูลให้เล็กที่สุดที่ยงคงคุณสมบัติ ได้ใกล้
                                   ั
    เคียงกับสัญญาณตั้งต้นให้มากที่สุด แต่ถาจะบอกว่า
                                            ้
    ระบบนี้ไม่มีความสูญเสียเลย คงเป็นไปไม่ได้ แต่ถาจะ ้
ความสูญเสียที่ไม่สญเสีย
                  ู

   ความสูญเสียนั้นจะเกิดขึนได้ 2 ลักษณะ อันดับ
                           ้
    แรกเป็นความสูญเสีย อันเกิดจากขบวนการทำางาน
    ในแบบดิจิตอล กับ ความสูญเสียอันเกิดจากข้อมูล
    ที่ไม่มีความสำาคัญ
   ในแบบอนาลอก การบีบอัดเสียง (Compress) ถือได้ว่า
    เป็นขบวนการ ประมวลผลข้อมูลทางอนาลอกอย่างหนึง         ่
    เพื่อทำาให้เสียง สามารถผ่านเข้าไป ในช่องสัญญาณต่าง ๆ
    ได้เป็นอย่างดี และเมื่อถึงจุดสุดท้ายที่นำาออกมาใช้งานโดย
    การคลาย (Decompress) เราจะพบว่าสัญญาณที่ออกมา
    นันมีการสูญเสีย (% Loss) ไปบ้าง แต่การประมวลผลใน
      ้
    ระบบดิจิตอลแล้ว ในขบวนการบีบอัด
    (Compress/Decompress) จะต้องไม่มีการสูญเสียเลย
    เพราะการสูญเสียหรือผิดพลาดเพียง bit เดียว อาจทำาให้
    ข้อมูลทั้งหมดผิดได้ อย่างเช่นโปรแกรม Zip ดังนัน ้
    ขบวนการบีบอัดในระบบดิจิตอลแล้วถือได้ว่าเป็นขบวนการ
    แบบ ไม่สูญเสีย (Lossless)
   ความสูญเสียอันเกิดจากข้อมูลที่ไม่มีความสำาคัญ จะขอ
    เริ่มที่ตวอย่างของเสียง (Audio) เทคนิคการเข้ารหัส
             ั
    และการกำาจัดสัญญาณที่ไม่จำาเป็นออกไป โดย
    ธรรมชาติของคนเรา ทางด้านการฟังเสียงเราสามารถ
    รับฟังเสียงได้ดที่ความถี่
                    ี

    ปานกลาง (600Hz-3.5KHz) ความถีที่สูงหรือตำ่าเกิน
                                        ่
    ไปการรับรู้จะน้อยลง ความดังของเสียงที่เบาเกินไปก็
    ไม่สามารถรับฟังได้ แต่ตัวอุปกรณ์รบเสียง (A/D) จะ
                                      ั
    รับเอาเสียงทั้งหมดเข้ามาเป็นข้อมูล (Data) พอมาถึง
    กระบวนการเข้ารหัส ก็จะตัดสิ่งที่ไม่สอนองต่อการ
    ได้ยินออกไป ส่วนจะออกไปมาก-น้อย ก็ขนอยู่กับช่วง
                                            ึ้
    ความถีที่ต้องการ (Bandwidth) จากหลักการนี้เอง จึง
           ่
    ทำาให้การเข้ารหัสแบบต่าง ๆ แข่งขันกันเพื่อทำาให้มี
    ขนาดเล็กที่สุดที่ยังคงคุณภาพอยู่ได้ ในแง่ของคำาว่า
   จะเห็นได้ว่าความสูญเสียที่ขาดหายไป เป็นการจำากัด
    ขอบเขตและการกำาจัดข้อมูล ในส่วนที่อยู่นอกขอบเขต
    ออกไป ดังนั้นความสูญเสียของสัญญาณเสียง จึง
    กระทบต่อการฟังของเราน้อยมาก เพื่อสนองการได้ยิน
    แล้วถือได้ว่าระบบ “ไม่สูญเสีย” หรือ Lossy
   ตัวอย่างของเสียงเป็นสิ่งที่เข้าใจได้ง่ายกว่าภาพวีดิ
    ทัศน์ ซึงก็เป็นเรื่องทำานองเดียวกันเพราะว่าการรับรู้
            ่
    ถึงภาพที่เคลื่อนไหว สี…ด้วยตาของเราไม่สามารถ
    แยกแยะได้ทั้งหมด การเข้ารหัสจะเป็นการกำาจัด
    ข้อมูลที่ธรรมชาติของการมองเห็นไม่สามารถรับรู้
    ได้ ข้อมูลที่กำาจัดออกไป จึงถือได้ว่าเป็นความสูญ
    เสียของสัญญาณภาพที่กระทบต่อภาพที่มองเห็น
    น้อยมาก
   ทั้งระบบภาพและเสียง กับขบวนการ
    Encoder/Decoder เป็นภาระที่หนักมาก ของการ
    ประมวลผลที่จะต้องทำางานในแบบ Real-time
    โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้งานที่ต้องการคุณภาพ
    Encoder/Decoder มักจะเป็น Hardware ที่ทำา
    หน้าที่นี้โดยตรง แต่ถ้าจะใช้งานกันแบบพอใช้ได้ ก็
    สามารถใช้ Software ทำาได้เช่นกัน ความแตก
    ต่างในเชิงคุณภาพ จะอยู่ที่ความสามารถในการ
    ทำางาน ว่าจะทำาได้ทันในแบบ Real-time หรือไม่
    หรือต้องลดคุณภาพลงจึงทำาได้ทัน
   ในทำานองเดียวกันนี้จึงมีโปรแกรมทางด้านวีดีโอ
    และเสียงบางค่าย แทนที่จะใช้ Hardware ในการ
    ทำางาน แต่กลับใช้ Software ในการจัดการ
    ทั้งหมด แล้วไปเพิ่มประสิทธิภาพขอการประมวล
    ผลโดยเพิ่มจำานวน CPU เข้าไปอีก ความเร็วใน
    การประมวลผลมากกว่าปกติหลายร้อยเท่า ซึงก็ได้
                                             ่
    ผลดีเช่นกันเพราะข้อดี ของการใช้ Software ก็คือ
    จะทำาให้ระบบการทำางานมีความอ่อนตัวมาก ความ
    สามารถในการปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาคุณภาพ
    ให้สูงขึ้นได้ง่าย
   การใช้งานโดยทั่วไปแล้ว การ Encode ไม่ว่าจะ
    เป็น MPEG-1 หรือ MPEG-2 มักเป็น
    Hardware เพือให้ทำางานได้ทัน แต่การ Decode
                   ่
    มักใช้ Software เพราะราคาจะถูกกว่ากันมาก
    สำาหรับงานคุณภาพแล้ว การใช้ Hardware
    Decoder มักจะให้คุณภาพที่ดีกว่า อย่างเช่น การ
    ดูหนังที่เป็น VCD/DVD จากจอคอมพิวเตอร์ ดู
    แล้ไม่ชดเท่าที่ควร ก็เพราะโดยปกติระบบแสดง
            ั
    ภาพของคอมพิวเตอร์เมื่อนำามาดูหนังจะใช้
    Software Decode ถ้าเราเปลี่ยนมาเป็น
   จะเห็นได้ว่าความสูญเสียหรือ “% Loss” ในขบวนการบีบ
    อัดข้อมูลอย่าง MPEG แล้วถ้ามองกันแบบขบวนการปกติ
    ข้อมูลไหลเข้ามาสู้ขบวนการบีบอัดข้อมูลแบบ MPEG แล้ว
    ออกไปเป็นข้อมูล ในรูปแบบ MPEG format นัน ถือได้ว่า
                                                    ้
    เป็นข้อมูลทีมีความสูญเสียที่สูงมาก การบีบอัดทำาได้ถึง
                     ่
    90% แต่เนืองจากความฉลาดของ กระบวนการลดทอน
                   ่
    ข้อมูล จึงทำาให้ข้อมูลในส่วนที่สูญเสียไปทังหมดนั้น เป็น
                                              ้
    ข้อมูลที่ไม่มีความจำาเป็น ต่อสัมผัสของมนุษย์ทั้งสิ้น ดังนัน
                                                              ้
    MPEG จึงเป็นการบีบอัดข้อมูลที่เหมาะสำาหรับการใช้กับ
    มนุษย์เท่านัน แต่อาจไม่เหมาะสำาหรับกิจกรรมทาง
                 ้
    วิทยาศาสตร์ หรือขบวนการอื่นที่ต้องการการจัดเก็บแบบ
    100% จริงๆ
การใช้งานโปรแกรม
Adobe Premiere 6.5
Premiere คืออะไร
   โปรแกรม Adobe Premiere คืออะไร หลายคนที่เคย
    ใช้โปรแกรม Photoshop ในการตัดต่อภาพคงเคย
    ได้ยินถึงชือเสียงของโปรแกรม Adobe Premiere มา
               ่
    บ้าง โปรแกรม Adobe Premiere หรือที่เรียกกันสั้นๆ
    ว่า Premiere นั้นก็คล้ายกับ Photoshop แต่แตกต่าง
    ตรงที่ Photoshop ใช้ในการตัดต่อภาพ แต่ Adobe
    Premiere ใช้ในการตัดต่อภาพยนตร์นั่นเอง
   หลายคนคงคิดว่าการตัดต่อภาพยนตร์เป็นเรื่องยาก
    แต่สำาหรับโปรแกรม Adobe Premiere แล้วไม่ใช่
    อย่างที่คด เพราะการใช้งานที่ง่ายและขันตอนไม่สลับ
             ิ                           ้
ความต้องการระบบของ Adobe Premiere
   สำาหรับเครื่อง PC
         ระบบปฏิบัติการ Windows 98 Second
          Edition/2000 (Service Pack 2) ME/XP
         CPU Intel Pentium III 500 MHz หรือมากกว่า
          สนับสนุน Pentium 4 หรือ Multiprocessor
         RAM 128 MB (ควรจะเป็น 256 MB หรือมากกว่า)
         ความละเอียดของหน้าจอ 600x800 Pixel ระบบสี
          ควรเป็น VGA 256 สี หรือสูงกว่า
         ความต้องการพื้นที่ในฮาร์ดดิสก์ 600 MB ในการติด
          ตั้งโปรแกรม
         หากต้องการใช้งานแบบ Real – Time Preview ควร
   สำาหรับเครือง MAC
               ่
         Power PC G3 หรือมากกว่าควรเป็น G4 หรือ
          G4 dual
         ระบบปฏิบัตการ Mac OS เวอร์ชน 9.0.2.2 Mac
                       ิ                 ั่
          OS 10.1.3
         RAM 64 MB ในการติดตั้งโปรแกรม (ควรเป็น
          128 MB หรือมากกว่า)
         พื้นที่ฮาร์ดดิสก์ 600 MB ในการติดตั้งโปรแกรม
         Apple QuickTime เวอร์ชน 5 ั่
การใช้ Premiere ตัดต่อภาพยนตร์

   สาเหตุที่เราสอนวิธีตัดต่อหนังให้ก่อน เพราะหาก
    เรามานั่งจำาคำาสั่ง และ Option ต่างๆ ของ
    Premiere อาจจะทำาให้เราเบื่อไปเสียก่อน ทั้งที่
    Premiere มีการทำางานที่ง่าย และเมื่อเราเข้าใจ
    แล้วก็จะเรียนรู้ได้อย่างสนุกสนาน
   เราจะนำาไฟล์วีดโอที่เราต้องการตัดต่อนั้นมาเปิดชม
                      ี
    โดยใช้ Premiere ซึงไฟล์วดีโอนี้เป็นไฟล์ที่ติดมา
                          ่     ี
    กับ Premiere อยู่แล้ว หากเราไม่ใช้ไฟล์วดีโอเรา
                                             ิ
    สามารถใช้ไฟล์รูปภาพธรรมดามาเปิดชมแบบไฟล์
    วิดีโอก็ได้
   1. เปิดไฟล์วิดีโอขึ้นมาก่อนโดยที่เราจะใช้ไฟล์วิดโอ
                                                    ี
    ที่มากับ Premiere โดยเลือกที่เมนู File > Import
    เลือกโฟลเดอร์ Sample Folder ซึงมีอยู่ใน
                                      ่
    โฟลเดอร์Premiere อยู่แล้ว
   2. เมื่อเปิดโฟลเดอร์ Sample Folder ขึนมาแล้วให้เรา
                                          ้
    เลือกไฟล์วดีโอขึนมา 2 ตัว โดยกดปุ่ม (Ctrl) ค้างไว้
                ิ    ้
    แล้ว Click ที่ไฟล์ที่ต้องการ โดยเราจะเลือกไฟล์วดีโอ
                                                    ิ
    ที่ชอว่า Cyclers และ Fastslow (เป็นไฟล์ที่มีมากับ
        ื่
    Premiereอยู่แล้ว) จากนั้นก็กดปุ่ม Open
   3. เมื่อเราได้ไฟล์วดีโอที่เราต้องการตัดต่อมาแล้ว
                       ิ
    สังเกตที่หน้าต่าง Project จะแสดงไฟล์วดีโอที่เรา
                                             ิ
    เลือกขึ้นมา
   4. ให้เรานำาเมาส์มาวางไว้ที่ไฟล์วดีโอชือ Cyclers.avi
                                     ิ     ่
    แล้วทำาการแดรกเมาส์ สังเกตว่าเมาส์ของเราจะเปลียน  ่
    เป็นรูปมือ ให้เราแดรกเมาส์มาปล่อยไว้ที่เลเยอร์
    Video 1A ในหน้าต่าง Timeline
   5. หลังจากนั้นเราก็สามารถดูไฟล์วิดโอได้จากหน้าต่าง
                                      ี
    Monitor ได้ โดยกดปุ่ม Play
   6. เสร็จแล้วให้เราลากไฟล์ภาพยนตร์ Fastslow.avi
    มาวางไว้ที่หน้าต่าง Timeline ต่อจากไฟล์ภาพยนตร์
    Cycler.avi
   7. เมื่อเรากดปุ่ม Play ที่หน้าต่าง Monitor สังเกตว่า
    ไฟล์ภาพยนตร์ทั้ง 2 เรื่อง จะเล่นต่อเนื่องกันไป
   นอกจากนันเรายังสามารถนำาไฟล์วดโอมาเรียง
               ้                     ิ ี
    ต่อกันหลายๆ ไฟล์ได้ด้วย เพื่อให้แสดงเป็น
    วิดโอเรื่องยาว โดยใช้ขั้นตอนเดียวกันกับวิธีที่
       ี
    เรา Open หรือ Import เข้ามา
รูจักคำาศัพท์ทใช้ใน Premiere
  ้           ี่

   สำาหรับ Premiere นั้นจะมีศพท์เฉพาะที่ใช้เรียก
                              ั
    องค์ประกอบต่างๆ ซึ่งเราจะใช้บ่อยๆ ใน Premiere
    เราจึงต้องทำาความเข้าใจกันก่อน ไม่เช่นนั้นเรา
    อาจจะสับสนได้ เนื่องจากมีการเรียกที่แตกต่าง
    จากโปรแกรมอื่นที่เราเคยใช้กันมา
   Project หมายถึง ไฟล์งานที่เราสร้างหรือกำาลังตัด
    ต่อกันอยู่ โดยเราจะเรียกไฟล์งานของเราว่า “โปรเจ็ค”
    ซึงจะครอบคลุมงานทั้งชินของเรา
      ่                    ้
   Clip หมายถึง ไฟล์วดีโอ ไฟล์ภาพ และไฟล์เสียง
                         ิ
    ต่างๆ ที่เราทำาการ Import หรือนำาเข้ามาใช้ โดยแต่ละ
    ไฟล์เราจะเรียกว่า “Clip”
   Track หมายถึง เลเยอร์ที่ใช้ใน Timeline ซึงแต่ละ
                                              ่
    เลเยอร์เราจะเรียกว่า Track เช่น เลเยอร์ของ Video
    1A เราจะเรียกว่า Track ของ Video 1A โดย Track
    เหล่านี้ใช้สำาหรับตัดต่อภาพยนตร์ และตัดต่อเสียงรวม
    ทั้งเทคนิคพิเศษต่างๆ
   Frame หมายถึง ช่องแต่ละช่องที่แสดงอยู่บน
    Timeline ซึงแต่ละช่องนี้จะแสดงภาพแต่ละภาพที่อยู่
               ่
    ใน Clip โดยจะเรียงต่อกันไปเรื่อยๆ เหมือนกับฟิล์ม
    ถ่ายหนัง และเราจะเรียกช่องเหล่านั้นว่า “Frame”
กล่องเครื่องมือ
การนำา Clip มาใช้

   เราคงทราบแล้วว่า Clip คือ ไฟล์วิดีโอ (ภาพยนตร์)
    ไฟล์ออดิโอ (เสียง) และไฟล์ภาพ ที่เราทำาการ
    Import เข้ามา โดยเลือกเมนู File > Import >
    File จากนั้นก็เลือกไฟล์ที่เราต้องการ ซึงเรา
                                           ่
    สังเกตได้วาเมื่อเรา Import เข้ามาแล้วไฟล์ Clip
               ่
    จะถูกเก็บไว้ในหน้าต่าง Project
ประเภทของไฟล์ที่ Premiere สามารถนำาเข้ามา
ได้
                      รูปแบบไฟล์                          นามสกุลไฟล์
Premiere Project                   *.ppj
Batch List                         *.pbl
EDL                                *.edl
Premiere Bin                       *.plb
Premiere Storyboard                *.psq
Premiere Title                     *.ptl
Text                               *.tet
AutoDesk Animation                 *.flc , *.fli
AVI Movie                          *.avi
ComuterServe GIF                   *.gif
DV                                 *.dv
Filmstrip                          *.fim
MPEG                               *.mpeg, *.mpe, *.mpg, *.m2v, *.mpa
QuickTime                          *.mov
Al File                            *.ai
Bitmap                             *.bmp, *.dib, *.rle
EPS File                           *.eps
JEPG                               *.jpg, *.jpe, *.jfif
Macintosh PICT                     *.pic, *.pct
PCX                                *.pcx
Photoshop                          *.psd
Targa                              *.tga
TIFF                               *.tif
Windows Metafile                   *.wmf
Audio Interchange                  *.aif
Mp3                                *.mp3
Windows Waveform                   *.wav
การนำา Clip มาใช้

   หลังจากที่เราทราบรายละเอียดเกียวกับ Clip เบื้อง
                                    ่
    ต้นกันแล้ว ต่อไปเราจะนำา Clip มาใช้งาน โดย
    เริ่มจากการ Import ไฟล์ Clip ที่เราต้องการใช้
    และนำา Clip ไปวางไว้บนหน้าต่าง Timeline โดยมี
    วิธีการดังนี้
1. เลือกที่เมนู File > Import > File หรือกดคีย์ (Ctrl+V)
เพื่อนำาไฟล์หรือ Clip ที่เราต้องการเข้ามาใช้
2. โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง Import ขึ้นมา จากนั้นให้เรา
เลือกโฟลเดอร์ที่เก็บ Clip หรือไฟล์ที่เราต้องการแล้ว Click
 Mouse ปุ่ม Open
3. สังเกตว่าไฟล์หรือ Clip ที่เราเลือกจะปรากฏที่หน้าต่าง
Project แสดงว่าไฟล์ที่เราต้องการถูก Import เข้ามาแล้ว
การนำา Clip มายัง Timeline

   Timeline เป็นหน้าต่างหลักในการตัดต่อ และเพิ่ม
    เติมเทคนิคพิเศษให้กับภาพยนตร์ ดังนั้นเราต้อง
    นำา Clip มาวางไว้บน Timeline
   หลังจากที่เรานำา Clip มาวางไว้ที่หน้าต่าง Project
    แล้ว ให้เรา Click Mouse ค้างที่ Clip บน
    หน้าต่าง Project แล้ว Drag mouse มาวางไว้
    ที่หน้าต่าง Timeline ตรง Track ของ Video 1A
    เพื่อให้ Clip สามารถทำาการตัดต่อได้
การแสดงภาพ Clip บน Timeline
เราสามารถกำาหนดรูปแบบการแสดง
ภาพของ Clip บน Timeline ได้ โดยจะ
ช่วยให้เราเห็นจุดเริ่มต้น จุดสุดท้าย
เหนือในแต่ละ Frame ว่าขณะนั้นกำาลัง
แสดงภาพอะไรอยู่ ซึงการปรับแต่งนี้
                       ่
ไม่มผลใดๆ ต่อ Clip แต่จะช่วยให้เรา
    ี
ทำางานสะดวกมากขึ้นเท่านั้น โดยเรา
สามารถกำาหนดได้ดงนี้ ั
   เลือกเมนู File > Window Options > Timeline
    Window Options
   จะปรากฏหน้าต่าง Timeline Window Options ให้
    เราเลือกที่ชอง Track Format เพื่อเลือกรูปแบบใน
                ่
    การแสดง Clip บน Track
กลุ่มเครื่องมือตัดต่อ


   เครื่องมือต่างๆ ในกล่องเครื่องมือของ Timeline
    นั้นยังมีเครื่องมือที่ซอนอยู่อีก ซึงมีหน้าที่ในการใช้
                           ่           ่
    งานที่แตกต่างกันออกไป เราจะมาเรียนรู้การใช้
    เครื่องมือเหล่านี้ได้ โดยเครื่องมือที่มีรูปสามเหลี่
    ยมเล็กๆ ที่มุมของเครื่องมือแสดงว่ามีเครื่องมือ
    ซ่อนอยู่ให้เรา Click Mouse ค้างไว้เพื่อแสดง
    เครื่องมือที่ซอนอยู่
                   ่
กลุ่ม Selection Tool
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e
U05 6b6e

More Related Content

What's hot

Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)phatrinn555
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...chanita
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
ระบบมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมีเดียระบบมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมีเดียNicharee Piwjan
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
Boonlert Aroonpiboon
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอแผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
krunueng1
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
Beerza Kub
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
Rachabodin Suwannakanthi
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
ajpeerawich
 

What's hot (18)

Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
ระบบมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมีเดียระบบมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมีเดีย
 
Lecture01_Introduction
Lecture01_IntroductionLecture01_Introduction
Lecture01_Introduction
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอแผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 
Random 130916022121-phpapp01
Random 130916022121-phpapp01Random 130916022121-phpapp01
Random 130916022121-phpapp01
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
 
ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 

Viewers also liked

คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401Apinya Singsopa
 
Media : Thai Television
Media : Thai TelevisionMedia : Thai Television
Media : Thai Television
sorayouth ngamchanpli
 
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นต้น
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นต้นการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นต้น
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นต้นSakulsri Srisaracam
 
Google partners event presentation section 1
Google partners event presentation   section 1Google partners event presentation   section 1
Google partners event presentation section 1
Thanachart Worrasing
 
จัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์
จัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์จัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์
จัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์Phattira Klinlakhar
 

Viewers also liked (9)

3g slide
3g slide3g slide
3g slide
 
Rt303ethic
Rt303ethicRt303ethic
Rt303ethic
 
Tvtype
TvtypeTvtype
Tvtype
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
 
Media : Thai Television
Media : Thai TelevisionMedia : Thai Television
Media : Thai Television
 
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นต้น
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นต้นการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นต้น
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นต้น
 
Google partners event presentation section 1
Google partners event presentation   section 1Google partners event presentation   section 1
Google partners event presentation section 1
 
จัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์
จัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์จัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์
จัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์
 

Similar to U05 6b6e

สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชgasanong
 
สื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัลสื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัลPhonkao Mickey
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
Communication Concept Day2 บ่าย
Communication Concept Day2 บ่ายCommunication Concept Day2 บ่าย
Communication Concept Day2 บ่าย
Jenchoke Tachagomain
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7Winwin Nim
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
รังสิมันตุ์ ชัยเชียงเอม
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
Jenchoke Tachagomain
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
Mrpopovic Popovic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Oat_zestful
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....kachornchit_maprang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....kachornchit_maprang
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
kruchanon2555
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์wetprasit
 

Similar to U05 6b6e (20)

สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
 
สื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัลสื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัล
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
Communication Concept Day2 บ่าย
Communication Concept Day2 บ่ายCommunication Concept Day2 บ่าย
Communication Concept Day2 บ่าย
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Lession1
Lession1Lession1
Lession1
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 

More from may53638332

หลักสูตรร
หลักสูตรรหลักสูตรร
หลักสูตรรmay53638332
 
มโนทัศน์เทคโนโลยีทางการศึกษา
มโนทัศน์เทคโนโลยีทางการศึกษามโนทัศน์เทคโนโลยีทางการศึกษา
มโนทัศน์เทคโนโลยีทางการศึกษา
may53638332
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
may53638332
 
Dox
DoxDox
เรียน030755
เรียน030755เรียน030755
เรียน030755
may53638332
 
สื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอล สื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอล
may53638332
 
เรียน 030755
เรียน  030755เรียน  030755
เรียน 030755
may53638332
 

More from may53638332 (7)

หลักสูตรร
หลักสูตรรหลักสูตรร
หลักสูตรร
 
มโนทัศน์เทคโนโลยีทางการศึกษา
มโนทัศน์เทคโนโลยีทางการศึกษามโนทัศน์เทคโนโลยีทางการศึกษา
มโนทัศน์เทคโนโลยีทางการศึกษา
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
Dox
DoxDox
Dox
 
เรียน030755
เรียน030755เรียน030755
เรียน030755
 
สื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอล สื่อดิจิตอล
สื่อดิจิตอล
 
เรียน 030755
เรียน  030755เรียน  030755
เรียน 030755
 

U05 6b6e

  • 1. บทที่ 5 Digital Media ทิศทางของสือดิจตอล ่ ิ
  • 2. เมื่อเราพูดถึงคำาว่า “สื่อสาร” หลายคน คงคิดถึงอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ใกล้ตัวเช่น โทรศัพท์ วิทยุ โทรทัศน์ซึ่งคำานี้มาจาก “สื่อ” หมายถึงตัวกลาง (Media) ที่ นำาพา  “สาร” หมายถึง ข้อความ ข่าวสาร (Information) ที่เกาะติดมากับ สื่อ ถ้า มองไปรอบตัวเรา “ตัวสื่อ” จะเป็น อุปกรณ์ และ “ตัวสาร” มักจะเป็นเนื้อหา
  • 3. สืออนาลอก ่  เนื่องจาก “สาร” อย่างเช่น เสียงเพลง โดย ปกติแล้วเป็นสัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลง แบบต่อเนื่อง (Analogue) ทำาให้ “สื่อ” ที่ จะนำา “สาร” ชนิดนี้ไปได้ ก็ต้องสามารถ รองรับ การทำางานเหล่านี้ได้ เช่น เทปเพลง มีเพลงเป็นสัญญาณเสียง ที่มีการเปลี่ยน ระดับความดังและความถี่แบบต่อเนื่อง การ บรรจุเพลง ลงบนเนื้อเทป โดยการปรับ ความเข้มของสนามแม่เหล็กที่อยูบนเนือ ่ ้
  • 4. “สื่อ” (Media) ที่สามารถนำา “สาร” (contents) ที่เป็น สัญญาณทางธรรมชาติที่ต่อเนื่อง จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สื่ออนาลอก” หรือ “Analogue Media” รูปที่ 1-1 ระบบสัญญาณแบบอนาล๊อก
  • 5. สือดิจิตอล ่  ระบบดิจิตอล มีพนฐานมาจากตัวเลข 1 และ ื้ 0 ในยุคแรกเริ่มเมื่อประมาณ 30-40 ปี มา นี้เอง เพื่อนำามาใช้ในการคำานวณหา ตำาแหน่งพื้นที่ และต่อมา ก็พฒนาไปเป็น ั เครื่องมือ ในการนับจำานวนประชากร ของ ประเทศสหรัฐอเมริกา พื้นฐานการทำางานจะ อาศัยตัวเลข และใช้ทฤษฎีทางด้าน คณิตศาสตร์ ที่เรียกว่า “Discrete Math” และการประมวลผลสามารถทำาได้เฉพาะ ข้อมูลที่เป็น ตัวเลข กับ ตัวอักษร เท่านั้น
  • 6. ความคล่องตัวของเทคโนโลยีดจิตอลนี้ ทำาให้เกิด ิ ความพยายามที่จะพัฒนา และเจริญเติบโตนี้ เช่น  Digital Electronics  Computation Technique  Digital Signal Processing (DSP)  Image Processing  Optical Processing  Information Transmission  และอื่น ๆ อีกมากมาย พื้นฐานเหล่านีเป็นสิ่งที่ ้ ทำาให้ดจิตอล สามารถนำามาใช้กับ “สาร” ที่เป็น ิ สัญญาณทีต่อเนื่องได้ ประกอบกับเทคโนโลยี ่ ของ สารกึงตัวนำาที่ทำาให้อุปกรณ์อีเล็กทรอ ่ นิกส์ มีความเร็วสูง มีขนาดเล็กลง การทำางานมี รูปลักษณ์เป็นไปตามเวลาจริง (Real Time)
  • 7. ถึงอย่างไรก็ตาม ยังมีนักพัฒนาบางท่าน ให้ ความเห็นว่า ปัญหาใหญ่ของอุปกรณ์ ที่นำามา ใช้กับข้อมูลที่เป็นเสียงวีดิทัศน์ ที่ต้องการ ความเร็ว ในการคำานวณสูงมาก และใช้เนือที่ ้ ในหน่วยความจำา จำานวนมาก จึงน่าจะมี เทคโนโลยีอื่น ที่ทำาได้ดีกว่า เทคโนโลยีที่ใช้ กันอยู่ในปัจจุบันนี้ เช่น การประมวลผลโดยใช้ แสง เป็นต้น และระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน ที่มี ต้นแบบมาจากเครื่องจักรคำานวณ ของนายนอ ยมาร์น น่าจะหมดอายุลงไปได้แล้ว เช่น เดียวกันกับ รถยนต์ที่มีต้นแบบเครื่องยนต์มาก จากไม้ฟืน (ถ่าน) เป็นเชื้อเพลิง แต่ก็คงเป็น เรื่องของอนาคต ที่ยงหาคำาตอบไม่ได้ในขณะ ั
  • 9. การถ่ายภาพ การถ่ายภาพ แต่เดิมนันเราใช้ฟิล์ม ในการรับภาพ ้ การปรับแสง และ โฟกัสของเลนส์ คุณภาพของ เลนส์ และ คุณภาพของฟิล์มเป็นหลักประกันในการ ให้ได้ภาพที่คมชัด ตอมาระบบการปรับ Auto- Focus ทำาให้การถ่ายภาพของคนที่ไม่ใช่มืออาชีพ ก็สามารถให้ภาพคมชัดได้
  • 10. กล้องถ่าปดิจิตดิจิตปกรณ์รับภาพเปลี่ยนจากฟิลม  กล้องถ่ายรู ยรูป อล อุ อล ์ มาเป็น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิก ที่เรียกกันว่า Charge Coupled Device (CCD) ความคมชัดขึนอยู่กบ แสง ้ ั โฟกัส และ BIT Resolution ของ CCD เมื่อได้ภาพที่ ต้องการ ภาพจะถูกเก็บลง หน่วยความจำา (Memory) ที่อยู่ในกล้อง เมือต้องการดูทำาได้โดยการถ่ายข้อมูล ่ จากหน่วยความจำา ลงบนเครื่องพิมพ์หรือเครื่อง คอมพิวเตอร์ ภาพที่ได้มีขนาดตามที่ตองการ สามารถ ้ ย่อ/ขยาย แล้วแต่ความพอใจ แสง/เงา หรือ จะเพิ่มรูป แบบ ก็สามารถทำาได้และเมื่อจะถ่ายใหม่ ก็สามารถใช้ หน่วยความจำาเดิมได้เลย ถ่ายภาพซำ้าได้เลยไม่ต้อง เสียเงินซือฟิล์มอีก ้
  • 11. กล้องถ่ายวีดิทัศน์ แบบอนาลอกที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน กล้องถ่า่วไปดิทล้าน์ดิจิตองถ่ายภาพนิ่งดิจิตอล โดยมี ระบบโดยทัยวี ก็ค ัศ ยกับกล้ อล อุปกรณ์รับภาพ CCD ทำาหน้าที่รบภาพ แล้วเปลี่ยนเป็น ั สัญญาณภาพ (ไฟฟ้า) แล้วจึงบันทึกลงในตลับ ที่เรียกกัน ติดปากว่า “ม้วนวิดีโอเทป” คุณภาพของภาพ จึงขึ้นอยู่กับ คุณภาพของ เล็นซ์ ที่ใช้กับความสามารถของ CCD ใน การแปลงภาพ ให้ออกมาเป็นสัญญาณไฟฟ้า ความละเอียด ของภาพจะขึ้นอยู่กับความละเอียดของจุดรับภาพบน CCD มีหน่วยวัดเป็น จุด หรือ Pixel และเทคโนโลยีทีที่ใช้ทำา CCD
  • 12. การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยขบวนการตัดต่อวีดิ ทัศน์ อย่างไม่เป็นลำาดับ (Non-Linear Video Editing)  สามารถทำาได้ด้วยระบบดิจิตอลเท่านั้น ซึ่งเป็น ขบวนการ ในการปรับแต่ง ภาพวีดทัศน์ที่ถ่ายทำา ิ มาให้ดูดี มีคุณภาพ ตัดสิงที่ไม่ต้องการออก ใส่ ่ หัวเรื่อง เสียง ทำาให้คุณภาพ ของการถ่ายทำาน่า ดูมากขึ้น การทำางานของขบวนการตัดต่อวีดิ ทัศน์แบบดิจิตอลนี้ จะต้องนำาภาพทั้งหมดใส่ลง ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น Hard Disk แล้วจึง ทำาการตัดต่อด้วยโปรแกรมตัดต่อ (Video Editing Software) เมือตัดต่อเสร็จแล้ว อาจจะ ่
  • 14. ระบบเสียงดิจิตอล  อุปกรณ์ในการบันทึกเสียงแต่เดิมนั้นใช้ เทป แผ่น เสียง แต่อปกรณ์เหล่านี้กำาลังถูกเปลียนไป การจัด ุ ่ เก็บ โดยแปลงให้อยู่ในรูปของข้อมูลดิจตอล จาก ิ นั้นจึงนำาไปเข้ารหัสก่อน (เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็น แฟ้มข้อมูลแบบ WAV แล้วจึงเก็บลงใน Hard Disk หรือ CD-ROM
  • 15. การตัดต่อ การนำาไปปรับปรุง แต่งเติม ด้วย ขบวนการอย่างไม่เป็นลำาดับ (Non-Linear Audio Editing)  การนำาเอาเสียงตนตรีที่มีรปแบบแฟ้มข้อมูลแบบ ู MIDI การนำาเสียงจากทีต่าง ๆ มาผสมผสาน ่ ใหม่ขบวนการจัดการกับเสียงแบบดิจตอลนี้ ิ ทำาให้ ศิลปิน สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และตรงกับใจของตัวเองได้มาก ที่สุด รวมไปถึงขบวนการของระบบเสียงใหม่ ๆ อย่างเช่น Dolby Digital Stereo เป็นระบบ เสียงสองช่องเสียง ที่บนทึกแบบดิจิตอล หรือ ั ระบบเสียงรอบทิศทาง อย่าง 5.1 Digital
  • 16. นอกจากนี้ยังมีรูปแบบการสื่อสารที่มาใหม่ ได้แก่ Webcast, Web-TV , วิทยุทางอินเตอร์เน็ต… ซึง ่ เป็นการส่งสัญญาณ ที่ความเร็วตำ่า มาทางสาย โทรศัพท์ มายังเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งข้อมูล เป็นแบบสารธาร (Streaming Data) ที่ทำาให้การ ส่งทั้งภาพวีดทัศน์ และเสียง สามารถส่งมาพร้อม ิ กันได้
  • 17. เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ดิจิตอล (Digital Television)  ความต้องการภาพที่คมชัดกว่าเดิม สัดส่วนจอภาพ ที่เป็นธรรมชาติมากกว่าเดิมเป็นแรงผลักดันไปสู่ การแพร่สัญญาณภาพ และการแสดงภาพที่หน้าจอ วิทยุโทรทัศน์ในแบบดิจิตอลและทำาให้ค้นพบว่า การส่งสัญญาณสื่อสารในระบบดิจิตอลนั้น เป็นการ ลดขนาดของช่องสื่อสารสัญญาณ (Bandwidth) ให้เล็กลง สัญญาณรบกวนตำ่ากว่าแบบอนาลอก และให้ความคมชัดของภาพสูงมากขึ้น  จะเห็นได้ว่า สื่อดิจิตอล เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมา ทดแทนสิ่งที่มีอยู่เดิม เพื่อทำาให้ราคาถูกลงและ รักษาไว้ซงคุณภาพ สร้างประสิทธิภาพที่ดีกว่า เอื้อ ึ่
  • 18. รูปที่ 1-4 เครื่องรับสัญญาณ วิทยุโทรทัศน์ดิจิตอล
  • 19. การทำางานของสือดิจิตอล ่  กล้องถ่ายรูปแบบดิจิตอล มีระบบการทำางานอย่างไร? คุณภาพของภาพที่ออกมากจะสู้กล้องแบบเดิมได้หรือ เปล่า? ใช้ฟิล์มของใครดีกว่ากัน? พื้นฐานการทำางานของ กล้องถ่ายรูปดิจิตอลกับกล้องวีดิทศน์ดิจิตอล เหมือนกัน ั หรือต่างกันอย่างไร? และถ้าจะซื้อไว้ใช้ส่วนตัว จะเลือกซื้อ แบบธรรมดาหรือแบบดิจิตอล? แบบไหนจะคุ้มค่ากว่ากัน? คำาถามเหล่านี้ เป็นคำาถามที่พบอยู่เสมอในยุคสมัยที่อยู่ใน ช่วงของการปรับเปลี่ยนเช่นปัจจุบัน  แต่สำาหรับอนาคต คำาถามจะเปลี่ยนเป็น.. รูปภาพที่เรารับส่ง กันทางสายโทรศัพท์ เป็นรูปแบบเดียวกันกับภาพ ที่ได้จาก กล้องถ่ายภาพดิจิตอลหรือเปล่า? ภาพขาว-ดำาที่ โทรสาร
  • 20. หลักการพื้นฐานของสื่อดิจิตอล (Digital Media)  หลักการพื้นฐานของสื่อดิจิตอล (Digital Media) ก็คอ รูปแบบของข้อมูลต้องเป็นตัวเลข จากรูปแบบ ื ข่าวสาร อย่างเช่น รูปภาพ วีดทัศน์ เสียง เป็นต้น ิ รูปแบบเหล่านี้เมื่อรับเข้ามาต้องถูกเปลี่ยนเป็น ข้อมูลแบบตัวเลขฐานสอง (Binary Number) ที่ สามารถเก็บลงใน ตัวกลางแบบดิจิตอล (Digital Media) และเมื่อต้องการนำากลับมาสู่รูปแบบเดิม ( รูปภาพ วีดิทัศน์ เสียง) จะต้องผ่านขบวนการ เปลี่ยนแปลงตัวเลขเหล่านี้ ให้กลับไปเป็นรูปแบบ เดิม (รูปภาพ วีดิทัศน์ เสียง)
  • 21. สัมผัสของธรรมชาติ  ข้อมูลข่าวสารโดยทั่วไปเป็นสิ่งที่เราสามารถสัมผัส ได้ในรูป-รส-กลิ่น-เสียง-ความร้อน สัมผัสเหล่านี้ เป็นเนื้อหา ที่เราต้องการนำามาเก็บเอาไว้ หรือส่ง ต่อให้ผู้อน และเป็นสัมผัสที่สามารถสังเคราะห์ดวย ื่ ้ ขบวนการ ทางไฟฟ้า ได้เช่น ภาพที่เห็น เสียงที่ ได้ยิน อุณหภูมิ ร้อน-หนาว แต่ก็มบางสัมผัสที่เรา ี ไม่สามารถสังเคราะห์ทางไฟฟ้าได้ เช่น กลิ่น รสชาติ จึงยังคงเป็นข้อจำากัด ที่ยังไม่สามารถ นำา มาใช้กับสื่อดิจิตอล (Digital Media) ได้
  • 22. A/D Converter and ENCODER  ข่าวสาร ที่เป็นสัญญาณธรรมชาติ จะต้องระบบตรวจจับ (Transducer) สัญญาณเหล่านี้อย่างเช่น การถ่ายภาพ ที่กล้องถ่ายภาพจะมีแผงรับภาพ CCD ทำาหน้าที่รับ ภาพ (แสง ประกอบมาจาก 3 สี คือ แดง-เขียว- นำ้าเงิน หรือ Red-Green-Blue RGB) จากนั้น CCD จะทำาหน้าที่ เปลี่ยนภาพที่รบได้มานั้น ให้เป็นสัญญาณ ั ทางไฟฟ้า จุดนี้ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของขบวนการ อ นาลอก
  • 23. ต่อจากนั้น จึงนำาเอาสัญญาณที่ได้มานี้ ส่งต่อมา ที่ ขบวนการแปลงให้เป็นดิจิตอล (Digitized) โดยใช้อุปกรณ์เปลี่ยนสัญญาณทีเรียกว่า A/D ่ (Analog to Digital Converter) เพื่อให้ได้มีรปู แบบข้อมูลเป็นเลขฐานสอง (Binary Number)
  • 24. เนื่องจากข้อมูลที่นำาเข้ามานี้ มีจำานวนมาก มากเกิน กว่าที่จะจัดเก็บหรือนำาไปใช้ ดังนั้น จึงต้องมี ขบวนการลดทอนข้อมูล ทีเรียกว่า การเข้ารหัส ่ (ENCODER) เป็นการทำาให้ขนาดของข้อมูล เหมาะสมต่อการนำามาใช้งาน อย่างเช่น การส่งต่อ ไปยังช่องสื่อสาร การจัดเก็บ และรูปแบบของการ เข้ารหัสจะมีมาตรฐานทีแตกต่างกัน ความเหมาะสม ่ ขึนอยู่กับลักษณะการนำามาใช้งาน เช่น MPEG ้ เป็นมาตรฐานของการเข้ารหัส ภาพและเสียง มี ระดับความเหมาะสมหลายระดับ หรือมาตรฐานอื่น เช่น AVI ก็เป็นมาตรฐานของการเข้ารหัส ภาพและ เสียง เช่นกัน การเข้ารหัสของภาพเช่น BMP, J- PEG
  • 25. มาตรฐานของการเข้ารหัสแต่ละแบบ มีประโยชน์ ใช้สอยแตกต่างกัน บางแบบเน้นทีคุณภาพ ความ ่ ต่อเนื่อง บางแบบจะเน้นที่ความประหยัดในการจัด เก็บ คุณภาพลดลง แต่ก็ยังคงไว้ซึ่งเนือหา ้ มาตรฐานบางแบบเน้นไปที่การส่งผ่านไปตามระบบ สื่อสาร เช่น INTERNET แต่ไม่มีระบบมาตรฐาน ใด ที่เหมาะสมสำาหรับทุก ๆ ความต้องการ ที่จะใช้ งาน… ข้อมูล (DATA) ที่อยู่ในมาตรฐานใด มาตรฐานหนึ่ง สามารถเปลี่ยนไปสู่มาตรฐานอื่นได้
  • 26. ตัวกลาง (Media)  สัมผัสที่เราเปลี่ยนมาเป็นข้อมูล (Data) ที่ คอมพิวเตอร์รู้จัก เราอาจจะจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูล หรือส่งต่อไปในระบบสื่อสารข้อมูล (Computer Networking) เป็นระบบการสื่อสารที่เรียกกันว่า “Broadband Communication System” ที่มีการ สื่อสารที่เป็น แฟ้มข้อมูล (DATA FILE) และแบบ สารธารข้อมูล (STREAMING DATA) และจุด เด่นของ สื่อดิจิตอล (Digital Media) ก็คือ ค่า ความสูญเสียของข้อมูลในระหว่างที่ทำาการสื่อสารมี น้อยมาก เพราะระบบมีการชดเชยความสูญเสีย
  • 27. DECODER and D/A  ขบวนการถอดรหัส (Decoder) และการแปลง สัญญาณกลับสู่สัญญาณทางธรรมชาติ (Digital to Analog, D/A) นั้นเกิดขึนเมื่อเราต้องการนำาข้อมูล ้ ที่เป็นดิจิตอลกลับมาใช้งาน เช่นต้องการดูวีดิทัศน์ ที่เก็บไว้ในแผ่น CD โดยวิธการแล้วอุปกรณ์ที่เป็น เครื่องเล่น CD จะทำาหน้าที่อ่านข้อมูลที่อยูในแผ่น ่ CD มาทำาการถอดรหัส (Decode) และการสร้าง รูปแบบสัมผัสให้กลับมาเหมือนเดิม (Digitized) ด้วยอุปกรณ์ “D/A Converter” ขบวนการเหล่านี้ เป็นความพยายามที่จะให้ได้สัมผัส หรือ ภาพที่
  • 28. ข้อดีของสือดิจิตอล ่  1. ความคงทน คุณภาพของสิ่งที่อยู่ใน “Digital Media” การ เสื่อมสภาพจะใช้เวลานานกว่า เพราะรูปแบบ ของข้อมูลที่จัดเก็บแบบ .สองระดับ” (0 กับ 1) โอกาสที่จะผิดเพี้ยนจะเกิดขึ้นได้ยากกว่า ข้อมูล แบบต่อเนื่อง เช่น การบันทึกภาพลงในวีดทัศน์ ิ แบบอนาลอก กับการบันทึกภาพลงวีดิทัศน์ ใน ระบบดิจิตอล เมื่อเส้นเทปยืด การอ่านข้อมูล กลับมาในแบบดิจิตอลนั้น จะทำาได้ง่ายกว่า และ สามารถทำาให้ได้ขอมูลกลับมาได้เหมือนเดิมได้ ้
  • 29. 2. รูปแบบของการนำาไปใช้งานทำาได้หลากหลาย วิธี ข้อมูลที่จดเก็บในแบบดิจิตอล ถือได้ว่า เป็นข้อมูล ั กลาง ที่สามารถแปลงไปสู่รูปแบบอื่นได้ง่ายเช่น ถ่ายรูปด้วยกล้องดิจิตอล เมื่อได้เป็น ข้อมูลภาพ ออกมาแล้ว จากนั้น สามารพิมพ์ภาพลงบนกระดาษ หรือการแสดงภาพบนจอคอมพิวเตอร์ หรือแสดง ภาพบนจอทีวี ก็ได้เช่นกัน
  • 30. 3. การนำาไปผสมผสานกับสื่อรูปแบบอื่น เช่น ภาพถ่าย นำามารวมกับเสียง มีการแสดงแบบ Multi- Media
  • 31. 4. การปรับแต่ง (Edit) เป็นการปรับแต่งสื่อที่ เป็นภาพถ่าย วิดีโอ เสียงนกร้อง… นำามาปรับแต่ง ให้ดขึ้นกว่าเดิม การสอดแทรก สิ่งเหล่านี้ทำาให้น่า ี ดู น่าฟัง มากกว่าปกติ มีความวิจิตรพิสดาร
  • 32. ข้อเสียของสือดิจิตอล ่  เป็นสิ่งที่ง่ายต่อการกระทำาผิดศิลธรรม การละเมิด ในสิทธิของผูอื่น เช่น การนำาเอาภาพของบุคคล ้ หนึ่ง มาตัดต่อกับภาพเปลือยกายของอีกคนหนึ่ง หรือ การทำาซำ้า (Copy) กับ งานสื่อ ที่มีลขสิทธิ์ถก ิ ู ต้อง เป็นต้น  ถึงอย่างไรก็ตาม จากข้อดี ที่มีคุณสมบัตเด่น ิ มากมายเหล่านี้ ทำาให้แนวโน้มของอุปกรณ์สื่อใน อนาคต สามารถพัฒนาขึ้นเป็นสื่อดิจิตอล (Digital Media) และมีแนวทางของการพัฒนา ให้มี คุณภาพดีขนทุกขณะ และราคาถูกลงอย่างเหลือ ึ้
  • 33. มาตรฐานของวีดทัศน์ดจิตอล ิ ิ  การพัฒนาเพือให้ได้มาตรฐานกลางของ วีดทัศน์ ่ ิ ดิจิตอล ได้ก่อกำาเนิดขึ้นจากความร่วมมือของ บริษัทชั้นนำาทางด้านวีดทัศน์ดจิตอล นักวิชาการ ิ ิ จากมหาวิทยาลัย และผู้สนใจอีกมาก เพื่อให้ได้มา ซึงมาตรฐานกลาง สำาหรับนำาไปใช้กับขบวนการ วีดิ ่ ทัศน์ สื่อวีดิทัศน์ และรวมไปถึงการแพร่ภาพทาง โทรทัศน์โดยเรียกชือมาตรฐานนี้วา “MPEG” ่ ่ ความร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อผลักดันมาตรฐานนี้ อาจ จะไม่ใช้มาตรฐานที่ดีที่สุด แต่ก็ถอว่าเป็นมาตรฐาน ื ที่มีคุณสมบัตแบบเปิด (Open System) ที่ผผลิต ิ ู้
  • 34. MPEG คืออะไร  MPEG มาจากคำาว่า Moving Pictures Expers Group เป็นการทำางานของคณะบุคคลหลายสาขา อาชีพ ได้เข้ามากำาหนดมาตรฐานสำาหรับ ภาพ เคลื่อนไหวและเสียง โดยกำาหนดเป็นมาตรฐานภาย ใต้ ISO (Internal Standards Organization) และ International Electrotechnical Commission (IEC) มาตรฐานนี้บางส่วนได้มการ ี ประกาศและนำาไปใช้งานแล้ว และบางส่วนยังอยู่ใน ระหว่าง กำาหนดรายละเอียด
  • 36. MPEG-1  ประกาศเป็นมาตรฐานที่ ISO/IEC-11172 เริ่มในปี 1992 เป็นวีดทัศน์ดิจิตอล ที่มีทั้งภาพและเสียงที่ ิ คุณภาพในระดับใช้งานทั่วไป พบเห็นได้ในผลิตภัณฑ์ Video CD ได้แก่ VCD, SVCD, DVCD
  • 37. MPEG-1 เป็นจุดเริ่มต้นในความชัดเจนของ มาตรฐานที่ให้คำาตอบว่า “Digital Video” สามารถ เข้ามาทดแทนระบบ Analog แบบเดิมได้ ผลิตผล ที่ออกมาในรูปของ Video-CD ที่กำาลังเข้ามา แทนที่เทปวีดทัศน์ (Video Tape) เพราะให้ ิ คุณภาพที่ทัดเทียมกันการใช้งานการจัดเก็บการ ผลิตที่ดีกว่าและราคามีแนวโน้มที่ทัดเทียมกัน
  • 38. MPEG-2  ประกาศเป็นมาตรฐานที่ IOS/IEC-13818 เริ่มใน ปี 1995 ใช้เทคโนโลยีที่ปรับปรุงมาจาก MPEG-1 แต่เน้นไปที่คุณภาพที่ดกว่า พบเห็นได้ในระบบ ี DVD และ Digital TV
  • 39. จากความสำาเร็จของ MPEG-1 จึงได้สร้าง มาตรฐานใหม่โดยเน้นไปที่คุณภาพของภาพโดย ให้ชอว่า MPEG-2 .ในปัจจุบันนับได้ว่ามาตรฐานนี้ ื่ นิ่งแล้วไม่มีการปรับเปลี่ยนอีกแล้ว… ถึงแม้ว่า MPEG-2 จะมีการกำาหนดรายละเอียดย่อยออก เป็นหลายประเภท (Profile) แต่ละประเภท ยังมีข้อ ปลีกย่อยออกไปอีกเป็นระดับ (Level)
  • 40. กิจกรรมของขบวนการสือจะต้องเลือกใช้ให้ ่ เหมาะสม เช่น ในขั้นตอน Post-Production ควรเป็น P@ML มีการจัดเก็บที่ยังคงนำาไปตัด ต่อได้ แต่เมื่อผ่านพ้นขบวนการนี้ไปแล้ว ควร เก็บไว้แบบ MP@ML เพราะใช้เนือที่ในการ ้ จัดเก็บน้อยกว่ากันมาก และง่ายต่อการนำาไป เผยแพร่ หรือการทำาเป็นแผ่น DVD… ผลิตผล ที่ออกมาในรูปของ DVD จึงเป็นชนิดหนึ่ง (Profile) ของ MPEG-2 ที่ใช้สำาหรับเผยแพร่ ออกเป็นแผ่น DVD ทำาให้ภาพของ Digital Video มีความชัดเจนอย่างแท้จริง ด้วย
  • 41. MPEG-3  เป็นการเน้นไปที่ HDTV (Hi-Definition TV) แต่ ปรากฎว่า สามารถใช้เทคโนโลยีเดียวกันกับ MPEG-2 ได้ ดังนั้น มาตรฐานนี้ให้ไปรวมอยูใน ่ MPEG-2
  • 42. MPEG-4  ประกาศเป็นมาตรฐานที่ IOS/IEC-14496 เริ่มใน ปี 1998 (ver. 1) โดยมีแนวทางในการจัดส่งภาพ และเสียง การตอบสนอง และการส่งผ่านข้อมูลที่ใช้ ความเร็วตำ่าให้ที่สุด เพื่อให้การส่งข้อมูลในลักษณะ นี้ผ่านทางระบบ Interner ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 43. MPEG-4 เป็นอีกมาตรฐาน ที่กำาลังเป็นคูแข่งใน ่ ขบวนการเผยแพร่บน ระบบอินเตอร์เน็ตกันอยู่ใน ปัจจุบัน อาจจะเรียกได้วามาตรฐานนี้ยังไม่นิ่ง แต่ก็ ่ มีความชัดเจนออกมามากที่เดียวเป็นความพยายาม ที่จะลดขนาดข้อมูล คล้ายกับ MPEG-1, MPEG-2 โดยทำาให้มีขนาดข้อมูลที่เล็กกว่า
  • 44. ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ที่เป็น MPEG-4 ส่วนมากจะใช้ Software CODEC อย่างเช่น Windows Media Technology ของ Microsoft และคาดว่าจะมีการ ผลิตออกมาเป็นอุปกรณ์เฉพาะ (Integrated Circuits หรือ IC) ที่มีทั้งการ Encode และ Decode และการทำาออกมาเป็น Set Top Box…
  • 45. ขบวนการเหล่านี้จะเป็นข้อพิสูจน์ของ MPEG-4 ที่มีแนวโน้มที่จะมาเป็นมาตรฐานของการเผยแพร่ แบบความเร็วตำ่า (Low bit rate) ไปบนระบบ สื่อสารอินเตอร์เน็ต และรวมไปถึงการแพร่ในแบบ Hi-Bitrate ไปบนระบบเครือข่ายที่เรียกว่า “Broadband Communication”
  • 46. ปัจจุบันมีผู้ผลิตหลายราย อย่างเช่น PHILIPS, Optibase… ได้ประกาศแนวทางของอุปกรณ์ที่ เป็น MPEG-4 ที่มีทั้ง Encode และ Decode ที่ประกอบลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ และที่เป็น “Set Top Box” และมีข้อสังเกตอยู่อย่างหนึ่งก็คอ ื อุปกรณ์เหล่านี้จะทำางานได้ทั้ง MPEG-1, MPEG-2 และ MPEG-4
  • 47. MPEG-7 บและค้นหาส่วนประกอบของข้อมูลเราได้ เป็นการจัดเก็ อะไรจากแนวทางของ MPEG
  • 48. แนวทางวีดิทัศน์ดจิตอล นั้นมีมาหลายปีแล้ว สำาหรับ ิ บ้านเรายังถือว่าเป็นเรืองใหม่ และเป็นช่วงของการปรับ ่ เปลียนในขบวนการจากระบบเดิม (อนาลอก) ไปสู่ ่ ระบบดิจิตอล การเลือกใช้มาตรฐานกลาง ที่มีขบวนการ พัฒนามาอย่างมีระบบ มีการเปิดเผยรายละเอียด ที่ผู้ ผลิตสามารถนำาไปผลิตได้ เป็นแนวทางที่ไม่หยุดนิ่ง มี แนวทางที่ครอบคลุมไปสู่อนาคตอย่างทั่วถึง ดังนั้น “MPEG” จึงเป็นการป้องกันการผูกขาดจากผู้ผลิต อุปกรณ์ ความเข้ากันได้ด้วยระบบมาตรฐานกลางจะ ทำาให้ทั้งขบวนการจัดทำาไปจนถึงการเผยแพร่ เป็นไป
  • 49. MPEG-2 Technology  ถ้าลองย้อนมามองดูมาตรฐานของระบบโทรทัศน์ใน ปัจจุบัน NTSC 525 เส้น 60Hz กับ PAL 625 เส้น 50Hz เป็นมาตรฐานที่เป็นไปตาม ITU-RBT.601 เมื่อนำาเอามาตรฐานนี้มาทำาการส่งแบบดิจิตอลจะต้อง ใช้ Bandwidth 6MHz หรือความเร็วในการสื่อสาร 270Mbit/s
  • 50. ในโลกของการสื่อสารแบบอนลอก ที่นำาเอา NTSC/PAL ใช้การ Modulate แบบ AM-VSB ที่ได้ใช้กันมานานกว่า 60 ปี ระบบนี้เมือนำามาเข้า ่ รหัสแล้วส่งออกไปในรูปของ SDTV (Standard Digital TV) ก็คงทำาได้ทันที แต่ดวยความต้องการ ้ ภาพที่ดีกว่าในระบบ HDTV (Hi-Definition TV) ทำาให้ตองใช้ Bandwidth สูงขึนกว่า 5 เท่า ้ ้ หรือความเร็วสื่อสารมากถึง 1.485Gbit/s จะเห็น ได้ว่าแนวทางนี้ ถ้าไม่มีการบีบอัดข้อมูลแล้ว นับได้ ว่าไม่มีทาง เป็นไปได้อย่างแน่นอน
  • 51. MPEG เป็นเทคโนโลยีในการบีบอัดข้อมูลภาพ เริ่ม วางแนวทางมาตังแต่ปี 1990 ด้วยมาตรฐาน ้ MPEG-1 เป็นการนำาภาพ “Low Resolution” ให้ ภาพขนาดหนึ่งในสี่ของมาตรฐาน CCIR 601 นำามา ใช้ที่ความเร็วไม่เกิน 1.5Mbit/s จากความสำาเร็จนี้เป็น หนทางนำาไปสู่ MPEG-2 ที่มีแนวทางเป็น Home Entertainment เป็นเทคโนโลยีที่ได้กำาหนดเงื่อนไข ในการบีบอัด ทั้งภาพและเสียง และเงื่อนไขการทำางาน อย่างชัดเจน จนออกมาเป็นระบบ Digital TV ที่ใช้กับ ช่องสัญญาณสื่อสารเดิมขนาด 6MHz และความเร็ว
  • 52. MPEG-2 Technology เป็นการบีบอัด ข้อมูลและการลดข้อมูลที่ไม่จำาเป็นออกไป
  • 53. แนวทางของ MPEG-1 และ MPEG-2 ก็คือการ ที่พยายามลดรูปแบบข้อมูล ที่ซำ้ากันของสัญญาณ วีดิทัศน์ออกไป เพื่อทำาให้สามารถลดความเร็วใน การสื่อสารลงได้ แต่กยังไม่เพียงพอจึงต้องใช้ ็ แนวทางที่เรียกว่า Human Visual System (HVS) หรือความสามารถในการของเห็นภาพของคนโดย เฉลี่ย จึงเกิดเป็นแนวทางของเทคโนโลยี ดังนี้
  • 54. (1) ข้อมูลที่ไม่มีความสำาคัญต่อภาพ อย่างเช่น Vertical-Horizontal Banking data ซึงข้อมูล ่ เหล่านี้ไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อคุณภาพของภาพ จึงตัดออกได้
  • 55. (2) ข้อมูลซำ้าในเชิงสถิติ อย่างเช่น ช่วงที่ไม่มี ข้อมูลหรือช่องว่าง ข้อมูลเหมือนกันที่อยู่ชดกันสี ิ เดียวกัน ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก จน สายตาคนทั่วไปไม่สามารถสังเกตุหนได้ ขนาด ็ ของข้อมูลเหล่านี้สามารถลดทอนลงได้ และเมื่อ ลดทอนลงแล้วยังคงทำาให้ได้ภาพเหมือนเดิม (Lossless)
  • 56. (3) ข้อมูลที่นอกเหนือจากความสามารถของคนที่ จะรับรู้ได้ โดยอาศัยแนวทางของ HVS อย่าง เช่นแสงที่น้อยเกินไปหรือสีที่ไม่มีผลต่อการเห็น ภาพ ทำาให้เราสามารถกำาจัดออกไปได้ (Lossy) ซึงแนวทางทั้ง 3 นี้ได้กลายเป็น Key ่ Technology ของ MPEG
  • 57.
  • 58. เครื่องมือที่ใช้ในการบีบอัดข้อมูล  DCT (Discrete Cosine Transform) โดยการ แบ่งภาพออกเป็นตารางเล็ก ๆ ขนาด 8 x 8 จุด (Block) ที่มีขอมูลของภาพเป็น Iuminance (Y) ้ และข้อมูลสี (color difference) เป็น CB/CR ดัง นั้นแต่ละชุดข้อมูล (Block) จึงมีขอมูลย่อยอีก 64 ้ ชุดข้อมูล ที่ใช้อธิบายระดับสัญญาณ dc ในส่วนนี้ จะไม่มีขอมูลส่วนใดสูญหายไปได้เลย ้
  • 59. DCT (Discrete Cosine Transform) โดยการ แบ่งภาพออกเป็นตารางเล็ก ๆ ขนาด 8 x 8 จุด (Block) ที่มีขอมูลของภาพเป็น Iuminance (Y) ้ และข้อมูลสี (color difference) เป็น CB/CR ดัง นั้นแต่ละชุดข้อมูล (Block) จึงมีขอมูลย่อยอีก 64 ้ ชุดข้อมูล ที่ใช้อธิบายระดับสัญญาณ dc ในส่วนนี้ จะไม่มีขอมูลส่วนใดสูญหายไปได้เลย ้
  • 60. REQ (Requantizing) เนื่องจากข้อมูลที่เกิดขึนที่ ้ DCT มีเป็นจำานวนมาก และมีกลุ่มของข้อมูล จำานวนมากที่มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ (0) ข้อมูลในส่วนนี้ มีผลต่อการมองเห็นภาพน้อยมาก (HVS) ทำาให้ สามารถกำาจัดออกไปแล้วไม่มีผลต่อคุณภาพของ ภาพ (Lossy)
  • 61. RLC (Run-length coding) จากผลจาก DCT จะได้ระดับความสูงของสัญญาณ ที่เหมือนกันจะให้ ระดับที่เท่ากัน หรือใกล้เคียงกันมาก เราสามารถ แทนที่ค่าของสัญญาณเหล่านี้ ได้ด้วยชุดข้อมูล เพียงชุดเดียว เพื่อใช้อธิบายกลุ่มของข้อมูลที่เหมือ นๆกัน วิธีนี้ทำาให้ลดขนาดของข้อมูลลงไปได้มาก
  • 62. VLC (Variable length coding) เป็นเทคนิคการ สร้าง ตัวแทนข้อมูล ที่ใช้อธิบายชินส่วนของภาพ ้ ในลักษณะของกลุ่มข้อมูล อย่างเช่นภาพนิ่งที่ปราก ฎบ่อยๆ หรือวัตถุที่เคลื่อนที่
  • 63. Buffer หรือที่พักข้อมูล เนื่องจากข้อมูลที่ได้ใน แต่ละภาพ มีขนาดไม่เท่ากัน ที่พักข้อมูลจะทำา หน้าที่รับข้อมูลภาพที่มีขนาดไม่เท่ากัน (Variable Bit Rate) ให้เป็นข้อมูลที่เท่ากันอย่างสมำ่าเสมอ (Constant Bit Rate) เพือให้การทำางานทั้งระบบ ่ สามารถขับเคลือนไปได้ ภาพไม่สะดุด ่
  • 64. เมื่อนำามารวมกันให้เป็น MPEG โครงสร้างของ MPEG ประกอบมาจาก โครงสร้างพืนฐาน 6 ระดับ คือ ้
  • 65. 1. Block หรือหน่วยย่อยเล็ก ๆ ของภาพ ที่ ประกอบไปด้วยจุด 8 x 8 และกลุมของข้อมูลที่ ่ เป็น สีเทา (Y) และข้อมูลสี (color difference) CB/CR
  • 66. 2. Macro-block เป็นกลุ่มของข้อมูลในระดับ Block โดยให้ 4 (สี่) ชุดข้อมูลของ Block ประกอบขึ้นเป็นข้อมูลภาพแบบ 4:2:0 หมายถึงที่ Macro-block จะมีสัญญาณ Y อยู่ 4 ชุด และ สัญญาณ CB/CR อย่างละชุด หรือในกรณี 4:2:2 ก็จะเพิ่มในส่วนของ CB/CR เข้าไปอีกอย่างละชุด
  • 67. 3. Slice เป็นกลุ่มของ Macro-block ที่นำามา เรียงต่อกัน
  • 68. 4. Picture เป็นภาพที่เกิดจากกลุ่มของภาพย่อย มาทำาให้ต่อเนื่องกัน (Group of Slice) ภาพย่อย แต่ละภาพสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ – I-intraframe code เป็นข้อมูลภาพที่รับเข้ามา ผ่าน ขบวนการลดทอนในแบบ Lossy และ Lossless – P-predicted เป็นข้อมูลภาพที่รับข้อมูลจาก I แล้วนำา มาผ่านขบวนการลดทอนลงไปอีกโดยการตัดข้อมูลทีซำ้า ่ ซ้อนออกไป – B-bidirectional code เป็นข้อมูลภาพสำาหรับการเชื่อม โยงเมื่อข้อมูลมีการเลื่อนไป-มา (Forware-Bcakward)
  • 69. 5. Group of Picture (GOP) เป็นภาพที่เกิดจาก องค์ประกอบของ I,P,B ลำาดับของภาพจะประกอบ ไปด้วยชุดข้อมูลของ I กับ P,B จำานวน 15 ชุด
  • 70. 6. Video Sepuence หรือภาพวีดิทัศน์ที่ปรากฎ ออกมา จะเป็นภาพที่ประกอบไปด้วย GOP ตั้งแต่ เริ่มต้นข้อมูลไปจนกระทั่งจบสิ้นข้อมูล
  • 71. การจำาแนกชนิดและประเภท ของ MPEG-2  เนื่องจากแนวทางตามมาตรฐานของโทรทัศน์ ที่มี ในปัจจุบัน (SDTV) และแนวทางของ HDTV ทำาให้การจำาแนกชนิดและประเภทของ MPEG-2 ต้องทำาให้สอดคล้องกัน และให้เป็นแนวทาง สำาหรับผูผลิตสื่อ ให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างมี ้ ประสิทธิภาพ ดังนั้น ขอบเขตจึงถูกกำาหนด เพื่อใช้ รองรับกับสื่อ DVD การนำาไปเผยแพร่ในระบบ Broadband และการนำาไปใช้กับ โทรทัศน์ดิจิตอล (Digital TV)
  • 72. ตารางแสดง Maximum constraint parameter for MPEG-2 Profile Simple Main 4:2:2 SNR Spatial Hight I,P 4:2:0 I,P,B Profile I,P,B I,P,B I,B,P Level 4:2:0 I,P,B 4:2:0 4:2:0 4:2:0, 4:2:2 Hight 1920 x 1152 1920 x 1152 80 Mbit/s 100 Mbit/s Hight 1440 x 1152 1440 x 1152 1440 x 1152 1440 60 Mbit/s 60 Mbit/s 80 Mbit/s Main 720 x 576 720 x 576 720 x 608 720 x 576 720 x 608 15Mbit/s 15 Mbit/s 50 Mbit/s 15 Mbit/s 20 Mbit/s Low 352 x 288 352 x 288 4Mbit/s 4 Mbit/s
  • 73. levels and profiles ขีดจำากัด ที่ ระดับ (Level) และชนิด (Profile) ของ MPEG-2  MPEG-2 จะมีรูปแบบของการกำาหนดที่สมบูรณ์ และหลากหลาย จึงได้กำาหนดระดับของการระบุ มาตรฐานออกเป็น Profiles และ Levels โดยที่ Profiles จะบ่งบอกถึง ความสามารถ และคุณภาพ ในการเข้ารหัส อย่างเช่น I,P 4:2:0 จะให้คุณภาพ ที่ตำ่ากว่า I,P,B 4:2:2 และ Levels เป็นการระบุ ถึง ขนาดของภาพและความเร็ว ที่ใช้
  • 74. จากตาราง จะเห็นได้ว่า มาตรฐาน MPEG-2 นั้น สามารถรองรับการใช้งานในระดับ SDTV ไปจนถึง HDTV ได้อย่างสมบูรณ์ และเป็นเหตุให้ MPEG-3 ไม่มีความจำาเป็นเพราะใช้เทคโนโลยี เดียวกันและสามารถทดแทนได้ด้วย MPEG-2
  • 75. จะเห็นได้ว่าเนื้อแท้หรือตัวเทคโนโลยีของ MPEG เป็นการกล่าวถึงขบวนการแสดงภาพโดยนำามาเรียง ต่อกันคล้ายกับภาพในฟิล์มภาพยนต์ แต่จะแตก ต่างกันก็ตรงที่แต่ละภาพของ MPEG เป็นภาพที่ ถูกลดขนาดและอาศัยการชดเชยด้วยขบวนการ ข้อมูล (Information System) ทำาให้เราเห็นภาพ ที่คมชัดได้ และขบวนการสร้างภาพที่เกิดจากความ แตกต่าง ทำาให้ภาพย่อยแต่ละภาพ มีขนาดไม่เท่า กันจึงมีผลไปถึงกระบวนการสื่อสารที่เป็นแบบ “Variable Bit Rate”
  • 77. ทำาไมภาพวีดิทศน์ที่แสดงบนเครื่อง ั คอมพิวเตอร์ บางเครืองก็คมชัดดีมาก ่ แต่บางเครืองก็ดแทบไม่ได้เลย เสียงที่ ่ ู ออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ บางเครื่อง ก็คมชัดดีมาก ให้คณภาพระดับสตูดโอ ุ ิ แต่บางเครืองก็ให้เสียงพอฟังได้… อะไร ่ เป็นปัจจัยสำาคัญที่เป็นเครื่องชี้วัดสิ่ง เหล่านี้
  • 78. การทำางานของสายธารข้อมูล (Streaming Data) ของวีดโอและเสียง ิ เป็นสัญญาณทีมีการไหลต่อเนื่องกัน ่ ตลอดเวลา ปัจจัยที่สำาคัญอย่างหนึงที่ ่ เป็นตัวบงบอกถึงคุณภาพจะอยู่ที่ A/D และ D/A สำาหรับข้อมูลทีรับเข้ามาจะ ่ ทำาการบีบอัดหรือไม่ ขนาดมาก-น้อย จะ ขึ้นอยู่กบ Encoder/Decoder ั
  • 79. A/D (Analog to Digital Converter)  เป็นอุปกรณ์ Hardware ที่ทำาหน้าที่ในการรับ สัญญาณภาพและเสียง แล้วแปลงระดับของ สัญญาณ สูง-ตำ่า ให้ไปเป็นตัวเลข ในกรณีของ เสียงจะเป็นตัวอย่างที่เข้าใจได้ง่าย ความดังจะเป็น ความสูง-ตำ่าของสัญญาณ โดยใช้ Bit-Resolution เป็นตัวบงบอกถึงความละเอียดในการแบ่งส่วน เช่น 16 Bit จะแบ่งชันได้ 65,536 ส่วน ซึงจะ ้ ่ สัมพันธ์กับ Dynamic Range ของเสียง และ คุณสมบัติที่สำาคัญอีกอย่างก็คือ Sampling Rate เป็นคุณสมบัตที่เกี่ยวพันกับ Bandwidth ของเสียง ิ ที่รับเข้ามา เช่น sampling rate 44Hz จะเป็น
  • 80. แต่ในกรณีของวีดทัศน์จะดูซับซ้อนกว่ากันมาก โดยเฉพาะ ิ อย่างยิ่งการจับความเคลือนไหวจะมีเทคนิค ในการแยกราย ่ ละเอียดของภาพอยู่เหลายแบบ และต้องใช้ A/D หลาย ชุด แต่อย่างไรก็ตาม Bit Resolution และ Sampling Rate ก็ยังเป็นปัจจัยสำาคัญในการบงบอกถึงคุณภาพของ ภาพโดยกระบวนการทางเทคนิคของภาพ ที่ต้องการ Bandwidth ถึง 5MHz จึงต้องใช้ Sampling Rate ไม่นอย ้ กว่า 10MHz อุปกรณ์ทต้องทำางานรวดเร็วขนาดนีเป็นข้อ ี่ ้ จำากัด ดังนันอุปกรณ์ทใช้กับวีดิทัศน์ที่มีคุณภาพระดับกลาง ้ ี่ จะใช้ Bit Resolution ที่ 6-8Bit สำาหรับงานที่ตองการ ้ คุณภาพสูงจึงจะใช้ 10 Bit หรือมากกว่า
  • 81. D/A (Digital to Analog Converter)  เป็นอุปกรณ์ Hardware ที่เปลี่ยนจากข้อมูล ดิจิตอลให้กลับไปเป็นสัญญาณเสียงและภาพซึง ่ คุณสมบัติของ Bit Resolution และ Sampling Rate ก็ยังคงให้ความสำาคัญเหมือนกับ A/D ทุก อย่างแต่ไม่จำาเป็นต้องเป็นชุดเดียวกัน
  • 82. ทั้ง A/D และ D/A ต่างก็เป็น Hardware ทำาหน้าที่ เชือมต่อระหว่างโลกของอนาลอก กับโลกของดิจิตอล ่ เมื่ออยู่ในโลกของดิจิตอล ก็จะพบ ขบวนการ Encoder/Decoder ที่ทำาหน้าที่บีบอัด ข้อมูลให้เล็กที่สุดที่ยงคงคุณภาพเช่นเดิมอยู่ ข้อมูลที่ ั รับเข้ามาโดยตรงจาก A/D นั้นถ้าเป็นเสียงที่ใช้ Sampling Rate 44KHz 16Bit จะต้องใช้พื้นที่สำาหรับ จัดเก็บ 88Kbyte/sec ถ้าเวลาเป็นชัวโมง จะต้องใช้ ่ พื้นที่ 316.8Mbyte จะเห็นได้ว่าการจัดเก็บด้วยวิธีนี้ คงไม่คุ้มค่าใช้จ่ายอย่างแน่นอน จึงมีความพยายามที่ จะบีบอัดข้อมูลให้เล็กที่สุดที่ยงคงคุณสมบัติ ได้ใกล้ ั เคียงกับสัญญาณตั้งต้นให้มากที่สุด แต่ถาจะบอกว่า ้ ระบบนี้ไม่มีความสูญเสียเลย คงเป็นไปไม่ได้ แต่ถาจะ ้
  • 83. ความสูญเสียที่ไม่สญเสีย ู  ความสูญเสียนั้นจะเกิดขึนได้ 2 ลักษณะ อันดับ ้ แรกเป็นความสูญเสีย อันเกิดจากขบวนการทำางาน ในแบบดิจิตอล กับ ความสูญเสียอันเกิดจากข้อมูล ที่ไม่มีความสำาคัญ
  • 84. ในแบบอนาลอก การบีบอัดเสียง (Compress) ถือได้ว่า เป็นขบวนการ ประมวลผลข้อมูลทางอนาลอกอย่างหนึง ่ เพื่อทำาให้เสียง สามารถผ่านเข้าไป ในช่องสัญญาณต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี และเมื่อถึงจุดสุดท้ายที่นำาออกมาใช้งานโดย การคลาย (Decompress) เราจะพบว่าสัญญาณที่ออกมา นันมีการสูญเสีย (% Loss) ไปบ้าง แต่การประมวลผลใน ้ ระบบดิจิตอลแล้ว ในขบวนการบีบอัด (Compress/Decompress) จะต้องไม่มีการสูญเสียเลย เพราะการสูญเสียหรือผิดพลาดเพียง bit เดียว อาจทำาให้ ข้อมูลทั้งหมดผิดได้ อย่างเช่นโปรแกรม Zip ดังนัน ้ ขบวนการบีบอัดในระบบดิจิตอลแล้วถือได้ว่าเป็นขบวนการ แบบ ไม่สูญเสีย (Lossless)
  • 85. ความสูญเสียอันเกิดจากข้อมูลที่ไม่มีความสำาคัญ จะขอ เริ่มที่ตวอย่างของเสียง (Audio) เทคนิคการเข้ารหัส ั และการกำาจัดสัญญาณที่ไม่จำาเป็นออกไป โดย ธรรมชาติของคนเรา ทางด้านการฟังเสียงเราสามารถ รับฟังเสียงได้ดที่ความถี่ ี ปานกลาง (600Hz-3.5KHz) ความถีที่สูงหรือตำ่าเกิน ่ ไปการรับรู้จะน้อยลง ความดังของเสียงที่เบาเกินไปก็ ไม่สามารถรับฟังได้ แต่ตัวอุปกรณ์รบเสียง (A/D) จะ ั รับเอาเสียงทั้งหมดเข้ามาเป็นข้อมูล (Data) พอมาถึง กระบวนการเข้ารหัส ก็จะตัดสิ่งที่ไม่สอนองต่อการ ได้ยินออกไป ส่วนจะออกไปมาก-น้อย ก็ขนอยู่กับช่วง ึ้ ความถีที่ต้องการ (Bandwidth) จากหลักการนี้เอง จึง ่ ทำาให้การเข้ารหัสแบบต่าง ๆ แข่งขันกันเพื่อทำาให้มี ขนาดเล็กที่สุดที่ยังคงคุณภาพอยู่ได้ ในแง่ของคำาว่า
  • 86. จะเห็นได้ว่าความสูญเสียที่ขาดหายไป เป็นการจำากัด ขอบเขตและการกำาจัดข้อมูล ในส่วนที่อยู่นอกขอบเขต ออกไป ดังนั้นความสูญเสียของสัญญาณเสียง จึง กระทบต่อการฟังของเราน้อยมาก เพื่อสนองการได้ยิน แล้วถือได้ว่าระบบ “ไม่สูญเสีย” หรือ Lossy
  • 87. ตัวอย่างของเสียงเป็นสิ่งที่เข้าใจได้ง่ายกว่าภาพวีดิ ทัศน์ ซึงก็เป็นเรื่องทำานองเดียวกันเพราะว่าการรับรู้ ่ ถึงภาพที่เคลื่อนไหว สี…ด้วยตาของเราไม่สามารถ แยกแยะได้ทั้งหมด การเข้ารหัสจะเป็นการกำาจัด ข้อมูลที่ธรรมชาติของการมองเห็นไม่สามารถรับรู้ ได้ ข้อมูลที่กำาจัดออกไป จึงถือได้ว่าเป็นความสูญ เสียของสัญญาณภาพที่กระทบต่อภาพที่มองเห็น น้อยมาก
  • 88. ทั้งระบบภาพและเสียง กับขบวนการ Encoder/Decoder เป็นภาระที่หนักมาก ของการ ประมวลผลที่จะต้องทำางานในแบบ Real-time โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้งานที่ต้องการคุณภาพ Encoder/Decoder มักจะเป็น Hardware ที่ทำา หน้าที่นี้โดยตรง แต่ถ้าจะใช้งานกันแบบพอใช้ได้ ก็ สามารถใช้ Software ทำาได้เช่นกัน ความแตก ต่างในเชิงคุณภาพ จะอยู่ที่ความสามารถในการ ทำางาน ว่าจะทำาได้ทันในแบบ Real-time หรือไม่ หรือต้องลดคุณภาพลงจึงทำาได้ทัน
  • 89. ในทำานองเดียวกันนี้จึงมีโปรแกรมทางด้านวีดีโอ และเสียงบางค่าย แทนที่จะใช้ Hardware ในการ ทำางาน แต่กลับใช้ Software ในการจัดการ ทั้งหมด แล้วไปเพิ่มประสิทธิภาพขอการประมวล ผลโดยเพิ่มจำานวน CPU เข้าไปอีก ความเร็วใน การประมวลผลมากกว่าปกติหลายร้อยเท่า ซึงก็ได้ ่ ผลดีเช่นกันเพราะข้อดี ของการใช้ Software ก็คือ จะทำาให้ระบบการทำางานมีความอ่อนตัวมาก ความ สามารถในการปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาคุณภาพ ให้สูงขึ้นได้ง่าย
  • 90. การใช้งานโดยทั่วไปแล้ว การ Encode ไม่ว่าจะ เป็น MPEG-1 หรือ MPEG-2 มักเป็น Hardware เพือให้ทำางานได้ทัน แต่การ Decode ่ มักใช้ Software เพราะราคาจะถูกกว่ากันมาก สำาหรับงานคุณภาพแล้ว การใช้ Hardware Decoder มักจะให้คุณภาพที่ดีกว่า อย่างเช่น การ ดูหนังที่เป็น VCD/DVD จากจอคอมพิวเตอร์ ดู แล้ไม่ชดเท่าที่ควร ก็เพราะโดยปกติระบบแสดง ั ภาพของคอมพิวเตอร์เมื่อนำามาดูหนังจะใช้ Software Decode ถ้าเราเปลี่ยนมาเป็น
  • 91. จะเห็นได้ว่าความสูญเสียหรือ “% Loss” ในขบวนการบีบ อัดข้อมูลอย่าง MPEG แล้วถ้ามองกันแบบขบวนการปกติ ข้อมูลไหลเข้ามาสู้ขบวนการบีบอัดข้อมูลแบบ MPEG แล้ว ออกไปเป็นข้อมูล ในรูปแบบ MPEG format นัน ถือได้ว่า ้ เป็นข้อมูลทีมีความสูญเสียที่สูงมาก การบีบอัดทำาได้ถึง ่ 90% แต่เนืองจากความฉลาดของ กระบวนการลดทอน ่ ข้อมูล จึงทำาให้ข้อมูลในส่วนที่สูญเสียไปทังหมดนั้น เป็น ้ ข้อมูลที่ไม่มีความจำาเป็น ต่อสัมผัสของมนุษย์ทั้งสิ้น ดังนัน ้ MPEG จึงเป็นการบีบอัดข้อมูลที่เหมาะสำาหรับการใช้กับ มนุษย์เท่านัน แต่อาจไม่เหมาะสำาหรับกิจกรรมทาง ้ วิทยาศาสตร์ หรือขบวนการอื่นที่ต้องการการจัดเก็บแบบ 100% จริงๆ
  • 93. Premiere คืออะไร  โปรแกรม Adobe Premiere คืออะไร หลายคนที่เคย ใช้โปรแกรม Photoshop ในการตัดต่อภาพคงเคย ได้ยินถึงชือเสียงของโปรแกรม Adobe Premiere มา ่ บ้าง โปรแกรม Adobe Premiere หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า Premiere นั้นก็คล้ายกับ Photoshop แต่แตกต่าง ตรงที่ Photoshop ใช้ในการตัดต่อภาพ แต่ Adobe Premiere ใช้ในการตัดต่อภาพยนตร์นั่นเอง  หลายคนคงคิดว่าการตัดต่อภาพยนตร์เป็นเรื่องยาก แต่สำาหรับโปรแกรม Adobe Premiere แล้วไม่ใช่ อย่างที่คด เพราะการใช้งานที่ง่ายและขันตอนไม่สลับ ิ ้
  • 94. ความต้องการระบบของ Adobe Premiere  สำาหรับเครื่อง PC  ระบบปฏิบัติการ Windows 98 Second Edition/2000 (Service Pack 2) ME/XP  CPU Intel Pentium III 500 MHz หรือมากกว่า สนับสนุน Pentium 4 หรือ Multiprocessor  RAM 128 MB (ควรจะเป็น 256 MB หรือมากกว่า)  ความละเอียดของหน้าจอ 600x800 Pixel ระบบสี ควรเป็น VGA 256 สี หรือสูงกว่า  ความต้องการพื้นที่ในฮาร์ดดิสก์ 600 MB ในการติด ตั้งโปรแกรม  หากต้องการใช้งานแบบ Real – Time Preview ควร
  • 95. สำาหรับเครือง MAC ่  Power PC G3 หรือมากกว่าควรเป็น G4 หรือ G4 dual  ระบบปฏิบัตการ Mac OS เวอร์ชน 9.0.2.2 Mac ิ ั่ OS 10.1.3  RAM 64 MB ในการติดตั้งโปรแกรม (ควรเป็น 128 MB หรือมากกว่า)  พื้นที่ฮาร์ดดิสก์ 600 MB ในการติดตั้งโปรแกรม  Apple QuickTime เวอร์ชน 5 ั่
  • 96. การใช้ Premiere ตัดต่อภาพยนตร์  สาเหตุที่เราสอนวิธีตัดต่อหนังให้ก่อน เพราะหาก เรามานั่งจำาคำาสั่ง และ Option ต่างๆ ของ Premiere อาจจะทำาให้เราเบื่อไปเสียก่อน ทั้งที่ Premiere มีการทำางานที่ง่าย และเมื่อเราเข้าใจ แล้วก็จะเรียนรู้ได้อย่างสนุกสนาน  เราจะนำาไฟล์วีดโอที่เราต้องการตัดต่อนั้นมาเปิดชม ี โดยใช้ Premiere ซึงไฟล์วดีโอนี้เป็นไฟล์ที่ติดมา ่ ี กับ Premiere อยู่แล้ว หากเราไม่ใช้ไฟล์วดีโอเรา ิ สามารถใช้ไฟล์รูปภาพธรรมดามาเปิดชมแบบไฟล์ วิดีโอก็ได้
  • 97. 1. เปิดไฟล์วิดีโอขึ้นมาก่อนโดยที่เราจะใช้ไฟล์วิดโอ ี ที่มากับ Premiere โดยเลือกที่เมนู File > Import เลือกโฟลเดอร์ Sample Folder ซึงมีอยู่ใน ่ โฟลเดอร์Premiere อยู่แล้ว
  • 98. 2. เมื่อเปิดโฟลเดอร์ Sample Folder ขึนมาแล้วให้เรา ้ เลือกไฟล์วดีโอขึนมา 2 ตัว โดยกดปุ่ม (Ctrl) ค้างไว้ ิ ้ แล้ว Click ที่ไฟล์ที่ต้องการ โดยเราจะเลือกไฟล์วดีโอ ิ ที่ชอว่า Cyclers และ Fastslow (เป็นไฟล์ที่มีมากับ ื่ Premiereอยู่แล้ว) จากนั้นก็กดปุ่ม Open
  • 99. 3. เมื่อเราได้ไฟล์วดีโอที่เราต้องการตัดต่อมาแล้ว ิ สังเกตที่หน้าต่าง Project จะแสดงไฟล์วดีโอที่เรา ิ เลือกขึ้นมา
  • 100. 4. ให้เรานำาเมาส์มาวางไว้ที่ไฟล์วดีโอชือ Cyclers.avi ิ ่ แล้วทำาการแดรกเมาส์ สังเกตว่าเมาส์ของเราจะเปลียน ่ เป็นรูปมือ ให้เราแดรกเมาส์มาปล่อยไว้ที่เลเยอร์ Video 1A ในหน้าต่าง Timeline
  • 101. 5. หลังจากนั้นเราก็สามารถดูไฟล์วิดโอได้จากหน้าต่าง ี Monitor ได้ โดยกดปุ่ม Play
  • 102. 6. เสร็จแล้วให้เราลากไฟล์ภาพยนตร์ Fastslow.avi มาวางไว้ที่หน้าต่าง Timeline ต่อจากไฟล์ภาพยนตร์ Cycler.avi
  • 103. 7. เมื่อเรากดปุ่ม Play ที่หน้าต่าง Monitor สังเกตว่า ไฟล์ภาพยนตร์ทั้ง 2 เรื่อง จะเล่นต่อเนื่องกันไป
  • 104. นอกจากนันเรายังสามารถนำาไฟล์วดโอมาเรียง ้ ิ ี ต่อกันหลายๆ ไฟล์ได้ด้วย เพื่อให้แสดงเป็น วิดโอเรื่องยาว โดยใช้ขั้นตอนเดียวกันกับวิธีที่ ี เรา Open หรือ Import เข้ามา
  • 105. รูจักคำาศัพท์ทใช้ใน Premiere ้ ี่  สำาหรับ Premiere นั้นจะมีศพท์เฉพาะที่ใช้เรียก ั องค์ประกอบต่างๆ ซึ่งเราจะใช้บ่อยๆ ใน Premiere เราจึงต้องทำาความเข้าใจกันก่อน ไม่เช่นนั้นเรา อาจจะสับสนได้ เนื่องจากมีการเรียกที่แตกต่าง จากโปรแกรมอื่นที่เราเคยใช้กันมา
  • 106. Project หมายถึง ไฟล์งานที่เราสร้างหรือกำาลังตัด ต่อกันอยู่ โดยเราจะเรียกไฟล์งานของเราว่า “โปรเจ็ค” ซึงจะครอบคลุมงานทั้งชินของเรา ่ ้
  • 107. Clip หมายถึง ไฟล์วดีโอ ไฟล์ภาพ และไฟล์เสียง ิ ต่างๆ ที่เราทำาการ Import หรือนำาเข้ามาใช้ โดยแต่ละ ไฟล์เราจะเรียกว่า “Clip”
  • 108. Track หมายถึง เลเยอร์ที่ใช้ใน Timeline ซึงแต่ละ ่ เลเยอร์เราจะเรียกว่า Track เช่น เลเยอร์ของ Video 1A เราจะเรียกว่า Track ของ Video 1A โดย Track เหล่านี้ใช้สำาหรับตัดต่อภาพยนตร์ และตัดต่อเสียงรวม ทั้งเทคนิคพิเศษต่างๆ
  • 109. Frame หมายถึง ช่องแต่ละช่องที่แสดงอยู่บน Timeline ซึงแต่ละช่องนี้จะแสดงภาพแต่ละภาพที่อยู่ ่ ใน Clip โดยจะเรียงต่อกันไปเรื่อยๆ เหมือนกับฟิล์ม ถ่ายหนัง และเราจะเรียกช่องเหล่านั้นว่า “Frame”
  • 111.
  • 112. การนำา Clip มาใช้  เราคงทราบแล้วว่า Clip คือ ไฟล์วิดีโอ (ภาพยนตร์) ไฟล์ออดิโอ (เสียง) และไฟล์ภาพ ที่เราทำาการ Import เข้ามา โดยเลือกเมนู File > Import > File จากนั้นก็เลือกไฟล์ที่เราต้องการ ซึงเรา ่ สังเกตได้วาเมื่อเรา Import เข้ามาแล้วไฟล์ Clip ่ จะถูกเก็บไว้ในหน้าต่าง Project
  • 113. ประเภทของไฟล์ที่ Premiere สามารถนำาเข้ามา ได้ รูปแบบไฟล์ นามสกุลไฟล์ Premiere Project *.ppj Batch List *.pbl EDL *.edl Premiere Bin *.plb Premiere Storyboard *.psq Premiere Title *.ptl Text *.tet AutoDesk Animation *.flc , *.fli AVI Movie *.avi ComuterServe GIF *.gif DV *.dv Filmstrip *.fim MPEG *.mpeg, *.mpe, *.mpg, *.m2v, *.mpa QuickTime *.mov Al File *.ai Bitmap *.bmp, *.dib, *.rle EPS File *.eps JEPG *.jpg, *.jpe, *.jfif Macintosh PICT *.pic, *.pct PCX *.pcx Photoshop *.psd Targa *.tga TIFF *.tif Windows Metafile *.wmf Audio Interchange *.aif Mp3 *.mp3 Windows Waveform *.wav
  • 114. การนำา Clip มาใช้  หลังจากที่เราทราบรายละเอียดเกียวกับ Clip เบื้อง ่ ต้นกันแล้ว ต่อไปเราจะนำา Clip มาใช้งาน โดย เริ่มจากการ Import ไฟล์ Clip ที่เราต้องการใช้ และนำา Clip ไปวางไว้บนหน้าต่าง Timeline โดยมี วิธีการดังนี้
  • 115. 1. เลือกที่เมนู File > Import > File หรือกดคีย์ (Ctrl+V) เพื่อนำาไฟล์หรือ Clip ที่เราต้องการเข้ามาใช้
  • 116. 2. โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง Import ขึ้นมา จากนั้นให้เรา เลือกโฟลเดอร์ที่เก็บ Clip หรือไฟล์ที่เราต้องการแล้ว Click Mouse ปุ่ม Open
  • 117. 3. สังเกตว่าไฟล์หรือ Clip ที่เราเลือกจะปรากฏที่หน้าต่าง Project แสดงว่าไฟล์ที่เราต้องการถูก Import เข้ามาแล้ว
  • 118. การนำา Clip มายัง Timeline  Timeline เป็นหน้าต่างหลักในการตัดต่อ และเพิ่ม เติมเทคนิคพิเศษให้กับภาพยนตร์ ดังนั้นเราต้อง นำา Clip มาวางไว้บน Timeline  หลังจากที่เรานำา Clip มาวางไว้ที่หน้าต่าง Project แล้ว ให้เรา Click Mouse ค้างที่ Clip บน หน้าต่าง Project แล้ว Drag mouse มาวางไว้ ที่หน้าต่าง Timeline ตรง Track ของ Video 1A เพื่อให้ Clip สามารถทำาการตัดต่อได้
  • 120. เราสามารถกำาหนดรูปแบบการแสดง ภาพของ Clip บน Timeline ได้ โดยจะ ช่วยให้เราเห็นจุดเริ่มต้น จุดสุดท้าย เหนือในแต่ละ Frame ว่าขณะนั้นกำาลัง แสดงภาพอะไรอยู่ ซึงการปรับแต่งนี้ ่ ไม่มผลใดๆ ต่อ Clip แต่จะช่วยให้เรา ี ทำางานสะดวกมากขึ้นเท่านั้น โดยเรา สามารถกำาหนดได้ดงนี้ ั
  • 121. เลือกเมนู File > Window Options > Timeline Window Options  จะปรากฏหน้าต่าง Timeline Window Options ให้ เราเลือกที่ชอง Track Format เพื่อเลือกรูปแบบใน ่ การแสดง Clip บน Track
  • 122.
  • 123. กลุ่มเครื่องมือตัดต่อ  เครื่องมือต่างๆ ในกล่องเครื่องมือของ Timeline นั้นยังมีเครื่องมือที่ซอนอยู่อีก ซึงมีหน้าที่ในการใช้ ่ ่ งานที่แตกต่างกันออกไป เราจะมาเรียนรู้การใช้ เครื่องมือเหล่านี้ได้ โดยเครื่องมือที่มีรูปสามเหลี่ ยมเล็กๆ ที่มุมของเครื่องมือแสดงว่ามีเครื่องมือ ซ่อนอยู่ให้เรา Click Mouse ค้างไว้เพื่อแสดง เครื่องมือที่ซอนอยู่ ่