SlideShare a Scribd company logo
1 of 252
Download to read offline
ตำรับ
ยอด
เลขา
จากคัมภีร6' "จรรยาบ่าว,,
วิธีฝ็กผ้นำในยค ร.ศ. ๑(ภ๑
พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชั๊?โว)
www.kalyanamitra.org
ตำรับ
ยอดจากคัมภีร์ "จรรยาบ่าว"วิธีฝึกผู้1นำ61ใน:ยุคร.ศ. ๑๓๑
พระภาวนาวิริยคุณ (เผเจ ทตุตชีโว)
www.kalyanamitra.org
คำปรารภ
เรื่องที่หลวงพ่อนำมาเทศน์คราวนี้ นำมาจากหนังสือ จรรยาบ่าว
ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ ๗๕ ปีที่แล้ว คือรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ. ๑๓๑) พิมพ์ที่
โรงพิมพ์สามมิตร โดยไม'ได้ระบุชื่อผู้เขียนไว้ เจ้าหน้าที่ท่านหนึ่งของ
ฝ่ายวิชาการได้ไปพบหนังสือเล่มนี้ในร้านขายหนังสือเก่าแห่งหนึ่ง จึงซื้อ
มาถวาย ครั้งแรกที่เห็นก็รู้สึกสะดุดใจว่าชื่อแปลก พอพลิกอ่านดูก็ยิ่ง
รู้สึกว่าดีมาก เลยนึกถึงญาติโยมที่มาวัด อยากให้รู้เรื่องราวดี ๆ อย่างนี้
บ้าง ก็เลยนำมาเทศน!ห้ฟังในปี พ.ศ. ๒๕๓๑
ที่หน้าแรกของหนังสือเล่มนี้ มีลายมือแบบคนรุ่นเก่า ซึ่งคงจะ
เป็นเจ้าของหนังสือคนแรกได้เขียนไว้ว่า
น้อย เพราะกงไม่มยูใคต้องการเรยนเป็นบ่าว ต่างอยาก
เป็นเสนาบคั๋ค้วยกันทุกกน ในทันใคก็่ได้กำฅอบขั้นมาว่า
ตามธรรมตา ผูใฅจะเป็นยูใหญ่ เช่น LCfนาบคึ่ เป็นต้น
รำเป็นต้องเป็นบ่าวมาก่อนทั้งนั้น เพราะฉะนั้น หนังสือน'รึง
มประโยชนทั่วไปทั้งนายและบ่าว
' •ร,
ตำรับยอดเลขา (cr) คำปรารภ
www.kalyanamitra.org
ข้อกวามทมfงฟ้ธนอยูในหนังสือเล่มนั้นั้น โคยมาก
สมก1วทเละ!เหมารกับทผู้เป็นบ่าว'จะกระทำแก่นายกน,ใทย
ศมัยเก่าล่วนขู้ทฟ้นไทย'ฝ็มัยใหม่ทรอฝรั่งก็่ฅึ่ จะต้องระวัง
กัดแปลงกิคให้ถูกอ้องกั!Jฝ็มั!,1งกวร อย่างไร?ไค ตำราเล่ม
นนบ'ว,าดม•ไกอยู่ ถงแม้ว่าจะใช้สำหรบนายทเป็นกนไทย
คำว่า บ่าว ที่ใช้กันมาแต่สมัยโบราณ หรือ'ที่'นำมา'ใชในที่'นี้ ไม่ได้
หมายถึงข้าทาสในระบบศักดินาแต่อย่างใด แต่หมายถึงคนใกล้ชิดที่
เจ้า'นาย,ไว้ว'างใจ!1ฬ้ติดตาม'รับ6เช้ฬงในเรึ่องการงาน และเรื่องส่วน,ตัว ถ้า
อยู่ในวงการทหารนิยมเรียกว่า ท.ส. ซึ่งย่อมาจากคำว่า ทหารคนสนิท
ค่าปรารภ (X)) ตำรับยอดเลขา
เมื่อหลวงพ่ออ่านเนื้อหาโดยตลอดแล้ว ก็ต้องยอมรับว่าคนที่
เป็น "บ่าว" ตามนัยยะของหนังสือเล่มนี้จะต้องฝึมือเยี่ยม และทำงาน
ด้วยชีวิตจิตใจที่ผูกพ้นจริง ๆ จึงจะได้ความไว้วางใจให้เข้ารับใช้ใกล้ชิด
ในหน้าที่บ่าว ไม่ใช่ว่าใคร ๆ ก็เป็นได้ ถ้าจะว่ากันตามตรงแล้ว คนที่
ประสบความสำเร็จในชีวิตทั้งหลายแทบจะไม่มีใครเลยที่,ไม่เคยผ่านงาน
บ่าวมาก่อน ต่างกันแต่ว่าไม่ใช่บ่าวจริง ๆ แต่ทำงานให้เจ้านายอย่างไม่
รังเกียจเดียดฉันท์ ทำอย่างบ่าวแท้ ๆ คนที่ไม,เคยทำตัวเป็นอย่างบ่าว
เสียอีกที่ใม่ค่อยมีความเจริญรุ่งเรืองในชีวิตและหน้าที่การงานเท่าใดนัก
เพราะฉะนั้น หนังสือเล่มนี้จึงน่าจะมีประโยชน์ทั่วไปทั้งบ่าวและคนที่
ต้องการไต่เต้าเนไปเป็นเจ้าคนนายคน
www.kalyanamitra.org
ถ้าเป็นลูกศิษย์พระก็เรียก ลูกสิษย์ก้นกุฏิ ถ้าอยู่ในวงการนักเลงก็เรียก
สมุนคู่ใจ แต่สมัยนี้ที่เห็นใช้กันแพร่หลาย มีอยู่คำหนึ่งคือ เลขาฯ คำ
เต็มว่า เลขานุการ แต่เรียก เลขาฯ เฉย ๆ ดูจะสนิทเป็นส่วนตัวมาก
หน่อย ตรงตามคุณสมบัติท่านผู้เขียนไว้
พูดถึงประโยชน์ทั่วไป หนังสือเล่มนี้เหมาะกับทุกคน เพราะไม่ว่า
ใคร ๆต่างก็มีหัวหน้ากันทั้งนั้น อ่านแล้วจะได้ทราบว่าต้องทำตัวอย่างไร
จึงจะถูกอกถูกใจหัวหน้าทำงานไปด้วยกันได้แล้วจะได้รู้ชัดขึ้นอีกว่า
จริง ๆ แล้ว การทำงานรับใช้เจ้านายนั้น ไม่ใช่แค่ถูกใจอย่างเดียว ต้อง
ดูกต้อง และถูกกาลเทศะด้วย ส่วนคนที่อับเฉาอยู่ในหน้าที่การงานอยู่
นาน เมื่ออ่านเรื่องนี้แล้ว ก็จะได้พิจารณาเทียบเคียงความประพฤติของ
ตัวเองว่า มีข้อบกพร่องในสิ่งใดบ้าง ถ้ามีก็จะได้ปรับปรุงตัวเองเสีย
ก่อนที่จะไปเพ่งโทษคนอื่น หรือคิดน้อยอกน้อยใจว่าอย่างโน้นอย่างนี้
ส่วนผู้เป็นนายที่อยากได้ลูกน้องที่มองตาก็รูใจ ใช้งานคล่องก็จะ
ได้เอาหลักเกณฑ์เหล่านี้!ปฝึกอบรมคนในหน่วยงานให้เห็นเป็นแนวทาง
ใครที่มีแววเข้าท่าเข้าทางก็จะได้คัดเลือกเอามาฝึกให้รับใช้ใกล้ชิด จะ
หวังให้รู้กันเองนั้นสมัยนี้ดูจะยาก
สำหรับชื่อเรื่อง หลวงพ่อขอตั้งชื่อใหม่ จะได้ไม่บาดตาบาดใจคน
อ่านคนฟังมากนัก ให้ชื่อว่า ตำรับยอดเลขา ก็แล้วกัน เพราะดู ๆ
เนื้อหาแล้ว เอาไปเป็นตำราฝึกคนได้เข้าท่าดีมาก
''ร,ตำรับยอดเลขา (or) คำปรารภ
www.kalyanamitra.org
ฝ่ายวิชาการวัดพระธรรมกายมาขอต้นฉบับไปพิมพ์เผยแพร่ ก็
ขอให้เอาไปใชใหได้ประโยชน์ทั้งทางโลกและทางธรรม หลวงพ่อลำดับ
เนื้อความตามต้นฉบับเดิม คัดลอกของเก่าไว้ให้ดูด้วย เพื่อรักษาศัพท์
แสงบางคำไว้ และเพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้เขียนด้วย ส่วนที่ขยายความออก
มาก็เพื่อให้เหมาะกับยุคสมัยและเหมาะกับงาน คนรุ่นใหม่จะได้เข้าใจ
ได้ง่ายขึ้น
ขอกุศลผลบุญที่เกิดจากการที่หลวงพ่อนำเรื่อง จรรยาบ่าว มา
อธิบายขยายความเป็น ตำรับยอดเลขา และจากการที่ท่านทั้งหลาย
นำไปปฏิบัติจนเกิดความเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงานทั้งทางโลกและ
ทางธรรม จงถึงแก่ผู้เขียนหนังสือ จรรยาบ่าว และผู้ที่มีส่วน61นการเผย
แพร่หนังสือนื้ทุกภพทุกชาติตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน
ทตฺตชีโว ภิกฺขุ
คำปรารภ {a) ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
เค้าความเดิม
เรื่องจรรยาบ่าวที่ผู้เขียนไม่ปรากฏนามเรียบเรียงไว้นั้นท่านจัด
สารบัญไว้เรียบร้อยว่า จรรยาทั้ง ๓๕ ข้อ มีอะไรบ้าง แต่พอเข้าเนื้อ
เรื่อง ท่านก็ลุยเนื้อหาเลย ไม่ได้ยกเอาชื่อหัวข้อมาตั้งไว้อีก หลวงพ่อจึง
เอามาใส่เพิ่มไว้ตามหัวข้อเอง เพื่อสะดวกแก่การทำความเข้าใจ และที่
ถูกใจหลวงพ่อมากคือ คำนำ ในการจัดทำหนังสือจรรยาบ่าว จึงขอ
คัดลอกข้อความมาเล่าสู่กันฟังด้วย ท่านเขียนว่า g „ ^ ^ ^ ^
"เมึ่อไค้พิจารณาคูบ่าวฤๅกนใช้ สำหรับท่านผู้ม I
พาศนา บรรดาffกคิ้ในปิจจุบันน' มกิริยาท่าทางทํ่ประพฤติ 
ต่าง ๆ กันหลายอย่าง จะเป็นด้วยไม่รู้ว่าหน้าทํ่แห'งฅนกวร
ระกระทำอย่างไรบางฤๅอย่างไร ฤๅจะเป็นด้วยไม่มตำรา !
ราเรยนและมผู้แนะนำ ก็่กงเป็นแต่รำกันอย่างหยาบ ๆ
ต่อ ๆ มา กวามรำต่อ ๆ มานั้น จะว่าคกึ่ม จะว่าชั่วก็่มั๋
เป็นอันมและเป็นไค้ทั้งชั่วและค กล่าวก็่กอ ไปรำเอาทดมา
เป็นตำรา กี่เป็นการคไป ถ้าไปจำเอาทชั่วมาเป็นตำรา
เช้า6!จ1ว่าคว่าถก มันก็่เสิยหนทางไป I
ตำรับยอดเลขา (or) เค้าความเดิม
www.kalyanamitra.org
. ร - - - ^ ^ M i l
เมํ่อซงใคไม่มหลักลูฅร์ และตำรา'Iห้itยนก็่เมนการ
ยากทิ่ระทำให้ถูกให้ดไปทุกอย่างไค้ คูกี่เหลอนิลัยทึ่ระ
ปฏิบัติ ถึงหากว่ามเรฅนาอันค แค่ว่าไปถธ และกระทำทางท
ผิคเช้า เช่นไปรำอย่างโซ้ค ๆ อันไม่เช้าเรํ่องอะไรมาเช้าใจ
ว่าค เช่นนั้เป็นต้น กี่กระทำให้ตนเสียกวามเรยบร้อยไป
ทวา)เฉฟ้าค-จ5JJ ก็่ค้วยก'วามประ.พฤฅิดแถ::ถูกมากกว่าผค
แต'ฉัใJIฅจงระรู้ว่าคฤ ๅไม,มกวามฉลาVIIล่า กต้องอๆกรัย
กวามกกษาและา•าแรึยน และการทิ่เรยใJ.นนกึ่ต้องมฅํ'111
และหลักลูฅร์ตำราอย่างนก!ม'ม และทิ่มบ้างก!ม่ฅรงกวาม
ต้องการทบเรองอย่างน' ระทำอย่างไร
เมํ่อไค้ตริฅ1องคูเทนVIางบกพร่องอยู่เช่นน จงไค้กิSi
เรยบ LTยงเรํ่องจรรยาบ่าว,โรมบนขน Iฅยเหนว่าจะเป็น
ประโยชน์ แก'ผู้ทิ่ระเป็นช้า เจ้าบ่าวชุนน'ไงอยู่บ้าง ถ้าไค้เดิน
ทางน หริออกอย่าง เพึ่อเป็นหนทา .1พจะไค้พิราร'เนา เลือก
สินหาทางทิ่ชอบต่อไป ถึงแม้ว่าหนังสือฉบับ'นระรวบรวม
ข้อกวามยังไม่หมครคถถ้วน กี่นก'ว่ายัง?ากj•ไไJเมทเคยว
เนอค้องการเพยงใค ฤๅม่กวามลามารถทำไค้แต่เพยงใค กี่
ลุคแฅใจรักทิ่จะกระทำ และกงระเป็นกุณประ!บชนอยูบวง:
เพํ่อยู้ทํ่ประพฤฅิ้แขเชือนไ!Jใค้พ1J1ค้อ่าใมาจะล?ไค I.รไค้ลค
ขนมาบ้างฅอกกระมัง ฤๅปฎิบัฅิเช้าทางอยู่แตว แต่ทากว่า
เค้าความเดิม (๑๐) ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
ยังบกพร่องแลไม่เห็่นทางยืคยาวต่อไปอกอยู่บ้าง เมํ่อ่ไท้
พิจารณาคู ก็่จะไค้แลเห็่นทางทไต้แผ้วถางทำไว้นั้นโล่ง
เตยนพอทจะเคิน่ใต้สค'วก คกว่าบุกรุกบุกพงเคาลวคไปตาม
บุญฅามกรรรม และเมอมทางเฅึ่ยนให้เฅินขั้นแล้ว ก็่จะเดิน
เร็่วชน ถึงนั่นถึงน!,ค้ลควกทันความต้องการ ถ้าหากว่าม
ความส์ามารถอยากจะเดิน ถ้าแมไม่อยากจะเดิน ถึงมทาง
ไว้ กใม่เป็นประโยชน์อะไรอยู่เอง
แต่การทใต้ทำเรองขนน ไม่ไค้หมายกวามไปถึงทาษ
และลูกร้าง ส์าหรับแต่บ่าวหรอคนใช้ และบรงข้อความระ
สูงเกินไปจากกนใช้และบ่าวก็่มือยู,บ้าง แต่เหึ่นว่าไม่แยหาย
อะไร กระทำไต้ก็่ยิ่งคเส์ยอก และฒึ่อมแบบฉบับลำหรับ
บ่าวปฏิบัติเป็นทางไว้เช่นน็้แล้ว กวรท่านผู้เป็นนายทั้ง
หลายจะจัคหาไปให้ปาวฤๅกนใช!ห้^กษาทราบกวามไว้
เ'รองแกล้วกวามเข้าใจอะไรต่าง ๆ ชองบ่าวจะน้อยลง
ประโยชน์กึ่มืทั้งลองฝ่าย ส่วนนายก็่จะทุเลาเบาแรงในการ
ปากบ่วนกวนใรไปบ้าง
เมอพลาคขิคลงในช้อใค ก็่จะลงโทษและว่ากล่าวไค้
ถนัค เหมือนคงไค้ออกกำสิงไว้!,หัแส้ว ส่วนบ่าวทไม่ใกร่จะ
เอาถ่านกึ่ระไต้มืกวามรูในสิงซํ่งกวรปฏิบัติ และนกคร้าม
ยำเกรงระวังขิคมาณช้า จะกิคประหนงว่า หนังสือน็้เหมือน
,0
ตำรับยอดเลขา (๑๑) เค้าความเดิม
๖i
{;
;
www.kalyanamitra.org
ข้อบังกับ ระกถ'บใ.'จทํ่ประพฤติแชเชือมมากลับประพฤติเข้า
ทางด ก็่ระมประใยชนไค้ดอกกระมัง ตัวอย่างโาย่อมมแต่
กรั้งโบราณในการประพฤคิแชเชอน แล้วกลับคไค้'ลำเรจ
11ร1 กนล ออกI'llใJกองftองกองไ).แช่-หรือ ฤๅระกํคค้าใJๆ'า
ทานเหล่านั้นมนลัยชรรัย รึงกลับไค้ ก็่นใกรระรู้แน่ไค้ว่า
เขาไม,มืนิลัยปิจรัยกลับเป็นคใค้บ้างเล่า ในเนอไฅรบกำ
แนะนำทางคทางขอบเข้า ข้าพเร้าไมไค้ประมาทเถยว่า เขา
ระกลับกืนคั้ใม'ไค้ ^ ; ' / ไ. ^ , : : '
กึง'ในปิจรุบันนิ้ กึ่มฅัวอย่ 3อยู่ถมไป ทํ่ประพฤติ
แชเชือนมาแล้ว กลับประพฤติถูกทางคใปไค้ ขอใท'ลองนกดู
เถิคกงระเห็่นไค้ แต่กนทํ่ประพฤฅิแชเชือนม'ไก่อนแล้ว มา
ประพฤติถูกทางกลับดไค้นั้น ย่อมระเป็นกนมกวาม
ลามารถลำกัญมาก เพราะทํ่พิ่แกไค้เกยรู้รลอฅทน เปรยว
หวานรึดเก็่มกIครับรอฒาเล้I แต่ข้อน''BCอย่าให้เข้าใรว่า
ข้าพเร้าแใ.4ะนำและยืนยันให้ประพฤติแชเชือนมาก่อนแล้ว
รึงระคภายหลังนั้นเลย ข้าพเร้าใ:)เยอ]เรับรองเอา เพราะใร
ของข้าพเร้านั้นอย ไกระ-นIาฅั้งแต่ฅทฟ"ใาทเคยวคึ่T'ว่า
ก็่เพราะเทฅฉะนั้นรึงเห็่นว่า แบบแผนอัน'ใคมอยู่
ถงว่าไค้เหึ่นไค้พยครั้ง แรกจะไม,ล้นยมเชํ่อถือก็่ค แฅ่ทาให้
ลกิฅใจอยู่บ้าง เมํ่อลกิฅเข้าบ่อย ๆ ก็่เลยนิยมเชิ่อถือเอา
ชุเร!§ไ?^.^ .
เค้าความเดิม (๑!ร) ตำรับยอดเลขา
'.;S:*ชุเแร^
www.kalyanamitra.org
เป็นคึ่ มกวามเลํ่อมใลไปก!ค้ใรมันกลับไค้เปลึ่ยนไค้บาง ฐ
ษขณะเหมอนกัน เป็นล่ากัญทึ่ค้องหมั่นล้องเลพย์และสืกษา
ค้วย เมื่อรรออยู่เลมอ มันก็่อารเหหันไปไค้ เช่น กำภาษิต
เฑลึ่ด ๆ ชองบุราณกล่าวว่า "กบกนพาล พาลพาไปหาขิค
กบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล" ฤๅภาษิตตลาคอกไม้หนง
ว่า "กบคนคมกรแก'ตัว กบกนชั่วปราชัย" เช่นนกึ่กวาม
เคยวกัน
ถ้า1ระแปลออก1ใปก็่คือ กวามคืกษากบหาล้องเฝ็พย์
นั้นเอง เมื่อช้วเป็ยอยู่กับใกรหรอกับอะไร นิลัยมันก็่อารระ
ฅิคต่อกับกนนั้น ฤๅอย่างนั้นไค้ เช่น กนเป็นละกรและเป็น
โขน คูกิริยาท่าทางซ กงระมท่าละครและโขนอยู่เลมอ เอา
รักละเอยคออกไปอกท กนทิ่เป็นนางก็่กิริยากงค้วมเตยม
ลมุนลไม กนทิ่เป็นยักษเป็นลิงก็่ตงตังลอกแลก คูเอาเกิต
มันฑ็่เป็นไค้เช่นนั้น เพราะฉะนั้น เหตุไรมันรึงระกลับตัว
ไมไค้บ้างเล่า ย่อมระเป็นไคตงทํ่กล่าวแล้วบ้างเหมอนกัน
เพราะฉะนั้น เมื่อมแบบแผนและหลักลูฅร หรอกฎข้อ
ควรปฏิบัติขนแล้ว ก็่หวังใรว่า กงระสืกษาและพิรารณา
เห็่นทางผิคทางชอบบ้าง เป็นทางกันเขลาและเบากวาม
ต่าง ๆ ฤๅทวกวามป็สาหและกตัญฌูขน อันเป็นของคยํ่ง
แห่งมนุษย์และเทพยคาลรรเลริญ กวามเผลอเพลินเฉไป I
•ะ.
ตำรับยอดเลขา (®o) เค้าความเดิม
'ร•••ฟ้^0*
www.kalyanamitra.org
ทางการชั่ว ฤๅกลั้วอยูในทางขิค ก็่จะไค้นกไค้กิคเปลํ่ยน
จิตTตัง'BTT^^'""'ท'1 แพ«11 !«>*>«->. . _ คเข้าในทิ่ทางถูกทางชอบตอก
กระมังยู้เรยมเรยงกึ่มกวามหวังและตั้งใจให้เป็นเช่นน็้ โคย
ความปรากนาอันคฉะน็้แล
- « 5 ; . 3 ' ร - - - - -
แล้วท่านก็ดำเนินเรื่องเลย ดังที่หลวงพ่อกำลังจะนำมาเทศน!ห้ฟัง
กัน พร้อมกับขยายความเพิ่มเติมให้อีกนี่แหละ
ทตฺตชีโว ภิกฺขุ
เค้าความเดิม (๑๙) ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
สารบัญ
คำนำ
คำปรารภ
เค้าความเดิม
๑. การเลือกนาย ๑
๒. ความจงรักภักดีต่อนาย ๕
๓. อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย ๙
๔. อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก ๑๓
๕. จงอุตส่าห์ทำการงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด ๑๙
๖. อย่าเป็นคนเฉอยชา ๒๕
๗. อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ ๓๓
๘. อย่าเป็นคนสะเพร่า ๔๑
๙. ต้องเอาใจใส่ตรวจตรากิจการอยู่เสมอ ๔๕
๑๐. อย่าเลินเล่อในการรักษาและขับรถยนต์ ๕๑
๑๑. ของของนาย จงขอเสียก่อน จึงถือเอา ๕๗
๑๒. จงระวังแต่งตัวให้สุภาพเรียบร้อย ๖๓
๑๓. จงเป็นผู้รู้จักประหยัดการใช้จ่าย ๖๗
๑๔. จงเป็น.ผู้มีค'วาม,ไหวพริบ ในการไปธุระของนาย ๗๕
๑๕. การเคารพต่อผ้มี'วาสนาบรรดาสักด ๘๕
ตำรับยอดเลขา (off) สารบัญ
ฯ..,/^
www.kalyanamitra.org
๑๖. จงเลือกโอกาสเข้าหาผู้ที่,นายใชไปด้วยกิจธุระ ๙๑
๑๗. ว่าด้วยการปลุกนายตามทุ่มโมงที่สั่งไว้ ๙๗
๑๘. การเฝีาบ้านเมื่อเวลานายไม่อยู่ ๑๐๗
๑๙. เมื่อเวลาไปไหนกับนาย อย่าพลัดกับนาย ๑๑๓
๒๐. จงเป็นผู้มีความอดทนและเสงี่ยมเจียมตัว ๑๑๙
๒๑. จงรักษาประโยชน์และเกียรติยศของนาย ๑๒๕
๒๒. อย่าเป็นผู้ลำเอียงในบุตรภรรยาของนาย ๑๓๑
๒๓. อย่าเป็นคนเจ้าชูในบ้านท่าน ๑๓๗
๒๔. จงมีความอารีต่อเพื่อนบ่าวด้วยกัน ๑๔๑
๒๕. ต้องรู้ชนิดแขกที่มาหานาย ๑๕๑
๒๖. เมื่อแขกมาหา อย่าห่างนาย ๑๕๙
๒๗. อย่าเย่อหยิ่งเป็น "กิ้งก่าท้าววิเทหราช" ๑๖๗
๒๘. จงเป็นผู้มี1พร้อมทั้งสติและปัญญา ๑๗๓
๒๙. อย่าหน้าไหว้หลังหลอก ๑๘๕
๓๐. อย่าคิดว่าการที่ตนต้องทำเป็นของเลวทราม ๑๙๑
๓๑. ผู้ดีคืออะไร ๒๐๑
๓๒.
อย่าประพฤติดังภาษิตว่า "มั่งมีดีหอม ช่วยกันตอมกิน"
๒๐๕
๓๓. อย่าประพฤติดังภาษิตว่า "ปลาผุดเอาเบ็ดหย่อน" ๒๐๙
๓๔. จงถือภาษิตว่า "ช้าเป็นการ นานเป็นคุณ" ๒๑๕
๓๕. อย่าเป็นผู้มีค'วามประมาท ๒๒๓
สารบัฌ (๑X5) ตำรับยอดเลขา
• -
www.kalyanamitra.org
ะ ^ : . ร ,
สารบัญหมวดหมู่
บริหารตน
๑. การเลือกนาย ๑
๒. ความจงรักภักดีต่อนาย ๕
๑๒. จงระวังแต่งตัวให้สุภาพเรียบร้อย ๖๓
๒๐. จงเป็นผู้มีความอดทนและเสงี่ยมเจียมตัว ๑๑๙
๒๑. จงรักษาประโยชน์และเกียรติยศของนาย ๑๒๕
๒๒. อย่าเป็นผ้ลำเอียงในบตรภรรยาของนาย ๑๓๑
๒๓. อย่าเป็นคนเจ้าชู้ในบ้านท่าน ๑๓๗
๒๔. จงมีความอารีต่อเพื่อนบ่าวด้วยกัน ๑๔๑
๒๗. อย่าเย่อหยิ่งเป็น "กิ้งก่าท้าววิเทหราช" ๑๖๗
๒๘. จงเป็นผู้มีพร้อมทั้งสติและปัญญา ๑๗๓
๒๙. อย่าหน้าไหว้หลังหลอก ©๘๕
๓๒. อย่าประพฤติดังภาษิตว่า "มั่งมีดีหอม ช่วยกันตอมกิน" ๒๐๕
๓๕. อย่าเป็นผู้มีค'วามประมาท ๒๒๓
บริหารคน
๔. อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก ๑๓
๑๕. การเคารพต่อผู้มี'วาสนาบรรดาสักด ๘๕
๑๖. จงเลือกโอกาสเข้าหาผู้ที่นายใช!ปด้วยกิจธุระ ๙๑
๒๕. ต้องรู้ชนิดแขกที่มาหานาย ๑๕๑
๒๖. เมื่อแขกมาหา อย่าห่างนาย ๑๕๙
๓๑. ผ้ดีคืออะไร ๒๐๑
ตำรับยอดเลขา (๑a) สารบัญหมวดหมู่
" ร^^
www.kalyanamitra.org
บริหารงาน
๓. อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย ๙
๕. จงอุตส่าห์ทำการงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด ๑๙
๖. อย่าเป็นคนเฉื่อยชา ๒๕
๗. อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ ๓๓
๘. อย่าเป็นคนสะเพร่า ๔๑
๑๔. จงเป็นผู้มีไหวพริบ ในการไปธุระของนาย ๗๕
๓๐. อย่าคิดว่าการที่ตนต้องทำเป็นของเลวทราม ๑๙๑
๓๓. อย่าประพฤติดังภาษิตว่า "ปลาผุดเอาเบ็ดหย่อน" ๒๐๙
๓๔. จงถือภาษิตว่า "ช้าเป็นการ นานเป็นคณ" ๒๑๕
บริหารเงิน
๙. ต้องเอาใจใส่ตรวจตรากิจการอยู่เสมอ ๔๕
๑๐. อย่าเลินเล่อในการรักษาและขับรถยนต์ ๕๑
๑๑. ของของนาย จงขอเสียก่อน จึงถือเอา ๕๗
๑๓. จงเป็นผู้รู้จักประหยัดการใช้จ่าย ๖๗
บริหารเวลา
๑๗. ว่าด้วยการปลกนายตามทุ่มโมงที่สั่งไว้ ๙๗
๑๘. การเฝ็าบ้านเมื่อเวลานายไม่อยู่ ๑0๗
๑๙. เมื่อเวลาไปไหนกับนาย อย่าพลัดกับนาย ๑๑๓
หมายเหตุ : คณะทำงานได้จัดทำกลุ่มสารบัญหมวดหมู่เพิ่มขึ้นมา โดยพิจารณาจาก
ความสอดคล้องกับโครงสร้างการบริหารงานในยุคปัจจุบัน ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความสะดวก
ในการศึกษาค้นคว้าของผู้อ่านเป็นสำคัญ
^เแรั*ะร!,
สารบัญหมวดหมู่ (acs) ตำรับยอดเลขา
:ft*-00*"
www.kalyanamitra.org
๑
การเลือกนาย
• -
ตำรับยอดเลขา ๑ การเลือกนาย
' ระ*ร^
www.kalyanamitra.org
ถ้าได้ผู้บังคับบัญชาเป็นคนพาล
ชีวิต1นี้ก็'จบกัน ถึงเราจะทำดีอย่างไร
ก็ไม่มีทางเจริญรุ่งเรืองต่อไปได้
การเลือกนาย ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
๑. การเลิอกนาย
-น่
' ' ' « /พ** Jsi
เรา'จI!กๆามพิจารณาในชั้นแรก เราก้องกิ?]ก,ธน1ว่า
ต้องหาเร้าชุนมลนายทํ่อัธยาศรัยใจกอ หลักถานมั่นกง
; ฯ , ไ, ค , !! 1 , "
และกวามประพฤติทถูกใจชองเราไม่ใช่หรือ เมอเช่นนนเรา
จะต้องสืบเสาะสอบสวนคูว่า ท่านผู้ใคหนอทํ่จะเป็นทึ่พํ่ง
ของเราไค้ หรือทมนิลัยปิจจัยต้องฅามอารมณและกวาม
ประพฤติของเรา เมอเราทราบลักษณการในฐานเลอกฬ้น
เป็นทพอ'ใจเช่นนั้นแล้ว เราก็่กวรเข้าสามิกักคิ้ยื้ศเป็นทึ่พง
ของเราต่อไป แต่ต้องกิคให้คโคยรอบกอบ เมํ่อกิคนิคไปแล้ว
จะผลัคเปลยนก็่ยาก จะกลายเป็นกนจับจค อยู่ทใคไม่เป็น
หลักแหล่งไค้นาน เช่นนั้นก็่ไม่ล้ค เพราะฉะนั้น จื้งต้องใช้
ไ กวามฅริฅรองเสาะแสวงให้รอบกอบ!ไถ้วน เมอเห็่นกวร
เห็่นดึ่แน่แล้ว จื้งเข้าสามิภักคิ้กับท่านผู้นั้น
miL - ' ~ ~ ~
m 1
ข้อความนี้ตรงกบมงคลสูตรข้อที่ ๑ พระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสiว้
ว่า "อเสวนา จะ พาลานัง ห้ามคบคนพาล"๑ ยิ่งไปกว่านั้น ไฝใช่เพียง
การคบกันเฉย ๆ แต่จะเข้าไปทำงานกับเขา ให้เขามาเป็นผู้บังคับบัญชา
ของเรา ถ้าได้ผู้บังคับบัญชาเป็นอันธพาลแล้ว ชีวิต,นี้ก็'จบกัน เราจะทำ
อย่างไรก็ไม่มีทางเจ'ริฌร่งเรืองต่อไปได้ เพรา U)cพ) หากมีโอกาสเลือก
ได้ ก็ควรเลือกผู้บังคับบัญชาที่ไม่เป็นคนพาล และควรมีอัธยาศัยใจคอ
พอไปกันได้° มงคลสูตร, ชุ.ชุ.อ. ๓๙/๕ - ๖/๒๑๒ (มมร.)
ร.ตำรับยอดเลขา เะว การเลีอกนาย
www.kalyanamitra.org
www.kalyanamitra.org
รเบพ® (.
ความจงรักภักดีต่อนาย
ตำรับยอดเลขา (A ความจงรักภักดีต่อนาย
www.kalyanamitra.org
ผู้ที่'จะมาเป็น,นาย'ของเรา นอกจาก
เป็นคนดีแล้ว จะต้องถกอัธยาศัยกับเราด้วย
§
ความจงรักภักดีต่อนาย จ ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
๒. ความจงรักภักดีต่อนาย
เราต้องมกวามรงรักกักค ซึ่อฅรงต่อนายโคยกวาม
บริสุทธ แถะต้องเพยรพยายามหากวามคกวามชอบต่อนาย
เราเสมอ เมึ่อท่านประสงกสิงใคและพอใรอย่างไร เราก็่กวร
ระแสวงหาด้วยอาการสืบเสาะและปฏิบัติให้ถูกอกถูกใร ถง
เฒ้ว่าระไมไต้ออกทรัพย!ปแลกเปลํ่ยน ฤๅซั้อหามาก็่ค ก็่ยัง
มทางทํ่กวรระสนองกุณค้วยนํ้าพักนาแรงแห่งวิธสืบสวน
แนะนำให้!ครัคไต้เปรยบ อย่างนั้เป็นต้น ก็่นับว่าเป็นกุณ
เป็นประโยชน ต้องต้วยกวามรงรักกักคต่อนายเหมอนกัน
1ฆ่
จรรยาข้อนี้คือ มีความจงรักภักดี และซื่อตรงต่อผู้เป็นนายด้วย
ความบริสุ1ทธิไจ ไม1ยอมทำตนเป็นคนคดในข้องอในกระดูกอย่าง
เด็ดขาดนั่นเอง
สำหรับเรื่องนี้ มีเรื่องเล่าขยายความคือ มีโยมคนหนึ่งเป็นนาย
ทหารได้มาหาหลวงพ่อที่วัด ก่อนเกิดเหตุการณ์วันมหาวิปโยค ๑๔
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ สัก ๒ - ๓ อาทิตย์ มาเล่าให้ฟังว่า มีคนมา
ทาบทามท่านให้เป็น ท.ส. คือนายทหารคนสนิทให้กับผู้ใหญ่คนหนึ่งใน
ขณะนั้น เพราะชอบอัธยาศัยกัน ท่านผลัดว่าขอเวลาตรึกตรองไว้หนึ่ง
อาทิตย์ก่อน แล้วจะให้คำตอบ
ตำรับยอดเลขา พ ความจงรักภักดีต่อนาย
www.kalyanamitra.org
แล้วท่านก็มาเล่าความในใจให้หลวงพ่อฟังว่า ขณะนั้นท่านไม่ได้
รักเคารพในตัวผู้ใหญ่1ท่านนี้เลย การที่จะไปเป็นทหารคนสนิทให้กับผู้ใด
นั้น ต้องมีความรักเคารพและศรัทธาในตัวนาย ทั้งต้องมีความจริงใจ
ต่อกันถ้าขาดความจริงใจแล้วก็จะกลายเป็นคนประจบสอพลอเห็น
แก่ประโยชน!ป เพราะการได้เป็นทหารคนสนิทของผู้ใหญ่ ยศตำแหน่ง
จะขึ้นเร็วกว่านายทหารที่ทำงานไกลตาอย่างแน่นอน ท่านไม'ชอบเจริญ
เร็วแบบนี้มันขัดความรู้สึกหลวงพ่อยังไม่ทันออกความเห็นอะไร ท่าน
ก็บอกเองว่า ไม่รอเวลาแล้ว จะบอกปฏิเสธเสียวันนี้เลย เพราะถ้ารับ
ตำแหน่งนี้!ปโดยเห็นแก่ลาภยศก็กลายเป็นคนหลอกลวงเพราะไม่ได้
ทำงานให้กับเขาอย่างทุ่มเท แล้วท่านก็ลากลับ เป็นอันว่ามาเล่าให้ฟัง
เฉย ๆ
เดี๋ยวนี้ท่านผู้นั้นก็ยังเป็นทหารธรรมดา ๆ ยังไม่ได้เป็นนายพล
กับเขาเสียทีนี่ถ้ารับปากเป็นท.ส. เสียคราวนั้น ก็อาจจะได้เป็นอย่าง
ใดอย่างหนึ่งคือได้เป็นนายพลหรือไม่ก็ออกนอกประเทศไปแล้ว
สำหรับข้อนี้ มีข้อคิดที่เป็นประโยชน[นการเลือกเจ้านาย คือ ผู้ที่
จะมาเป็นนายของเรา นอกจากจะต้องเป็นคนดีแล้ว จะต้องถูกอัธยาศัย
กับเราด้วย และเมื่อตัดสินใจไปอยู่กับเขาแล้ว ก็ต้องมีความจงรักภักดี
ซื่อตรงต่อกันด้วยความบริสุทธใจ ไม่เช่นนั้นจะเป็นการเพาะนิสัยเสีย ๆ
ขึ้นมาคือกลายเป็นคนหน้าไหว้หลังหลอกเอาตัวรอดไปวัน ๆ เป็น
บาปกรรมติดตัวต่อไปภายหน้าได้ เมื่อถึงคราวเรามีลูกน้องใต้บังคับ
บัญชาบ้างก็จะมีแต่ชนิดหน้าไหว้หลังหลอกไม่มีความจริงใจเช่นกัน
ทุ!!*?*•ะ'ร.
ความจงรักภักดีต่อนาย C ตำรับยอดเลขา
V-
www.kalyanamitra.org
อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย
ตำรับยอดเลขา 0C อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย
www.kalyanamitra.org
ผู้บังคับบัญชามีงานเต็มไม้เตมมืออยู่แล้ว
อย่านำเอาเรื่องร้อนไปเพิ่มใฟ้ท่านอีก
เพราะเมื่องานต่าง ๆ ประดังเข้ามามาก
หากเกิดความเสียหายกับหน้าที่โดยตรงของท่านแล้ว
ทั้งท่านทั้งเราก็จะพากันเดือดร้อนไปหมด
จึงควรกรองเรื่องราวต่าง ๆ ให้ดี
f - .
อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย o o ตำรับยอดเลขา
•ใ-^แตื-
www.kalyanamitra.org
I
ฅ. อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย
I ญ 1ติมิฅฑฬึอพวกพ้องทึ่รฟ้ปมาทเรา เราค้องรฬัง
I อย่าให้มามการทุจริตทบ้านท่านไค ฤๅพาถ้อยก ามชัวร้าย
มาปีวเม'ย{รายเร้อนมัวหมองกับท่าน•ฤๅกับเราได้ เว้นใว้แฅ่
ถ้าว่าเขาไคร้บทวาม๓อคร'อนกคขมาโคยถ่องแท้ จาเป็น
ต้องช่วยกิ คอ่าน รับ กวามปฤกษๆหาฤๅจรอุคหนุนไค้
I อย่างไรในลำพังตน ห'เอนากวามทุกขร้อนขนเรยนท่าน ขอ
กวามเมศฅาแนะนำและเกอหนุนอย่างใรทิ่ควรโพไรช่วย
I แต่เป็นขลทควรรำรึงทำ คึอคนนั้นเป็นญาติของเราทํ่เคย
I อุปการรกันมา หรอมิตรทรกใคร่เกยมบุญคุณต่อกันเช่นนั้น
รึงว่าควร ไม'ใช่เซ่นเป็น-พาถทุจ'Tฅฅ่อเขา ๆ ฅหัวแฅกมา
I แล้วดังนเป็นค้น เช่นนั้นไปควรรบพิรารณาแลฒคหนุน สิง
^ ใคทึ่ร:!รบกวนให้ท่านช่วย ค้องคัคเลือกแต่เหตุผลอัน
ลมควร อย่ารูร็้หยุมหยิม ปราครากความยำเกรง อันซึ่ง
เป็นผลเฉภาะ;ตน
, J)
จรรยาข้อนี้อธิบายโดยสรุปคือ อย่าไปนำคนร้าย ๆ เข้ามาที่บ้าน
ท่านนั่นเอง ไม่ว1าคนนั้นจะเป็นพรรคพวก เพื่อนฝูงของเรา หรือ
ญาติมิตรก็ตาม ขอให้ระวัง อย่าให้มาทำความเสียใด ๆ ให้เกิดขึ้นได้
เพราะความเสื่อมเสียนั้นมิได้เกิดขึ้นกับเราเท่านั้น แต่ว่าจะเสียหายไปถึง
เจ้านาย ผู้บังคับบัญชาของเราด้วย
ตำรับยอดเลขา ๑ ๑ อย่าหาเหตุร้าย๓บ้านนาย
www.kalyanamitra.org
ในกรณีที่พรรคพวกเพื่อนฝูงของเราเหล่านั้น มาปรึกษาขอความ
ช่วยเหลืออะไรก็ตามก็ควรช่วยเฉพาะเรื่องที่สมควรบางเรื่องไม'ควร
ช่วยก็อย่าช่วย ไม,ใช่ว่าเราได้อยู่บ้านรัฐมนตรี เห็นว่าพ่านมีอำนาจ
บารมี พอพรรคพวกเพื่อนฝูงเดือดร้อนมาขอให้ช่วยก็ช่วยเขาเลย โดย
ไม่ดูว่า เจ้าเพื่อนหรือญาติของเราคนนั้นไปทำอะไรร้าย ๆ มาก่อน พอรู้
ก็ช่วยเหลือกันอย่างไม่ลืมหูลืมตา ผู้บังคับบัญชามีงานเต็มไม้เต็มมืออยู่
แล้วยังนำเอาเรื่องร้อนไปเพิ่มให้ท่านอีกอย่างนี้ก็ออกจะหนักข้อเกินไป
เวนเว้เสียแต่'ว่าพรรค,พวก'ของเราคนนั้นเป็นคนดี แต่ถูกรังแกมาหรือ
คนผู้นั้นเคยมีพระคุณกับเรามาก่อน แล้วเรื่องนั้น ๆ พอดีตรงสายงาน
ที่ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบอยู่พอดี และการช่วยเหลือนั้น ท่านก็ไม่ต้อง
เดือดร้อนขวนขวายมากนัก นี่ก็เป็นอีกเรึ'องหนึ่งที่เราจะต้องรู้จัก
พิจารณา และดูคนให้เป็นด้วย
แต่ถึงอย่างไรก็ตาม อะไรที่บอกปัดได้ก็ให้บอกปัดไปบ้าง อย่าไป
เพิ่มภาระหนักกับท่านมากเกินไป เพราะเมื่องานต่าง ๆ ประดังเข้ามา
มากเข้า ๆ ในที่สุดท่านเองก็อาจจะมีข้อบกพร่องได้ หากเกิดความเสีย
หายกับหน้าที่โดยตรงของท่านแล้ว ทั้งท่านทั้งเราก็จะพากันเดือดร้อนไป
หมด เราในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชาที่ดี จึงควรกรองเรื่องราวต่างๆ ให้ดี
อย่าปล่อยให้เรื่องไม่เป็นเรื่องหลุดมารกสมอง ทำให้เจ้านายหรือผู้บังคับ
บัญชาไม่สบายใจได้
, J S £
อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย ๑!ร ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
๔อย่าชักคน!,ข้า อย่าสาวคนออก
BLiilif'*
ตำรับยอดเลขา ao อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก
•ระเร่เแ^
www.kalyanamitra.org
อย่าซักคนเข้า อย่าสาวคนออก ๑ ๙
'if แร8*
ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
. อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก
กัยเราใใ.Iบาใเท่าน เราตองนำf 1วามราเรยน'รับอนุญาตเสีย
ก่อน:รั้งควรไม่กๆรเพิกเฉยปกปิคธุอำนาจแห่งท่าน และ
เราตปีงรู้1'ว่า.นาโคยฅ หรือมชะนักติดหลังมาอย่างไรค้าย ถ้า
มาคเรารึงศวรรับ ถ้ามาอย่างร้ายใใก']รทึ่จะปฏิเลร เลย
อย่า'ใหม่'ามเทฅเกิคกวามเคือคร้อน'ข,นเกืองกับท่าน,โค้ และ
ลักษณะ:นากนเขา แนะคนออกนิ้ค้องระวังให้ค คนทิ่จะนำ
เข้' มานั้นก็่รู้แล้วว่าเป็นกนคึ่ รึ ณำเข้ามาหาท่ ใน อย่าไปนำ
กนชั่วเหลวไหลเข้ามาให้ท่าน เราจะพลอยเสียไปค้วย
การแนะนำกนออกนั้น ขอนก็่สำกัญ ไม่ควรเราจะ
ประพฤติ ไม่ใช่หน้าทของเราจะจักการ เพราะทว่า'ชัก-นำกน
ออกนั้นนiมทางคปี ใI1คเกย ย'อมเป็นทุจริฅเกย'ไปีามิคแก่
ตนทั้งนั้น ผู้ชายกี่แนะนำ'1หไปอยู่เสียทํ่อํ่นและให้หลบหน
ท่าน ผู้หญิงก็่ให้หลบหนํหรึอเรอกMl กับผู้ชายเป็นค้น
เป็นสิงทิ่ไม่ควรแห้ทเราจะประพฤติ บุราญติเตยนมาก'Mm
น เพราะปรากนาค ม'นไม่มอะไรเลยอย่างน จนมกาษิฅ
กล่าวไวว่า ๚บกนเข้ากใม่เท่าหนงคนออก" คังนั้มิใช่หรอ
jjgpS WjlpL^--' —-
V ^jt-iii^ " :
ตำรับยอดเลขา ๑dr อย่าซักคน๓ อย่าสาวคนออก
www.kalyanamitra.org
จรรยาข้อนี้อธิบายความโดยสรุปคือ การที่เรานำผู้ใดมาค้างแรมที่
บ้านของเจ้านาย ก็ดูให้ดีเสียก่อนว่าเป็นคนไม่มีพิษมีภัย จึงจะนำเข้ามา
ได้ถ้าไม่เช่นนั้นจะนำความเดือดร้อนมาให้และก่อนจะพาเข้ามาก็ต้อง
ขออนุญาตท่านเสียก่อน อย่าทำไปโดยพลการ ไม่บอกเล่าเก้าสิบ
ยิงถ้าเป็นกรณีนำคนเข้ามาอยู่ในบ้านของนายอย่างถาวร ยิ่งต้อง
ช่วยกันคัดคนให้ดี อย่าปล่อยให้มีชนักติดหลัง เช่น เคยเป็นนักโทษ หรือ
เคยเป็นนักการพนันเข้ามาอยู่ด้วย เพราะอาจนำปัญหามาให้ หรือแม้
ที่สุดเราจะไม่ได้เป็นคนชักนำมา แต่ว่าเขาสมัครใจขอมาอยู่เอง ถ้าเรารู้
ประวัติเขามาว่าเป็นคนไม่ดีก็อย่าไปปิดบังนายต้องเรียนให้ท่านทราบ
ไม่เช่นนั้นอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่าง ๆ ได้ ในกรณีที่คน ๆ นั้นอยู่
อาศัยกับนายอยู่แล้ว และเขาเป็นคนดี แต่เกิดต้องการจะลาออกไป ก็
ให้ช่วยทัดทานเอาไว้ ตรงกันข้ามหากเขาเป็นคนไม่ดีแล้ว อยากจะออก
ไป ก็ให้ปล่อยไปตามใจเขาอย่ารั้งเอาไว้
แต่ถึงอย่างนั้นก็ตาม ในกรณีที่คนอยู่เดิมจะออกไปก็ควรระวัง
อย่าเที่ยวสนับสนุนยุยงเขาสุ่มสี่สุ่มห้าไป เพราะคนบางคนเขาอาจจะ
ออกด้วยเหตุผลต่าง ๆ นานา หรือด้วยความน้อยใจใด ๆก็ตามถ้าเรา
ไปสนับสนุนเขาเข้าสักวันหนึ่งเขาอาจจะพูดขึ้นได้ว่า ไม่ได้ตั้งใจจะออก
เลย แต่เป็นเพราะเราไปชี้แนะให้เขาออก เขาเลยออก ก็จะทำให้เรา
เสียคนได้ ในเวลาเดียวกันถ้าเราไม่ชอบใจผู้ใดก็อย่าเที่ยวไปยุยงให้
เขาออกทำให้เขาต้องได้รับความลำบากเป็นการก่อเวรให้แก่เขา
ธุเแ?*- -.
อย่าช้กคนเข้า อย่าสาวคนออก ©X) ตำรับยอดเลขา
' ร "ร
www.kalyanamitra.org
สำหรับเรื่องการรับคนเข้าและคัดคนออกนี้ มีข้อมูลที่น่าสนใจคือ
ไม่ว่าจะเป็นที่ใดในโลกนี้ เมื่อเวลามีคนเข้าไปสมัครงาน เขาจะตอบเป็น
เสียงเดียวก้นว่าเต็มแล้ว แต่เวลาลงมือทำงานกลับบอกว่าคนไม1พอ ที่
เป็นเช่นนี้ เพราะว่าคนที่ไปสมัครงานนั้น หน้าตาท่าทางไม1ค่อยเอางาน
เอาการ เขาจึงไม่อยากรับเอาไว'ก็ไม่ใช่โกหกเพราะตำแหน่งสำหรับคน
ไม่เอางานเอาการมันไม่มีจริง ๆ ส่วนคนที่หน่วยก้านดี ๆ นั้น เขาไม่
ต้องเดินหางานเลย แต่งานจะมาหาเขาเอง บางคนถูกจองตัวตั้งแต่ยัง
เรียนไม่จบด้วยซํ้า
ดังนั้น ท่านเงกลาวไว้ว่า "สิบคนเขาก็ไม่เท่าหนึ่งคนออก" คือ
คนดี ๆ ของเขาหนึ่งคน ถ้าต้องออกไป แล้วได้คนมีฝึมือธรรมดา ๆ
มาแทนตำแหน่งนั้น ๑๐ คนแทนยังไงก็ไม่คุ้ม
คนดมีฝึม๊อ รู้ใจกันแล้ว ไวใจได้ ไม่คดโกง เข้านอกออกในรู้
ความเป็นไปทุกอย่างในบ้านหรือในที่ทำงานแล้ว บางทีรู้เรื่องส่วนตัว
ส่องเงินทองด้วย แล้วเขาเป็นคนดีมาก ๆด้วยถ้าออกไปก็น่าเสียดาย
ที่สุด แต่ถ้าเขาเป็นคนเลว เรารู้เข้าก็ยุนายใหไล่มันออกไปเลย มันคงพา
คนมาเผาบ้านแน่ เรื่องแบบนี้ต้องละมุนละม่อม ให้นายเขาจัดการ
ตัดสินเอง'จะดีที่สุด
อีกกรณีหนึ่ง ถ้าเราเป็นบ่าว เรารู้-ว่าคน ๆ นั้นเป็นคนดีจริง ๆ
แล้วเรากลับยุให้เขาไปทำงานที่อื่น เพราะสวัสดิการดีกว่า เงินเดึอน
ดีกว่า โอกาสก้าวหน้าก็มากกว่า อย่างนี้เราทำเพื่ออะไร เราเป็นคนที่
ใช!ด้หรือเปล่า ก็ลองคิดด
ตำรับยอดเลขา ๑ a อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก
'ไJf
www.kalyanamitra.org
-
www.kalyanamitra.org
จงอุตส่าห์ทำการงาน
ในหน้าที่ให้ดีที่สุด
ตำรับยอดเลขา ๑®; จงอุตส่าห๎ท่างานในหน้าที่ให้ดีที่สุด
www.kalyanamitra.org
" ร
การที่๓ไปอยูที่ใดที่หนึ่งนั้น
คุณค่าของเราอยู่ที่มีงานทำเต็มมือ
จึงทำประโยชน์ใ^น่วยงานนั้น ๆ ได้เต็มที
ถ้าเมื่อใดต้องเอาคนอื่นมาทำแทน
แสดงว่าเรานั้นหย่อนสมรรถภาพเสียแล้ว
จงอุตส่าห้ทำงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด ISO ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
จงอุตส่าห์ทำการงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด
การง'านอันใคทประจำf]ยู่ ซึ่งท่านมอบธร':ให้ทํไนั้ใ'
จงทำให้สมาเสมอ อย่าให้บกพร่องค้องให้กนเนมาทำแทบ
ไปค้วยการเหลวไหลของ เราไม่ระมัดระวังหน้าทํ่ไฅรงจะด
เว้นไวัเ,ฅ่เรามึ่การรำเป็นทึ่นาIเ1ชใปธใ iโ1ย่างซ11 ฤๅธุร3
ชองเร ไทรำเป็นบ้างกี่คก้าเมึ่อเช่นนั้นเรากวรฬ้งขอแร :
ไหว้วานเพํ่อนบ, ไวด้วยกัน อันกนทึ่กวรจ::กระทำการอย่า ใ
นั้นแทนเราไค้ เท้เขาข่วยฟ็งเกราะหเป็นการเอาแรงกัน
ทำแทนเรา. . ' ;
กนทเขาช่วยทำการแทนชั่วกราว และว่าทนฑก*ไรนั้น
ต้องอธิบายเสียหน่อย'ว, าฅ้'องเป็นกนชั้,นเคย1วกับเรา ฤๅเป็น
กนทำการงานทํ่ละม้ายกล้ายกรงกับเรากล่าวกึอ เช่น เรา
เป็นกนจัด และทำของเกรํ่องทองเงิใ] ฤๅของใด ๆ ทึ่
ละ:เอยดและสำอาง จะไปวานคนทิ่เกยทำของหยาบของเลว
เช่น กนลำหรับฅักนา ผ่าหืเใ4 เทกระโถน กวาดชะลา มาทำ
แทนไปสมกวร เช่นนเป็นค้น ด้วยเป็นกนเกยทำของหยาบ
จะทำให้ของ ๆ ท่าใ4อันฅ1ธานเลยหายชอกขาไป เมอเป็น
เข่นนไJ เราก็่ค้องทIผฅค้วย ค้ายรักษาการและทำการไม่
สมกวรแก่หน้าทํ่: . ' ^ : /
ตำรับยอดเลขา 1ร๑ จงอุตส่าหทำงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด
www.kalyanamitra.org
จรรยาข้อนี้สรุปความได้คือ งานประจำในหน้าที่ของเรา อย่าเอา
ใครมาทำแทน เราต้องให้ความสำคัญกับหน้าที่ที่เรารับผิดชอบอยู่ ถือ
เป็นคุณค่าของตัวเราเอง เพราะว่าการที่เราจะไปอยู่ที่ใดที่หนึ่งนั้น
คุณค่าของเราอยู่ตรงที่มีงานทำเต็มมือ จึงทำประโยชน!ห้แก่หน่วยงาน
นั้น ๆ ได้เต็มที่ถ้าเมื่อใดเกิดต้องเอาคนอื่นมาทำแทนแสดงว่าเรานั้น
หย่อนสมรรถภาพเสียแล้ว คนที่เหมาะสมกว่าซึ่งทำงานได้ย่อมเข้ามา
แทนที่เรา เป็นลางบอกเหตุว่าจวนจะโดนไล่ออกแล้ว ดังนั้น งานใน
หน้าที่ของเรา อย่าได้ใหใครมาทำแทน เว้นไว้เสียแต่ว่า
๑. เกิดมีงานจรอย่างอื่นที่นายสั่งให้เราไป ทำให้เราต้องละทิ้ง
งานประจำ อย่างนี้ก็ต้องมอบหมาย'ให้ผู้อี1นทำแทนไป
เป็นการไปชั่วคราว
๒. เป็นธุระส่วนตัวของเราเองจำเป็นต้องไปก็ให้ผู้อื่นมาทำ
แทน
อย่างไรก็ดี การที่จะหาคนมาทำงานแทนเรานั้น มีข้อแม้อยู่ ๒
ประการ คือ
(๑) ต้องเป็นคนที่มีฝึมือระดับเดียวกับเรา จะไปเอาคนฝืมือ
ตํ่าก'ว่ามา'ทำแทน คุณภาพของงานก็จะด้อยลง ทำให้ถูกตำหนิติเตียนได้
ดังนั้น เมื่อเราจำเป็นต้องทิ้งงานประจำไปไฝว่าเพราะเหตุใด ก็ควรเลือก
หาผู้มาทำแทนที่ สามารถคงคุณภาพของงานของเราไวได้ สำหรับผู้ที่มื
ฝืมือสูงกว่านั้น อย่าไปพูดถึง เพราะเขาย่อมมีงานประจำล้นมืออยู่แล้ว
จะมาช่วยใครคงทำไมได้
จงอุตส่าห์ทำงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด 1ร>๏ ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
(๒) ต้องเป็นคนที่ทำการงานที่ละม้ายคล้ายคลึงกับเราอยู่ คือ
เป็นงานชนิดเดียวกัน เช่น งานประเภทต้องการความละเอียดลออ ก็
ย่อมไม'เหมาะกับผู้ที่เคยทำงานหยาบ ๆ เพราะนอกจากจะเสียงานแล้ว
อาจจะเสียของด้วย
หลวงพ่อเองก็เคยเจอปัญหานี้ในพรรษาแรก ๆ เพราะยังไม่ทันได้
ระวังเรื่องคนทำงานต่างชนิดกัน คือตามปกติจะมีเด็กคนหนึ่งมาช่วย
ทำความสะอาดห้องเขียนหนังสือของหลวงพ่อเป็นประจำ พอคนนั้นไม,
อยู่จึงเรียกใช้อีกคนหนึ่งซึ่งเคยตัดหญ้าอยู่เป็นประจำมาทำแทนเดี๋ยว
เดียวเสียงแจกันบนโต๊ะหมู่บูชาในห้องแตกเพล้งเลย หลวงพ่อเองก็ไม1
ทราบว่าจะโทษใคร ได้แต่ตัดใจ ไม่ได้เข้าไปดู นึกสมนั้าหน้าตัวเองที่ใช้
คนผิด ทั้ง ๆที่รู้อยู่ว่าเขาทำเป็นแต่ตัดหญ้าก็ยังขืนใช้เขาทำงานที่ต้อง
ใช้ความละเอียดลออ
, ' ร,
ตำรับยอดเลขา ไรเo จงอุตส่าห์ทำงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด
www.kalyanamitra.org
www.kalyanamitra.org
อย่าเป็นคนเฉื่อยชา
RfHs
ตำรับยอดเลขา ®<a อยาเป็นคนเฉื่อยชา
www.kalyanamitra.org
ข้อดีของงานหนักงานยากก็คือ
เป็นวิธีเค้นเอาความสามารถในตัวเองออกมา
และเป็นวิธีที่เจ้านายใช้เป็นช่องทาง
เติมความรู้ความสามารถให้แก่เราผู้เป็นลูกน้อง
-—iBSlI
อย่าเป็นคนเฉื่อยชา ตำรับยอดเลขา
'"ร-แร^0*
www.kalyanamitra.org
๖. อย่าเป็นคนเฉื่อยซา
อกประ;การหนึ่ง การงานอันใคระ!เป็นราชการก็่ค ระ;
เป็นการส่วนตัวสำหรับบ้านก็่ค ซึ่งเป็นกา?ทำคัวยแรมวัน
แรมเคอน อันทํ่ท่านมอบธุระ;ให้ทำนั้น เราค้องฅั้งหน้าบุ่ง
หมายทำหวังกวามสำเรึ่รรงไค้ เมอขัคข้องคัวยกวามสงสิ'ย
หรือไม่รูถึงคัวยอย่างใค ก็่ต้องเรืยนกามเอากวามขัคข้อง
นั้น ๆ มากรรทำต่อไปรงไค้ หรือเมํ่อเรามกวามเห็่นอย่างไร
ทกวรทถูก กี่นำกวามหาฤๅ'ให้แน่นอนทเคย1ว อย่าเอาไป
เก็่บแฉะ!ช้าไว้เสิยไม่ตึ่ เว้นไว้แค่มการด่วนทํ่รำเป็นระ!ต้องทำ
ก่อนนั้นม่มา เราจงกวรละ!วางเรองยาววันนั้นไว้พลางก่อน
เมึ่อหมคธุระ;การค่วนกึ่ฅั้งหน้าทำไปรนกว่าระ;สำเรึ่ร อย่า
กิคหรือท้อถอยกวามอุลาหฅามกำอังเสิย เพราะ;มักจะ;กิค
เสิยว่า ไมใช่การเร่งร้อน ละ;เลยไปรนลืม
กรั้นฒํ่อท่านต้องการเข้า กึ่เป็นอันไม,แล้วสำเรึ่จออก
ระ;มึ่ชุกชุม เราอย่าให้เป็นเช่นนั้นเลย ให้นกว่าเหมึอนเรา
เป็นหนั้ท่านอยู่รึงระ;ค การมากมายอย่างไรก็่ค ซึ่งไม่สุค
ลามารถมนุษยนั้น ถ้าตั้งใรทำกึ่อารสำเรึ่ร เมํ่อเราปล่อย'ไร
ให้เกยฅัวเสิยบ่อย ๆ แล้ว กวามเกยรกร้านห'รอละ;เพร่าก็่
หนาขน เกยตัวเกยใจเข้า?ไเาเสิย กวามพยายามและ!
เรฅนาอันคแฅ่เคิมนั้นเสิย
<& 1
' Hp"*V
,1
ตำรับยอดเลขา ไรia อย่าเป็นคนเฉื่อยชา
www.kalyanamitra.org
การทำงาน อย่าทำลวก ๆ ทำแบบขอไปที เพราะนอกจากจะ
ทำให้เสียเครดิตแล้วยังจะกลายเป็นนิสัยติดตัวข้ามภพข้ามชาติไป คน
ที่ชอบทำอะไรพอผ่าน ๆ อย่างนั้"เปเกิดอีกกี่ภพกี่ชาติก็ตาม ไมว่าอะไรก็
จะได้พอผ่านๆทั้งๆที่ทำเป็นสารพัดทุกอย่างแต่เอาดีไม่ได้สักอย่าง
จัดเป็นพวกมักง่ายประเภทหนึ่ง เรียนหนังสือตั้งแต่ชั้นประถมจน
กระทั่งจบมหาวิทยาลัย ไม่เคยได้เกรดเอเลย ได้แค่พอผ่าน ๆ คาบเส้น
เกือบตกมาตลอด อย่าง'น!ม่ได้1ความ อย่าไปเป็นก้นทีเดียว
เมื่อทำงานไปแล้วเกิดติดขัดขึ้นมา อย่าทิ้งคางไว้ ใพรีบกลับ'ไป
ถามผู้รู้หรือผู้บังคับบัญชา เพื่อจะได้สะสางงานต่อไปให้เสร็จ ตอนถาม
อาจถูกตำหนิ ถูกดุว่าบ้าง ก็ต้องทนยอมให้ท่านว่ากล่าว เพราะถ้ามัว
กลัวเสียหน้าทั้ง ๆที่ไม่รู้ว่าจะแก้ปัญหานั้นได้อย่างไร นอกจากงานจะ
ติดขัดแล้วยังอาจทำความเสียหายไปสู่งานส่วนอื่นได้เวลาทำงานให้
นาย ให้นึกว่าเหมือนเราเป็นหนี้ท่านอยู่ จะได้รบเร่งทำให้สำเร็จ ไม่เฉื่อย
แฉะ
หลวงพ่อเอง เมื่อหลวงพ่อธัมมชโย (เจ้าอาวาส) มอบหมายงาน
มาให้ก็ตั้งใจทำอย่างดีจนเสร็จแต่บางครั้งภูมิปัญญาไม่ถึง พอทำไปได้
ครึ่งทางก็พบว่าทางตันเสียแล้วทำต่อไปไม่ได้ต้องเข้าไปถามข้อขัดข้อง
กับท่าน ไม่กลัวเสียหน้า ทั้งที่บางทีท่านก็เอ็ดเอาว่าเพียงเท่านี้ทำไมไม่รู้
แล้วท่านก็อธิบาย งานก็ดำเนินต่อไปได้ด้วยดีจนเสร็จ น่าชื่นใจ แสนจะ
คุ้มค่า เพราะงานสำเรจเป็นอย่างดี ยังได้รับคำชมเชยอีก แต่ถ้าดันทุรัง
ทำไปทั้งที่ไม่รู้ ไม่กล้าถาม เพราะกลัวเสียหน้าก็จะยิงเสียหายไปกันใหญ่
คือ งานก็ไม่สำเร็จ หรือถ้าเสร็จก็เป็นแบบผิดพลาด ไช!ม่ได้
อย่าเป็นคนเฉื่อยชา fee? ตำรับยอดเลขา
' พ;:!?รif*www.kalyanamitra.org
คุณยายอาจารย์ (มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง)๑ เตือนหลวงพ่อ
ตั้งแต่ยังไม่ได้บวชว่า งาน,ที่ผู้ไหญให้มา1ทำ1นั้นถึงจะเป็นงานหนักเราไม่
เคยทำก็อย่าไปท้อแท้ถ้าไม่หนักหนาสาหัสเกินกำลังจริง ๆ ให้รับเอามา
ก่อน แล้วค่อยคิดค่อยทำไป เพราะงานหนักงานยากนั้น มีข้อดีอยู่ ๒
ประการ คือ
๑. เป็นวิธีเค้นเอาความสามารดในตัวเองออกมา
คนโดยทั่วไปเมื่อทำงานอะไรก็ตาม พอเหนื่อยเข้าหน่อย ก็จะรู้สึก
ว่างานนั้นช่างเกินความสามารถของเราจริง ๆ ทำไม่ไหว ความจริงแล้ว
ความสามารถในตัวเรานั้นมีมหาศาลเลย แต่เราเองไม่รู้ตัวกัน
หลวงพ่อจะยกตัวอย่างให้ฟัง เรื่องการจัดอบรมพระธรรมทายาท
ของที่วัด เมื่ออบรมได้ระยะหนึ่งแล้ว จะให้มีการเดินธุดงค์ สำหรับปีนี้
ฝนตกบ่อยจึงให้รถไปส่งบนเขาใหญ่ไปนังสมาธิทำภาวนาบนเขาอยู่
ครบ ๓ วัน จึงลงมา ขากลับให้เดินเท้าตลอด ใช้เวลาราว ๗ วัน ระยะ
ทางประมาณ ๒๐๐ กิโลเมตร พอเดินถึงวัด ทุกคนจะพูดเป็นเสียง
เดียวกันว่า โอ้โฮ เพิ่งรู้ตัวว่ายังมีความสามารถเหลืออยู่ในตัวอีกแยะเลย
ทั้ง ๆ ที่เมื่อก่อนนี้คิดว่าได้น่าความสามารถของตัวเองมาใช้หมดแล้ว
คือเคยทำงานหนักชนิดที่เรียกว่าทุ่มทำจนหมดทุกขุมกำลังแล้วแต่พอ
เดินธุดงค์เสร็จจึงรู้ว่าความสามารถในตัวเองนั้นยังมีอยู่อีกมากมาย
มีอยู่ปีหนึ่ง หลวงพ่อให้พระธรรมทายาทไปเดินธุดงค์ที่ภูกระดึง
พอขึ้นไปถึงยอดภูทำท่าเหนื่อยเหมือนจะตายให้ได้พอหลวงพ่อถาม
"ผูให้กำเนิดวัดพระธรรมกายต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
ตำรับยอดเลขา อย่าเป็นคนเฉึ่อยชา
www.kalyanamitra.org
ท่านว่า เดินต่ออีกสัก ๑ กิโลเมตร จะได้หรือไม่ ท่านก็บอกว่าไม่ไหว
อยากจะนอนอยู่ตรงนั้นเองก้าวขาไม่ออกแล้วชวนเท่าไร ๆ ก็บอกว่า
ไม่ไหว จนกระทั่งหลวงพ่อแกล้งพูด "เอ๊ะนั่นงูใช่ไหม?" เท่านั้นแหละ
กระโดดผางเลยมีเรี่ยวแรงขึ้นมาอีกนี่ถ้าบอกว่าช้างมาคงวิ่งต่อไปได้
อีกเป็นกิโลฯที่เป็นเช่นนี้เพราะคนเราส่วนมากเวลาเหนื่อยเข้าหน่อย ก็
คิดว่าช่างลำบากยากเย็นเกินความสามารถเสียแล้ว แต่ที่แท่ไม่เป็น
ความจริงเลย เพราะถ้าไปโดนงานหนัก ๆ ยาก ๆ เข้า จะพบว่าเมื่อใช้
ความเพียรฝาฟันอปสรรคต่าง ๆ ไปได้แล้ว ก็ไม1มีอะไรเกินความ
สามารถของเรา
ดังนั้น ความหนัก ความยากลำบากจึงเป็นเครื่องมือสำหรับเค้น
ความสามารถของเรา ใครที่รักจะหาความก้าวหน้าในชีวิต ทุกครั้งที่ถูก
คุณพ่อคุณแม่ หรือผู้'บังคับบัญชาใช้ให้ท่างานยากงานหนัก อย่าท้อแท้
ไม่รับงาน หรือรับแล้วส่งคืนเด็ดขาด ให้กัดฟันท่าไป ถ้าติดขัดอะไรให้
ถามท่าน งานก็จะสำเร็จลุล่วงไปได้
๒. เป็นวิธีทีเจ้านายใชิแป็นช่องทางเติมความรู้ความ
สามารดให้แก่เราผู้เป็นลูกน้อง
การที่แข็งใจรับงานหนักงานยากที่ผู้'บังคับบัญชามอบให้ นับว่า
เป็นต้นทางแห่งความเจริญของเราเอง เพราะก่อนที่ผู้บังคับบัญชาจะใช้
ใครทำอะไรท่านย่อมสังเกตหน่วยก้านไว้แล้วจึงมอบงานหนัก ๆ ยาก ๆ
ให้ทำจริง ๆ แล้วเขาตั้งใจฝึกเราขึ้นมาเพื่อให้งานเสร็จสิ้นอย่างดี เราจึง
จ
อย่าเป็นคนเฉื่อยชา 0 ๐ ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
ได้รับความรู้และมีความสามารถพิเศษที่ผู้อื่น ซึ่งไม่เคยถูกใช้ให้ทำงาน
หนักไม่มี
อย่างนี้ถ้าพูดภาษาพระก็เรียกว่าครูบาอาจารย์ให้งานยากๆ มา
เพื่อเป็นการเติมบุญให้ ดังนั้น ถ้าอยากได้บุญละก็ อย่าไปปฏิเสธงาน
ยาก เพราะเมื่อเราทำไปแล้วถ้าครูบาอาจารย์เขาเห็นว่าไม่ไหวเขาก็จะ
เติมบุญคือสอนให้จนทำได้เพราะฉะนั้น เมื่อมีปัญหาในการทำงาน ถ้า
หากว่าแก!ขได้ก็ให้แกไป แต่ถ้าแกไม่ได้ให้ไปหาครูบาอาจารย์ ท่านจะชี้
ทางให้เป็นช่อง ๆ เราทำตามไปก็แล้วกัน เพราะนั่นเป็นการให้ความ
สามารถ เป็นการเติมบุญให้เรา
ในทางโลกก็เช่นกัน เมื่อผู้บังคับบัญชาให้งานมา แม้จะยากก็ให้
กัดฟันรับเอาไว้ค่อยๆทำไปแล้วความสามารถในตัวจะถูกเค้นออก
มาเองถ้าสุดความสามารถจริงๆ ท่านก็จะหาวิธีช่วยเราในที่สุด
ตำรับยอดเลขา (ท๑ อย่าเป็นคนเฉื่อยชา
www.kalyanamitra.org
www.kalyanamitra.org
๗
อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ
• ไ > . '
" -:รุP1*
ตำรับยอดเลขา อย่บ้านท่านอย่าดูดายฯ
www.kalyanamitra.org
ขอให้ทำเหมือนเจ้าของบ้าน
ทรัพย์สิน หรือภาพพจน์ของส่วนรวม
หรือความสะอาดเรียบร้อย
ก็ต้องใส่ใจดูแลแก้ปัญหาอย่างนุ่มนวล
ไม่กระทบกระทั่ง แต่อย่านิ่งดูดาย
จะบานปลายกลายเป็นปัญหาร้ายแรง
7 - — ^ ^ m r S P 5
อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
ฝ. อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ
นี่ท่านเขียนยอจากคำพังเพยประโยคเต็ม ๆ ว่า "อยู่บ้านท่านอย่า
นิ่งดูดาย ปันวัวปันควายให้ลูกท่านเล่น..." ที่จริง วัว ควาย อะไรจะปัน
ให้เล่นfitม,มีห'รอก เป็นแต่คำเปรียบเทียบ ตามเจตนาที่กล่าวก็มี
ความหมายว่า ไม'ให้เกียจคร้าน และเพิกเฉยในกิจการบ้านเรือน
ของนายนั่นเอง ความโดยละเอียดท่านบรรยายไว้ว่า
I อกประ:การหนึ่ง เช่น กำบุราณท่านว่า "อยู่บ้านห่าน
อย'าตูคาย ปีนวัวปีนกวาย'ให้ถูกท่•ไนเล่น" เข'ใ414เป็1Jฅ้ใJกี่
กๆรจะ;รฦกและกรรทำ ที่'จริงวัวกวายอะไร'จะ;ปีนให้เล่นก็่
หาไม'คอก เป็นแต่กำเปรยบเคยบ ความเจฅนาทิ่กล่าวก็่
หมายกวามว่าไมให้เกยรกร้าน และเพิกเฉยในกิจการบ้าน
เรอใrของนายนั้นเอง
I
แรเพ
เพร าะฉะนัน เรากวรต้องมกว•ไม เพยร หมัไ4คูแลทำ
กีจการงานของทำนว่าจะลกปรกรกรานอยู่อย่างไร ศวรทำ
ต้องทำ และ:ถํ่งใคจะอันฅรายห้วย•ลน'นๆ ต้องระวังต้องกิfI
ต้องทํ ไ ฤๆว่าเจ้าหน้าทิ่เ'ขาม ถ้าหากว่าจะเสียถงกึ่ต้องทํไ
และบ้องกน ฤๆตักเตือนแก่เจ้าหน้าทิ่ อย่าเพิกเฉยเลยละ
จะกิคว่าไมใช่หน้าที่นั้นไม่กวร และล่งชองสันใคที่แหลมกม
กฅขวางทางอยู่ ฤๅจะฅกหล่นทลุคหกมาถูกท่ไน ลูกท่าน
I
I
I1!II1
J
ตำรับยอดเลขา อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ
www.kalyanamitra.org
หลานท่าน ฤๅใครๆ กฅ เราต้องกิดป้'องกันและเกี่บแอบ
1ห้พ้14อันคราย ค้วยถูกหลานท่านเป็นเฅ็่ก ปราศจาทลฅิ
ระวังตัว จะถูกต้องเข้าเป็นอันตรายเช่นนั้เป็นต้น เราต้อง
ระมัคระวัง คูแลค้ๆยจึงจะคึ่
อ1ไข้อหนึ่4มชกชุมนิ'โ1ที่ปราศจาก11ติหรือหนักปาก
กล่าวกึอกนหนํ่ 3ฤๅหล ไยกนก็่คเดินไปข้างหน้า '1,, เยืนอยู่
ใม่รู้สืกร'ะวังฅนที่ เดินใปข้างหลง ถอของที่หลุคล้มพลัด
แพลงฅกหล่นไค้ง่าย ไม่บอกกล' ไวกนข้ไงหน้าให้!?โว เ'ะา
วัคเหวยงฤๅหันเหมาถูกเช้าให้ของนั้นอันฅรายเส์ยหายไป
เข่าJนิ้ ก็่ เป็นกวามผิดคคไม่รอบคอLIอันไ1iศมกๆร ๆ ต14จะ
ขอกกล่าวกนข้างทน้า แล'ะ:กนที่ยืน*นั้น1ห'ทู้'สิกตัวๆ'า เรายก
และถือของมา เขาจะไค้ทถึกหลบ และคนที่ๆVIเห่วํ่ยงท้น เห
มาถูกเข้านั้น กี่มกๆามผีดน้างเทมือใ4กันที่มลติเนลอ
แค่นอยกๆ''ไผูกอของ เพราะที่J]•ไข้า-.1ทลังเขา ๆ ใม'เหน
เพราะฉะนั้น เราจะต้องระวังกๆามผิคฅังน'ทั้ง ๒ อย่างอย่า
*
ๆ ๘1 •'1 ร-.
เหิ11 น m
 ขนนาง
ท/เ
....•••<"..
จ
เร^รรพ*,.-
อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ 0ว«ว ตำรับยอดเลขา
www.kalyanamitra.org
สำหรับจรรยาข้อที่ ๗ นี้ ท่านบอกไว้ชัด ไม่ให้เกียจคร้านและ
เพิกเฉยในกิจการบ้านเรือนไม'ว่าจะไปอยู่บ้านใคร เราอยู่กับใครก็ตาม
ขอให้ทำเหมือนกับว่าเป็นเจ้าของบ้านไม่ใช่เพียงผู้อาศัย
ถ้าอยู่วัด เช้าขึ้นมาก็ควรออกตรวจวัด หลวงพ่อเองทำอยู่เสมอ
ดูแลว่าตรงไหนรกก็ช่วยกันเก็บเสียให้เรียบ'เอย ไม่นิ่งดูดาย เห็นสิ่งที่
จะเป็นอันตรายต่าง ๆก็ให้ช่วยดูเป็นหูเป็นตาให้ด้วยเช่น เห็น'กิ่ง,ไมJ
ระสายไฟอยู่ ถ้าขืนปล่อยให้เป็นอย่างนี้อีกหน่อยสายไฟจะถลอกถึง
ลวดทองแดง ไฟจะช็อตได้ หรือเห็นสิ่งที่ทำให้ภาพพจน์ของวัดเสีย เช่น
มีหนุ่มสาวมานั่งจีบกันตามพุ่มไม้เตี้ย ๆ ก็ควรหาวิธีขอร้องเขาอย่าง
นุ่มนวล ระเบียบของวัดมีเขียนไว้ ขอให้เขาช่วยกันรักษา พูดดี ๆ อย่า
ใให้เ,ขา'โกรธ เขาอาย
เรื่องนิสัยรักความสะอาดและไม่นิ่งดูดายนี้ เป็นเรึ่องที่ต้องฝึกฝน
ให้เมีขึ้น เมื่อตอนที่หลวงพ่อเรียนอยู่ขั้นมัธยมปลาย ชอบเรียนวิชาอยู่ยง
คงกระพันรูดโซ่ลุยไฟมีอาจารย์ท่านหนึ่งมีชื่อทางวิชาเหล่านี้ท่าน
ทราบว่าหลวงพ่อชอบจึงเรียกไปสอนคาถาให้ (ปัจจุบันหลวงพ่อทิ้งวิชา
ไสยเวทย์ไปหมดแล้วอย่างเด็ดขาด ตั้งแต่ก่อนบวช เพราะเป็นเดรัจฉาน
วิชา ไม่ใช่ธรรมะของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า)
อย่างไรก็ตามสำหรับผู้จะเรียนวิชานี้!ด้ท่านมีข้อแม้อยู่ว่าไม่ว่า
จะเดินทางไปไหนมาไหน ไม่ว่าจะรีบเร่งอย่างไรก็ตาม หากเจอหนาม
กระเบื้อง เศษแก้ว ฯลฯที่อาจบาดเท้าผู้คนได้ก็ให้เราหยุดเก็บเสียให้
หมดก่อนข้อนี้เพราะคนในสมัยก่อนไม่มีรองเท้าใส่กัน ยกเว้นแต่คนที่
ตำรับยอดเลขา Iะวฅ? อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ
www.kalyanamitra.org
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary
Treatise secretary

More Related Content

Similar to Treatise secretary

ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
Mouy Ye Meiyi
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
sanunya
 
พื้นฐานชีวิต 25.pptx
พื้นฐานชีวิต 25.pptxพื้นฐานชีวิต 25.pptx
พื้นฐานชีวิต 25.pptx
SunnyStrong
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
Tongsamut vorasan
 
พื้นฐานชีวิต 31.pptx
พื้นฐานชีวิต 31.pptxพื้นฐานชีวิต 31.pptx
พื้นฐานชีวิต 31.pptx
SunnyStrong
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
 
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
SunnyStrong
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
kutoyseta
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
tommy
 
PowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationPowerPoint Presentation
PowerPoint Presentation
VisualBee.com
 

Similar to Treatise secretary (20)

ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
พื้นฐานชีวิต 25.pptx
พื้นฐานชีวิต 25.pptxพื้นฐานชีวิต 25.pptx
พื้นฐานชีวิต 25.pptx
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
 
พื้นฐานชีวิต 31.pptx
พื้นฐานชีวิต 31.pptxพื้นฐานชีวิต 31.pptx
พื้นฐานชีวิต 31.pptx
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
บทสวดอาจารย์จรัล
บทสวดอาจารย์จรัลบทสวดอาจารย์จรัล
บทสวดอาจารย์จรัล
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
 
PowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationPowerPoint Presentation
PowerPoint Presentation
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
 
Action research
Action researchAction research
Action research
 

More from Rose Banioki

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Rose Banioki
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway
Rose Banioki
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fund
Rose Banioki
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญา
Rose Banioki
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
Rose Banioki
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7
Rose Banioki
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide th
Rose Banioki
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greece
Rose Banioki
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspe
Rose Banioki
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_bea
Rose Banioki
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobau
Rose Banioki
 

More from Rose Banioki (20)

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway
 
Instant tax
Instant taxInstant tax
Instant tax
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fund
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญา
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
 
Thaifood table
Thaifood tableThaifood table
Thaifood table
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide th
 
P4
P4P4
P4
 
P3
P3P3
P3
 
P1
P1P1
P1
 
To myfriends
To myfriendsTo myfriends
To myfriends
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greece
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspe
 
Tibet
TibetTibet
Tibet
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_bea
 
Photosdutempspass
PhotosdutempspassPhotosdutempspass
Photosdutempspass
 
Photo mix7
Photo mix7Photo mix7
Photo mix7
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobau
 

Treatise secretary

  • 1. ตำรับ ยอด เลขา จากคัมภีร6' "จรรยาบ่าว,, วิธีฝ็กผ้นำในยค ร.ศ. ๑(ภ๑ พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชั๊?โว) www.kalyanamitra.org
  • 3. คำปรารภ เรื่องที่หลวงพ่อนำมาเทศน์คราวนี้ นำมาจากหนังสือ จรรยาบ่าว ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ ๗๕ ปีที่แล้ว คือรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ. ๑๓๑) พิมพ์ที่ โรงพิมพ์สามมิตร โดยไม'ได้ระบุชื่อผู้เขียนไว้ เจ้าหน้าที่ท่านหนึ่งของ ฝ่ายวิชาการได้ไปพบหนังสือเล่มนี้ในร้านขายหนังสือเก่าแห่งหนึ่ง จึงซื้อ มาถวาย ครั้งแรกที่เห็นก็รู้สึกสะดุดใจว่าชื่อแปลก พอพลิกอ่านดูก็ยิ่ง รู้สึกว่าดีมาก เลยนึกถึงญาติโยมที่มาวัด อยากให้รู้เรื่องราวดี ๆ อย่างนี้ บ้าง ก็เลยนำมาเทศน!ห้ฟังในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ที่หน้าแรกของหนังสือเล่มนี้ มีลายมือแบบคนรุ่นเก่า ซึ่งคงจะ เป็นเจ้าของหนังสือคนแรกได้เขียนไว้ว่า น้อย เพราะกงไม่มยูใคต้องการเรยนเป็นบ่าว ต่างอยาก เป็นเสนาบคั๋ค้วยกันทุกกน ในทันใคก็่ได้กำฅอบขั้นมาว่า ตามธรรมตา ผูใฅจะเป็นยูใหญ่ เช่น LCfนาบคึ่ เป็นต้น รำเป็นต้องเป็นบ่าวมาก่อนทั้งนั้น เพราะฉะนั้น หนังสือน'รึง มประโยชนทั่วไปทั้งนายและบ่าว ' •ร, ตำรับยอดเลขา (cr) คำปรารภ www.kalyanamitra.org
  • 4. ข้อกวามทมfงฟ้ธนอยูในหนังสือเล่มนั้นั้น โคยมาก สมก1วทเละ!เหมารกับทผู้เป็นบ่าว'จะกระทำแก่นายกน,ใทย ศมัยเก่าล่วนขู้ทฟ้นไทย'ฝ็มัยใหม่ทรอฝรั่งก็่ฅึ่ จะต้องระวัง กัดแปลงกิคให้ถูกอ้องกั!Jฝ็มั!,1งกวร อย่างไร?ไค ตำราเล่ม นนบ'ว,าดม•ไกอยู่ ถงแม้ว่าจะใช้สำหรบนายทเป็นกนไทย คำว่า บ่าว ที่ใช้กันมาแต่สมัยโบราณ หรือ'ที่'นำมา'ใชในที่'นี้ ไม่ได้ หมายถึงข้าทาสในระบบศักดินาแต่อย่างใด แต่หมายถึงคนใกล้ชิดที่ เจ้า'นาย,ไว้ว'างใจ!1ฬ้ติดตาม'รับ6เช้ฬงในเรึ่องการงาน และเรื่องส่วน,ตัว ถ้า อยู่ในวงการทหารนิยมเรียกว่า ท.ส. ซึ่งย่อมาจากคำว่า ทหารคนสนิท ค่าปรารภ (X)) ตำรับยอดเลขา เมื่อหลวงพ่ออ่านเนื้อหาโดยตลอดแล้ว ก็ต้องยอมรับว่าคนที่ เป็น "บ่าว" ตามนัยยะของหนังสือเล่มนี้จะต้องฝึมือเยี่ยม และทำงาน ด้วยชีวิตจิตใจที่ผูกพ้นจริง ๆ จึงจะได้ความไว้วางใจให้เข้ารับใช้ใกล้ชิด ในหน้าที่บ่าว ไม่ใช่ว่าใคร ๆ ก็เป็นได้ ถ้าจะว่ากันตามตรงแล้ว คนที่ ประสบความสำเร็จในชีวิตทั้งหลายแทบจะไม่มีใครเลยที่,ไม่เคยผ่านงาน บ่าวมาก่อน ต่างกันแต่ว่าไม่ใช่บ่าวจริง ๆ แต่ทำงานให้เจ้านายอย่างไม่ รังเกียจเดียดฉันท์ ทำอย่างบ่าวแท้ ๆ คนที่ไม,เคยทำตัวเป็นอย่างบ่าว เสียอีกที่ใม่ค่อยมีความเจริญรุ่งเรืองในชีวิตและหน้าที่การงานเท่าใดนัก เพราะฉะนั้น หนังสือเล่มนี้จึงน่าจะมีประโยชน์ทั่วไปทั้งบ่าวและคนที่ ต้องการไต่เต้าเนไปเป็นเจ้าคนนายคน www.kalyanamitra.org
  • 5. ถ้าเป็นลูกศิษย์พระก็เรียก ลูกสิษย์ก้นกุฏิ ถ้าอยู่ในวงการนักเลงก็เรียก สมุนคู่ใจ แต่สมัยนี้ที่เห็นใช้กันแพร่หลาย มีอยู่คำหนึ่งคือ เลขาฯ คำ เต็มว่า เลขานุการ แต่เรียก เลขาฯ เฉย ๆ ดูจะสนิทเป็นส่วนตัวมาก หน่อย ตรงตามคุณสมบัติท่านผู้เขียนไว้ พูดถึงประโยชน์ทั่วไป หนังสือเล่มนี้เหมาะกับทุกคน เพราะไม่ว่า ใคร ๆต่างก็มีหัวหน้ากันทั้งนั้น อ่านแล้วจะได้ทราบว่าต้องทำตัวอย่างไร จึงจะถูกอกถูกใจหัวหน้าทำงานไปด้วยกันได้แล้วจะได้รู้ชัดขึ้นอีกว่า จริง ๆ แล้ว การทำงานรับใช้เจ้านายนั้น ไม่ใช่แค่ถูกใจอย่างเดียว ต้อง ดูกต้อง และถูกกาลเทศะด้วย ส่วนคนที่อับเฉาอยู่ในหน้าที่การงานอยู่ นาน เมื่ออ่านเรื่องนี้แล้ว ก็จะได้พิจารณาเทียบเคียงความประพฤติของ ตัวเองว่า มีข้อบกพร่องในสิ่งใดบ้าง ถ้ามีก็จะได้ปรับปรุงตัวเองเสีย ก่อนที่จะไปเพ่งโทษคนอื่น หรือคิดน้อยอกน้อยใจว่าอย่างโน้นอย่างนี้ ส่วนผู้เป็นนายที่อยากได้ลูกน้องที่มองตาก็รูใจ ใช้งานคล่องก็จะ ได้เอาหลักเกณฑ์เหล่านี้!ปฝึกอบรมคนในหน่วยงานให้เห็นเป็นแนวทาง ใครที่มีแววเข้าท่าเข้าทางก็จะได้คัดเลือกเอามาฝึกให้รับใช้ใกล้ชิด จะ หวังให้รู้กันเองนั้นสมัยนี้ดูจะยาก สำหรับชื่อเรื่อง หลวงพ่อขอตั้งชื่อใหม่ จะได้ไม่บาดตาบาดใจคน อ่านคนฟังมากนัก ให้ชื่อว่า ตำรับยอดเลขา ก็แล้วกัน เพราะดู ๆ เนื้อหาแล้ว เอาไปเป็นตำราฝึกคนได้เข้าท่าดีมาก ''ร,ตำรับยอดเลขา (or) คำปรารภ www.kalyanamitra.org
  • 6. ฝ่ายวิชาการวัดพระธรรมกายมาขอต้นฉบับไปพิมพ์เผยแพร่ ก็ ขอให้เอาไปใชใหได้ประโยชน์ทั้งทางโลกและทางธรรม หลวงพ่อลำดับ เนื้อความตามต้นฉบับเดิม คัดลอกของเก่าไว้ให้ดูด้วย เพื่อรักษาศัพท์ แสงบางคำไว้ และเพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้เขียนด้วย ส่วนที่ขยายความออก มาก็เพื่อให้เหมาะกับยุคสมัยและเหมาะกับงาน คนรุ่นใหม่จะได้เข้าใจ ได้ง่ายขึ้น ขอกุศลผลบุญที่เกิดจากการที่หลวงพ่อนำเรื่อง จรรยาบ่าว มา อธิบายขยายความเป็น ตำรับยอดเลขา และจากการที่ท่านทั้งหลาย นำไปปฏิบัติจนเกิดความเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงานทั้งทางโลกและ ทางธรรม จงถึงแก่ผู้เขียนหนังสือ จรรยาบ่าว และผู้ที่มีส่วน61นการเผย แพร่หนังสือนื้ทุกภพทุกชาติตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน ทตฺตชีโว ภิกฺขุ คำปรารภ {a) ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 7. เค้าความเดิม เรื่องจรรยาบ่าวที่ผู้เขียนไม่ปรากฏนามเรียบเรียงไว้นั้นท่านจัด สารบัญไว้เรียบร้อยว่า จรรยาทั้ง ๓๕ ข้อ มีอะไรบ้าง แต่พอเข้าเนื้อ เรื่อง ท่านก็ลุยเนื้อหาเลย ไม่ได้ยกเอาชื่อหัวข้อมาตั้งไว้อีก หลวงพ่อจึง เอามาใส่เพิ่มไว้ตามหัวข้อเอง เพื่อสะดวกแก่การทำความเข้าใจ และที่ ถูกใจหลวงพ่อมากคือ คำนำ ในการจัดทำหนังสือจรรยาบ่าว จึงขอ คัดลอกข้อความมาเล่าสู่กันฟังด้วย ท่านเขียนว่า g „ ^ ^ ^ ^ "เมึ่อไค้พิจารณาคูบ่าวฤๅกนใช้ สำหรับท่านผู้ม I พาศนา บรรดาffกคิ้ในปิจจุบันน' มกิริยาท่าทางทํ่ประพฤติ ต่าง ๆ กันหลายอย่าง จะเป็นด้วยไม่รู้ว่าหน้าทํ่แห'งฅนกวร ระกระทำอย่างไรบางฤๅอย่างไร ฤๅจะเป็นด้วยไม่มตำรา ! ราเรยนและมผู้แนะนำ ก็่กงเป็นแต่รำกันอย่างหยาบ ๆ ต่อ ๆ มา กวามรำต่อ ๆ มานั้น จะว่าคกึ่ม จะว่าชั่วก็่มั๋ เป็นอันมและเป็นไค้ทั้งชั่วและค กล่าวก็่กอ ไปรำเอาทดมา เป็นตำรา กี่เป็นการคไป ถ้าไปจำเอาทชั่วมาเป็นตำรา เช้า6!จ1ว่าคว่าถก มันก็่เสิยหนทางไป I ตำรับยอดเลขา (or) เค้าความเดิม www.kalyanamitra.org
  • 8. . ร - - - ^ ^ M i l เมํ่อซงใคไม่มหลักลูฅร์ และตำรา'Iห้itยนก็่เมนการ ยากทิ่ระทำให้ถูกให้ดไปทุกอย่างไค้ คูกี่เหลอนิลัยทึ่ระ ปฏิบัติ ถึงหากว่ามเรฅนาอันค แค่ว่าไปถธ และกระทำทางท ผิคเช้า เช่นไปรำอย่างโซ้ค ๆ อันไม่เช้าเรํ่องอะไรมาเช้าใจ ว่าค เช่นนั้เป็นต้น กี่กระทำให้ตนเสียกวามเรยบร้อยไป ทวา)เฉฟ้าค-จ5JJ ก็่ค้วยก'วามประ.พฤฅิดแถ::ถูกมากกว่าผค แต'ฉัใJIฅจงระรู้ว่าคฤ ๅไม,มกวามฉลาVIIล่า กต้องอๆกรัย กวามกกษาและา•าแรึยน และการทิ่เรยใJ.นนกึ่ต้องมฅํ'111 และหลักลูฅร์ตำราอย่างนก!ม'ม และทิ่มบ้างก!ม่ฅรงกวาม ต้องการทบเรองอย่างน' ระทำอย่างไร เมํ่อไค้ตริฅ1องคูเทนVIางบกพร่องอยู่เช่นน จงไค้กิSi เรยบ LTยงเรํ่องจรรยาบ่าว,โรมบนขน Iฅยเหนว่าจะเป็น ประโยชน์ แก'ผู้ทิ่ระเป็นช้า เจ้าบ่าวชุนน'ไงอยู่บ้าง ถ้าไค้เดิน ทางน หริออกอย่าง เพึ่อเป็นหนทา .1พจะไค้พิราร'เนา เลือก สินหาทางทิ่ชอบต่อไป ถึงแม้ว่าหนังสือฉบับ'นระรวบรวม ข้อกวามยังไม่หมครคถถ้วน กี่นก'ว่ายัง?ากj•ไไJเมทเคยว เนอค้องการเพยงใค ฤๅม่กวามลามารถทำไค้แต่เพยงใค กี่ ลุคแฅใจรักทิ่จะกระทำ และกงระเป็นกุณประ!บชนอยูบวง: เพํ่อยู้ทํ่ประพฤฅิ้แขเชือนไ!Jใค้พ1J1ค้อ่าใมาจะล?ไค I.รไค้ลค ขนมาบ้างฅอกกระมัง ฤๅปฎิบัฅิเช้าทางอยู่แตว แต่ทากว่า เค้าความเดิม (๑๐) ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 9. ยังบกพร่องแลไม่เห็่นทางยืคยาวต่อไปอกอยู่บ้าง เมํ่อ่ไท้ พิจารณาคู ก็่จะไค้แลเห็่นทางทไต้แผ้วถางทำไว้นั้นโล่ง เตยนพอทจะเคิน่ใต้สค'วก คกว่าบุกรุกบุกพงเคาลวคไปตาม บุญฅามกรรรม และเมอมทางเฅึ่ยนให้เฅินขั้นแล้ว ก็่จะเดิน เร็่วชน ถึงนั่นถึงน!,ค้ลควกทันความต้องการ ถ้าหากว่าม ความส์ามารถอยากจะเดิน ถ้าแมไม่อยากจะเดิน ถึงมทาง ไว้ กใม่เป็นประโยชน์อะไรอยู่เอง แต่การทใต้ทำเรองขนน ไม่ไค้หมายกวามไปถึงทาษ และลูกร้าง ส์าหรับแต่บ่าวหรอคนใช้ และบรงข้อความระ สูงเกินไปจากกนใช้และบ่าวก็่มือยู,บ้าง แต่เหึ่นว่าไม่แยหาย อะไร กระทำไต้ก็่ยิ่งคเส์ยอก และฒึ่อมแบบฉบับลำหรับ บ่าวปฏิบัติเป็นทางไว้เช่นน็้แล้ว กวรท่านผู้เป็นนายทั้ง หลายจะจัคหาไปให้ปาวฤๅกนใช!ห้^กษาทราบกวามไว้ เ'รองแกล้วกวามเข้าใจอะไรต่าง ๆ ชองบ่าวจะน้อยลง ประโยชน์กึ่มืทั้งลองฝ่าย ส่วนนายก็่จะทุเลาเบาแรงในการ ปากบ่วนกวนใรไปบ้าง เมอพลาคขิคลงในช้อใค ก็่จะลงโทษและว่ากล่าวไค้ ถนัค เหมือนคงไค้ออกกำสิงไว้!,หัแส้ว ส่วนบ่าวทไม่ใกร่จะ เอาถ่านกึ่ระไต้มืกวามรูในสิงซํ่งกวรปฏิบัติ และนกคร้าม ยำเกรงระวังขิคมาณช้า จะกิคประหนงว่า หนังสือน็้เหมือน ,0 ตำรับยอดเลขา (๑๑) เค้าความเดิม ๖i {; ; www.kalyanamitra.org
  • 10. ข้อบังกับ ระกถ'บใ.'จทํ่ประพฤติแชเชือมมากลับประพฤติเข้า ทางด ก็่ระมประใยชนไค้ดอกกระมัง ตัวอย่างโาย่อมมแต่ กรั้งโบราณในการประพฤคิแชเชอน แล้วกลับคไค้'ลำเรจ 11ร1 กนล ออกI'llใJกองftองกองไ).แช่-หรือ ฤๅระกํคค้าใJๆ'า ทานเหล่านั้นมนลัยชรรัย รึงกลับไค้ ก็่นใกรระรู้แน่ไค้ว่า เขาไม,มืนิลัยปิจรัยกลับเป็นคใค้บ้างเล่า ในเนอไฅรบกำ แนะนำทางคทางขอบเข้า ข้าพเร้าไมไค้ประมาทเถยว่า เขา ระกลับกืนคั้ใม'ไค้ ^ ; ' / ไ. ^ , : : ' กึง'ในปิจรุบันนิ้ กึ่มฅัวอย่ 3อยู่ถมไป ทํ่ประพฤติ แชเชือนมาแล้ว กลับประพฤติถูกทางคใปไค้ ขอใท'ลองนกดู เถิคกงระเห็่นไค้ แต่กนทํ่ประพฤฅิแชเชือนม'ไก่อนแล้ว มา ประพฤติถูกทางกลับดไค้นั้น ย่อมระเป็นกนมกวาม ลามารถลำกัญมาก เพราะทํ่พิ่แกไค้เกยรู้รลอฅทน เปรยว หวานรึดเก็่มกIครับรอฒาเล้I แต่ข้อน''BCอย่าให้เข้าใรว่า ข้าพเร้าแใ.4ะนำและยืนยันให้ประพฤติแชเชือนมาก่อนแล้ว รึงระคภายหลังนั้นเลย ข้าพเร้าใ:)เยอ]เรับรองเอา เพราะใร ของข้าพเร้านั้นอย ไกระ-นIาฅั้งแต่ฅทฟ"ใาทเคยวคึ่T'ว่า ก็่เพราะเทฅฉะนั้นรึงเห็่นว่า แบบแผนอัน'ใคมอยู่ ถงว่าไค้เหึ่นไค้พยครั้ง แรกจะไม,ล้นยมเชํ่อถือก็่ค แฅ่ทาให้ ลกิฅใจอยู่บ้าง เมํ่อลกิฅเข้าบ่อย ๆ ก็่เลยนิยมเชิ่อถือเอา ชุเร!§ไ?^.^ . เค้าความเดิม (๑!ร) ตำรับยอดเลขา '.;S:*ชุเแร^ www.kalyanamitra.org
  • 11. เป็นคึ่ มกวามเลํ่อมใลไปก!ค้ใรมันกลับไค้เปลึ่ยนไค้บาง ฐ ษขณะเหมอนกัน เป็นล่ากัญทึ่ค้องหมั่นล้องเลพย์และสืกษา ค้วย เมื่อรรออยู่เลมอ มันก็่อารเหหันไปไค้ เช่น กำภาษิต เฑลึ่ด ๆ ชองบุราณกล่าวว่า "กบกนพาล พาลพาไปหาขิค กบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล" ฤๅภาษิตตลาคอกไม้หนง ว่า "กบคนคมกรแก'ตัว กบกนชั่วปราชัย" เช่นนกึ่กวาม เคยวกัน ถ้า1ระแปลออก1ใปก็่คือ กวามคืกษากบหาล้องเฝ็พย์ นั้นเอง เมื่อช้วเป็ยอยู่กับใกรหรอกับอะไร นิลัยมันก็่อารระ ฅิคต่อกับกนนั้น ฤๅอย่างนั้นไค้ เช่น กนเป็นละกรและเป็น โขน คูกิริยาท่าทางซ กงระมท่าละครและโขนอยู่เลมอ เอา รักละเอยคออกไปอกท กนทิ่เป็นนางก็่กิริยากงค้วมเตยม ลมุนลไม กนทิ่เป็นยักษเป็นลิงก็่ตงตังลอกแลก คูเอาเกิต มันฑ็่เป็นไค้เช่นนั้น เพราะฉะนั้น เหตุไรมันรึงระกลับตัว ไมไค้บ้างเล่า ย่อมระเป็นไคตงทํ่กล่าวแล้วบ้างเหมอนกัน เพราะฉะนั้น เมื่อมแบบแผนและหลักลูฅร หรอกฎข้อ ควรปฏิบัติขนแล้ว ก็่หวังใรว่า กงระสืกษาและพิรารณา เห็่นทางผิคทางชอบบ้าง เป็นทางกันเขลาและเบากวาม ต่าง ๆ ฤๅทวกวามป็สาหและกตัญฌูขน อันเป็นของคยํ่ง แห่งมนุษย์และเทพยคาลรรเลริญ กวามเผลอเพลินเฉไป I •ะ. ตำรับยอดเลขา (®o) เค้าความเดิม 'ร•••ฟ้^0* www.kalyanamitra.org
  • 12. ทางการชั่ว ฤๅกลั้วอยูในทางขิค ก็่จะไค้นกไค้กิคเปลํ่ยน จิตTตัง'BTT^^'""'ท'1 แพ«11 !«>*>«->. . _ คเข้าในทิ่ทางถูกทางชอบตอก กระมังยู้เรยมเรยงกึ่มกวามหวังและตั้งใจให้เป็นเช่นน็้ โคย ความปรากนาอันคฉะน็้แล - « 5 ; . 3 ' ร - - - - - แล้วท่านก็ดำเนินเรื่องเลย ดังที่หลวงพ่อกำลังจะนำมาเทศน!ห้ฟัง กัน พร้อมกับขยายความเพิ่มเติมให้อีกนี่แหละ ทตฺตชีโว ภิกฺขุ เค้าความเดิม (๑๙) ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 13. สารบัญ คำนำ คำปรารภ เค้าความเดิม ๑. การเลือกนาย ๑ ๒. ความจงรักภักดีต่อนาย ๕ ๓. อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย ๙ ๔. อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก ๑๓ ๕. จงอุตส่าห์ทำการงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด ๑๙ ๖. อย่าเป็นคนเฉอยชา ๒๕ ๗. อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ ๓๓ ๘. อย่าเป็นคนสะเพร่า ๔๑ ๙. ต้องเอาใจใส่ตรวจตรากิจการอยู่เสมอ ๔๕ ๑๐. อย่าเลินเล่อในการรักษาและขับรถยนต์ ๕๑ ๑๑. ของของนาย จงขอเสียก่อน จึงถือเอา ๕๗ ๑๒. จงระวังแต่งตัวให้สุภาพเรียบร้อย ๖๓ ๑๓. จงเป็นผู้รู้จักประหยัดการใช้จ่าย ๖๗ ๑๔. จงเป็น.ผู้มีค'วาม,ไหวพริบ ในการไปธุระของนาย ๗๕ ๑๕. การเคารพต่อผ้มี'วาสนาบรรดาสักด ๘๕ ตำรับยอดเลขา (off) สารบัญ ฯ..,/^ www.kalyanamitra.org
  • 14. ๑๖. จงเลือกโอกาสเข้าหาผู้ที่,นายใชไปด้วยกิจธุระ ๙๑ ๑๗. ว่าด้วยการปลุกนายตามทุ่มโมงที่สั่งไว้ ๙๗ ๑๘. การเฝีาบ้านเมื่อเวลานายไม่อยู่ ๑๐๗ ๑๙. เมื่อเวลาไปไหนกับนาย อย่าพลัดกับนาย ๑๑๓ ๒๐. จงเป็นผู้มีความอดทนและเสงี่ยมเจียมตัว ๑๑๙ ๒๑. จงรักษาประโยชน์และเกียรติยศของนาย ๑๒๕ ๒๒. อย่าเป็นผู้ลำเอียงในบุตรภรรยาของนาย ๑๓๑ ๒๓. อย่าเป็นคนเจ้าชูในบ้านท่าน ๑๓๗ ๒๔. จงมีความอารีต่อเพื่อนบ่าวด้วยกัน ๑๔๑ ๒๕. ต้องรู้ชนิดแขกที่มาหานาย ๑๕๑ ๒๖. เมื่อแขกมาหา อย่าห่างนาย ๑๕๙ ๒๗. อย่าเย่อหยิ่งเป็น "กิ้งก่าท้าววิเทหราช" ๑๖๗ ๒๘. จงเป็นผู้มี1พร้อมทั้งสติและปัญญา ๑๗๓ ๒๙. อย่าหน้าไหว้หลังหลอก ๑๘๕ ๓๐. อย่าคิดว่าการที่ตนต้องทำเป็นของเลวทราม ๑๙๑ ๓๑. ผู้ดีคืออะไร ๒๐๑ ๓๒. อย่าประพฤติดังภาษิตว่า "มั่งมีดีหอม ช่วยกันตอมกิน" ๒๐๕ ๓๓. อย่าประพฤติดังภาษิตว่า "ปลาผุดเอาเบ็ดหย่อน" ๒๐๙ ๓๔. จงถือภาษิตว่า "ช้าเป็นการ นานเป็นคุณ" ๒๑๕ ๓๕. อย่าเป็นผู้มีค'วามประมาท ๒๒๓ สารบัฌ (๑X5) ตำรับยอดเลขา • - www.kalyanamitra.org
  • 15. ะ ^ : . ร , สารบัญหมวดหมู่ บริหารตน ๑. การเลือกนาย ๑ ๒. ความจงรักภักดีต่อนาย ๕ ๑๒. จงระวังแต่งตัวให้สุภาพเรียบร้อย ๖๓ ๒๐. จงเป็นผู้มีความอดทนและเสงี่ยมเจียมตัว ๑๑๙ ๒๑. จงรักษาประโยชน์และเกียรติยศของนาย ๑๒๕ ๒๒. อย่าเป็นผ้ลำเอียงในบตรภรรยาของนาย ๑๓๑ ๒๓. อย่าเป็นคนเจ้าชู้ในบ้านท่าน ๑๓๗ ๒๔. จงมีความอารีต่อเพื่อนบ่าวด้วยกัน ๑๔๑ ๒๗. อย่าเย่อหยิ่งเป็น "กิ้งก่าท้าววิเทหราช" ๑๖๗ ๒๘. จงเป็นผู้มีพร้อมทั้งสติและปัญญา ๑๗๓ ๒๙. อย่าหน้าไหว้หลังหลอก ©๘๕ ๓๒. อย่าประพฤติดังภาษิตว่า "มั่งมีดีหอม ช่วยกันตอมกิน" ๒๐๕ ๓๕. อย่าเป็นผู้มีค'วามประมาท ๒๒๓ บริหารคน ๔. อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก ๑๓ ๑๕. การเคารพต่อผู้มี'วาสนาบรรดาสักด ๘๕ ๑๖. จงเลือกโอกาสเข้าหาผู้ที่นายใช!ปด้วยกิจธุระ ๙๑ ๒๕. ต้องรู้ชนิดแขกที่มาหานาย ๑๕๑ ๒๖. เมื่อแขกมาหา อย่าห่างนาย ๑๕๙ ๓๑. ผ้ดีคืออะไร ๒๐๑ ตำรับยอดเลขา (๑a) สารบัญหมวดหมู่ " ร^^ www.kalyanamitra.org
  • 16. บริหารงาน ๓. อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย ๙ ๕. จงอุตส่าห์ทำการงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด ๑๙ ๖. อย่าเป็นคนเฉื่อยชา ๒๕ ๗. อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ ๓๓ ๘. อย่าเป็นคนสะเพร่า ๔๑ ๑๔. จงเป็นผู้มีไหวพริบ ในการไปธุระของนาย ๗๕ ๓๐. อย่าคิดว่าการที่ตนต้องทำเป็นของเลวทราม ๑๙๑ ๓๓. อย่าประพฤติดังภาษิตว่า "ปลาผุดเอาเบ็ดหย่อน" ๒๐๙ ๓๔. จงถือภาษิตว่า "ช้าเป็นการ นานเป็นคณ" ๒๑๕ บริหารเงิน ๙. ต้องเอาใจใส่ตรวจตรากิจการอยู่เสมอ ๔๕ ๑๐. อย่าเลินเล่อในการรักษาและขับรถยนต์ ๕๑ ๑๑. ของของนาย จงขอเสียก่อน จึงถือเอา ๕๗ ๑๓. จงเป็นผู้รู้จักประหยัดการใช้จ่าย ๖๗ บริหารเวลา ๑๗. ว่าด้วยการปลกนายตามทุ่มโมงที่สั่งไว้ ๙๗ ๑๘. การเฝ็าบ้านเมื่อเวลานายไม่อยู่ ๑0๗ ๑๙. เมื่อเวลาไปไหนกับนาย อย่าพลัดกับนาย ๑๑๓ หมายเหตุ : คณะทำงานได้จัดทำกลุ่มสารบัญหมวดหมู่เพิ่มขึ้นมา โดยพิจารณาจาก ความสอดคล้องกับโครงสร้างการบริหารงานในยุคปัจจุบัน ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความสะดวก ในการศึกษาค้นคว้าของผู้อ่านเป็นสำคัญ ^เแรั*ะร!, สารบัญหมวดหมู่ (acs) ตำรับยอดเลขา :ft*-00*" www.kalyanamitra.org
  • 17. ๑ การเลือกนาย • - ตำรับยอดเลขา ๑ การเลือกนาย ' ระ*ร^ www.kalyanamitra.org
  • 19. ๑. การเลิอกนาย -น่ ' ' ' « /พ** Jsi เรา'จI!กๆามพิจารณาในชั้นแรก เราก้องกิ?]ก,ธน1ว่า ต้องหาเร้าชุนมลนายทํ่อัธยาศรัยใจกอ หลักถานมั่นกง ; ฯ , ไ, ค , !! 1 , " และกวามประพฤติทถูกใจชองเราไม่ใช่หรือ เมอเช่นนนเรา จะต้องสืบเสาะสอบสวนคูว่า ท่านผู้ใคหนอทํ่จะเป็นทึ่พํ่ง ของเราไค้ หรือทมนิลัยปิจจัยต้องฅามอารมณและกวาม ประพฤติของเรา เมอเราทราบลักษณการในฐานเลอกฬ้น เป็นทพอ'ใจเช่นนั้นแล้ว เราก็่กวรเข้าสามิกักคิ้ยื้ศเป็นทึ่พง ของเราต่อไป แต่ต้องกิคให้คโคยรอบกอบ เมํ่อกิคนิคไปแล้ว จะผลัคเปลยนก็่ยาก จะกลายเป็นกนจับจค อยู่ทใคไม่เป็น หลักแหล่งไค้นาน เช่นนั้นก็่ไม่ล้ค เพราะฉะนั้น จื้งต้องใช้ ไ กวามฅริฅรองเสาะแสวงให้รอบกอบ!ไถ้วน เมอเห็่นกวร เห็่นดึ่แน่แล้ว จื้งเข้าสามิภักคิ้กับท่านผู้นั้น miL - ' ~ ~ ~ m 1 ข้อความนี้ตรงกบมงคลสูตรข้อที่ ๑ พระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสiว้ ว่า "อเสวนา จะ พาลานัง ห้ามคบคนพาล"๑ ยิ่งไปกว่านั้น ไฝใช่เพียง การคบกันเฉย ๆ แต่จะเข้าไปทำงานกับเขา ให้เขามาเป็นผู้บังคับบัญชา ของเรา ถ้าได้ผู้บังคับบัญชาเป็นอันธพาลแล้ว ชีวิต,นี้ก็'จบกัน เราจะทำ อย่างไรก็ไม่มีทางเจ'ริฌร่งเรืองต่อไปได้ เพรา U)cพ) หากมีโอกาสเลือก ได้ ก็ควรเลือกผู้บังคับบัญชาที่ไม่เป็นคนพาล และควรมีอัธยาศัยใจคอ พอไปกันได้° มงคลสูตร, ชุ.ชุ.อ. ๓๙/๕ - ๖/๒๑๒ (มมร.) ร.ตำรับยอดเลขา เะว การเลีอกนาย www.kalyanamitra.org
  • 21. รเบพ® (. ความจงรักภักดีต่อนาย ตำรับยอดเลขา (A ความจงรักภักดีต่อนาย www.kalyanamitra.org
  • 23. ๒. ความจงรักภักดีต่อนาย เราต้องมกวามรงรักกักค ซึ่อฅรงต่อนายโคยกวาม บริสุทธ แถะต้องเพยรพยายามหากวามคกวามชอบต่อนาย เราเสมอ เมึ่อท่านประสงกสิงใคและพอใรอย่างไร เราก็่กวร ระแสวงหาด้วยอาการสืบเสาะและปฏิบัติให้ถูกอกถูกใร ถง เฒ้ว่าระไมไต้ออกทรัพย!ปแลกเปลํ่ยน ฤๅซั้อหามาก็่ค ก็่ยัง มทางทํ่กวรระสนองกุณค้วยนํ้าพักนาแรงแห่งวิธสืบสวน แนะนำให้!ครัคไต้เปรยบ อย่างนั้เป็นต้น ก็่นับว่าเป็นกุณ เป็นประโยชน ต้องต้วยกวามรงรักกักคต่อนายเหมอนกัน 1ฆ่ จรรยาข้อนี้คือ มีความจงรักภักดี และซื่อตรงต่อผู้เป็นนายด้วย ความบริสุ1ทธิไจ ไม1ยอมทำตนเป็นคนคดในข้องอในกระดูกอย่าง เด็ดขาดนั่นเอง สำหรับเรื่องนี้ มีเรื่องเล่าขยายความคือ มีโยมคนหนึ่งเป็นนาย ทหารได้มาหาหลวงพ่อที่วัด ก่อนเกิดเหตุการณ์วันมหาวิปโยค ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ สัก ๒ - ๓ อาทิตย์ มาเล่าให้ฟังว่า มีคนมา ทาบทามท่านให้เป็น ท.ส. คือนายทหารคนสนิทให้กับผู้ใหญ่คนหนึ่งใน ขณะนั้น เพราะชอบอัธยาศัยกัน ท่านผลัดว่าขอเวลาตรึกตรองไว้หนึ่ง อาทิตย์ก่อน แล้วจะให้คำตอบ ตำรับยอดเลขา พ ความจงรักภักดีต่อนาย www.kalyanamitra.org
  • 24. แล้วท่านก็มาเล่าความในใจให้หลวงพ่อฟังว่า ขณะนั้นท่านไม่ได้ รักเคารพในตัวผู้ใหญ่1ท่านนี้เลย การที่จะไปเป็นทหารคนสนิทให้กับผู้ใด นั้น ต้องมีความรักเคารพและศรัทธาในตัวนาย ทั้งต้องมีความจริงใจ ต่อกันถ้าขาดความจริงใจแล้วก็จะกลายเป็นคนประจบสอพลอเห็น แก่ประโยชน!ป เพราะการได้เป็นทหารคนสนิทของผู้ใหญ่ ยศตำแหน่ง จะขึ้นเร็วกว่านายทหารที่ทำงานไกลตาอย่างแน่นอน ท่านไม'ชอบเจริญ เร็วแบบนี้มันขัดความรู้สึกหลวงพ่อยังไม่ทันออกความเห็นอะไร ท่าน ก็บอกเองว่า ไม่รอเวลาแล้ว จะบอกปฏิเสธเสียวันนี้เลย เพราะถ้ารับ ตำแหน่งนี้!ปโดยเห็นแก่ลาภยศก็กลายเป็นคนหลอกลวงเพราะไม่ได้ ทำงานให้กับเขาอย่างทุ่มเท แล้วท่านก็ลากลับ เป็นอันว่ามาเล่าให้ฟัง เฉย ๆ เดี๋ยวนี้ท่านผู้นั้นก็ยังเป็นทหารธรรมดา ๆ ยังไม่ได้เป็นนายพล กับเขาเสียทีนี่ถ้ารับปากเป็นท.ส. เสียคราวนั้น ก็อาจจะได้เป็นอย่าง ใดอย่างหนึ่งคือได้เป็นนายพลหรือไม่ก็ออกนอกประเทศไปแล้ว สำหรับข้อนี้ มีข้อคิดที่เป็นประโยชน[นการเลือกเจ้านาย คือ ผู้ที่ จะมาเป็นนายของเรา นอกจากจะต้องเป็นคนดีแล้ว จะต้องถูกอัธยาศัย กับเราด้วย และเมื่อตัดสินใจไปอยู่กับเขาแล้ว ก็ต้องมีความจงรักภักดี ซื่อตรงต่อกันด้วยความบริสุทธใจ ไม่เช่นนั้นจะเป็นการเพาะนิสัยเสีย ๆ ขึ้นมาคือกลายเป็นคนหน้าไหว้หลังหลอกเอาตัวรอดไปวัน ๆ เป็น บาปกรรมติดตัวต่อไปภายหน้าได้ เมื่อถึงคราวเรามีลูกน้องใต้บังคับ บัญชาบ้างก็จะมีแต่ชนิดหน้าไหว้หลังหลอกไม่มีความจริงใจเช่นกัน ทุ!!*?*•ะ'ร. ความจงรักภักดีต่อนาย C ตำรับยอดเลขา V- www.kalyanamitra.org
  • 26. ผู้บังคับบัญชามีงานเต็มไม้เตมมืออยู่แล้ว อย่านำเอาเรื่องร้อนไปเพิ่มใฟ้ท่านอีก เพราะเมื่องานต่าง ๆ ประดังเข้ามามาก หากเกิดความเสียหายกับหน้าที่โดยตรงของท่านแล้ว ทั้งท่านทั้งเราก็จะพากันเดือดร้อนไปหมด จึงควรกรองเรื่องราวต่าง ๆ ให้ดี f - . อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย o o ตำรับยอดเลขา •ใ-^แตื- www.kalyanamitra.org
  • 27. I ฅ. อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย I ญ 1ติมิฅฑฬึอพวกพ้องทึ่รฟ้ปมาทเรา เราค้องรฬัง I อย่าให้มามการทุจริตทบ้านท่านไค ฤๅพาถ้อยก ามชัวร้าย มาปีวเม'ย{รายเร้อนมัวหมองกับท่าน•ฤๅกับเราได้ เว้นใว้แฅ่ ถ้าว่าเขาไคร้บทวาม๓อคร'อนกคขมาโคยถ่องแท้ จาเป็น ต้องช่วยกิ คอ่าน รับ กวามปฤกษๆหาฤๅจรอุคหนุนไค้ I อย่างไรในลำพังตน ห'เอนากวามทุกขร้อนขนเรยนท่าน ขอ กวามเมศฅาแนะนำและเกอหนุนอย่างใรทิ่ควรโพไรช่วย I แต่เป็นขลทควรรำรึงทำ คึอคนนั้นเป็นญาติของเราทํ่เคย I อุปการรกันมา หรอมิตรทรกใคร่เกยมบุญคุณต่อกันเช่นนั้น รึงว่าควร ไม'ใช่เซ่นเป็น-พาถทุจ'Tฅฅ่อเขา ๆ ฅหัวแฅกมา I แล้วดังนเป็นค้น เช่นนั้นไปควรรบพิรารณาแลฒคหนุน สิง ^ ใคทึ่ร:!รบกวนให้ท่านช่วย ค้องคัคเลือกแต่เหตุผลอัน ลมควร อย่ารูร็้หยุมหยิม ปราครากความยำเกรง อันซึ่ง เป็นผลเฉภาะ;ตน , J) จรรยาข้อนี้อธิบายโดยสรุปคือ อย่าไปนำคนร้าย ๆ เข้ามาที่บ้าน ท่านนั่นเอง ไม่ว1าคนนั้นจะเป็นพรรคพวก เพื่อนฝูงของเรา หรือ ญาติมิตรก็ตาม ขอให้ระวัง อย่าให้มาทำความเสียใด ๆ ให้เกิดขึ้นได้ เพราะความเสื่อมเสียนั้นมิได้เกิดขึ้นกับเราเท่านั้น แต่ว่าจะเสียหายไปถึง เจ้านาย ผู้บังคับบัญชาของเราด้วย ตำรับยอดเลขา ๑ ๑ อย่าหาเหตุร้าย๓บ้านนาย www.kalyanamitra.org
  • 28. ในกรณีที่พรรคพวกเพื่อนฝูงของเราเหล่านั้น มาปรึกษาขอความ ช่วยเหลืออะไรก็ตามก็ควรช่วยเฉพาะเรื่องที่สมควรบางเรื่องไม'ควร ช่วยก็อย่าช่วย ไม,ใช่ว่าเราได้อยู่บ้านรัฐมนตรี เห็นว่าพ่านมีอำนาจ บารมี พอพรรคพวกเพื่อนฝูงเดือดร้อนมาขอให้ช่วยก็ช่วยเขาเลย โดย ไม่ดูว่า เจ้าเพื่อนหรือญาติของเราคนนั้นไปทำอะไรร้าย ๆ มาก่อน พอรู้ ก็ช่วยเหลือกันอย่างไม่ลืมหูลืมตา ผู้บังคับบัญชามีงานเต็มไม้เต็มมืออยู่ แล้วยังนำเอาเรื่องร้อนไปเพิ่มให้ท่านอีกอย่างนี้ก็ออกจะหนักข้อเกินไป เวนเว้เสียแต่'ว่าพรรค,พวก'ของเราคนนั้นเป็นคนดี แต่ถูกรังแกมาหรือ คนผู้นั้นเคยมีพระคุณกับเรามาก่อน แล้วเรื่องนั้น ๆ พอดีตรงสายงาน ที่ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบอยู่พอดี และการช่วยเหลือนั้น ท่านก็ไม่ต้อง เดือดร้อนขวนขวายมากนัก นี่ก็เป็นอีกเรึ'องหนึ่งที่เราจะต้องรู้จัก พิจารณา และดูคนให้เป็นด้วย แต่ถึงอย่างไรก็ตาม อะไรที่บอกปัดได้ก็ให้บอกปัดไปบ้าง อย่าไป เพิ่มภาระหนักกับท่านมากเกินไป เพราะเมื่องานต่าง ๆ ประดังเข้ามา มากเข้า ๆ ในที่สุดท่านเองก็อาจจะมีข้อบกพร่องได้ หากเกิดความเสีย หายกับหน้าที่โดยตรงของท่านแล้ว ทั้งท่านทั้งเราก็จะพากันเดือดร้อนไป หมด เราในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชาที่ดี จึงควรกรองเรื่องราวต่างๆ ให้ดี อย่าปล่อยให้เรื่องไม่เป็นเรื่องหลุดมารกสมอง ทำให้เจ้านายหรือผู้บังคับ บัญชาไม่สบายใจได้ , J S £ อย่าหาเหตุร้ายเข้าบ้านนาย ๑!ร ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 29. ๔อย่าชักคน!,ข้า อย่าสาวคนออก BLiilif'* ตำรับยอดเลขา ao อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก •ระเร่เแ^ www.kalyanamitra.org
  • 30. อย่าซักคนเข้า อย่าสาวคนออก ๑ ๙ 'if แร8* ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 31. . อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก กัยเราใใ.Iบาใเท่าน เราตองนำf 1วามราเรยน'รับอนุญาตเสีย ก่อน:รั้งควรไม่กๆรเพิกเฉยปกปิคธุอำนาจแห่งท่าน และ เราตปีงรู้1'ว่า.นาโคยฅ หรือมชะนักติดหลังมาอย่างไรค้าย ถ้า มาคเรารึงศวรรับ ถ้ามาอย่างร้ายใใก']รทึ่จะปฏิเลร เลย อย่า'ใหม่'ามเทฅเกิคกวามเคือคร้อน'ข,นเกืองกับท่าน,โค้ และ ลักษณะ:นากนเขา แนะคนออกนิ้ค้องระวังให้ค คนทิ่จะนำ เข้' มานั้นก็่รู้แล้วว่าเป็นกนคึ่ รึ ณำเข้ามาหาท่ ใน อย่าไปนำ กนชั่วเหลวไหลเข้ามาให้ท่าน เราจะพลอยเสียไปค้วย การแนะนำกนออกนั้น ขอนก็่สำกัญ ไม่ควรเราจะ ประพฤติ ไม่ใช่หน้าทของเราจะจักการ เพราะทว่า'ชัก-นำกน ออกนั้นนiมทางคปี ใI1คเกย ย'อมเป็นทุจริฅเกย'ไปีามิคแก่ ตนทั้งนั้น ผู้ชายกี่แนะนำ'1หไปอยู่เสียทํ่อํ่นและให้หลบหน ท่าน ผู้หญิงก็่ให้หลบหนํหรึอเรอกMl กับผู้ชายเป็นค้น เป็นสิงทิ่ไม่ควรแห้ทเราจะประพฤติ บุราญติเตยนมาก'Mm น เพราะปรากนาค ม'นไม่มอะไรเลยอย่างน จนมกาษิฅ กล่าวไวว่า ๚บกนเข้ากใม่เท่าหนงคนออก" คังนั้มิใช่หรอ jjgpS WjlpL^--' —- V ^jt-iii^ " : ตำรับยอดเลขา ๑dr อย่าซักคน๓ อย่าสาวคนออก www.kalyanamitra.org
  • 32. จรรยาข้อนี้อธิบายความโดยสรุปคือ การที่เรานำผู้ใดมาค้างแรมที่ บ้านของเจ้านาย ก็ดูให้ดีเสียก่อนว่าเป็นคนไม่มีพิษมีภัย จึงจะนำเข้ามา ได้ถ้าไม่เช่นนั้นจะนำความเดือดร้อนมาให้และก่อนจะพาเข้ามาก็ต้อง ขออนุญาตท่านเสียก่อน อย่าทำไปโดยพลการ ไม่บอกเล่าเก้าสิบ ยิงถ้าเป็นกรณีนำคนเข้ามาอยู่ในบ้านของนายอย่างถาวร ยิ่งต้อง ช่วยกันคัดคนให้ดี อย่าปล่อยให้มีชนักติดหลัง เช่น เคยเป็นนักโทษ หรือ เคยเป็นนักการพนันเข้ามาอยู่ด้วย เพราะอาจนำปัญหามาให้ หรือแม้ ที่สุดเราจะไม่ได้เป็นคนชักนำมา แต่ว่าเขาสมัครใจขอมาอยู่เอง ถ้าเรารู้ ประวัติเขามาว่าเป็นคนไม่ดีก็อย่าไปปิดบังนายต้องเรียนให้ท่านทราบ ไม่เช่นนั้นอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่าง ๆ ได้ ในกรณีที่คน ๆ นั้นอยู่ อาศัยกับนายอยู่แล้ว และเขาเป็นคนดี แต่เกิดต้องการจะลาออกไป ก็ ให้ช่วยทัดทานเอาไว้ ตรงกันข้ามหากเขาเป็นคนไม่ดีแล้ว อยากจะออก ไป ก็ให้ปล่อยไปตามใจเขาอย่ารั้งเอาไว้ แต่ถึงอย่างนั้นก็ตาม ในกรณีที่คนอยู่เดิมจะออกไปก็ควรระวัง อย่าเที่ยวสนับสนุนยุยงเขาสุ่มสี่สุ่มห้าไป เพราะคนบางคนเขาอาจจะ ออกด้วยเหตุผลต่าง ๆ นานา หรือด้วยความน้อยใจใด ๆก็ตามถ้าเรา ไปสนับสนุนเขาเข้าสักวันหนึ่งเขาอาจจะพูดขึ้นได้ว่า ไม่ได้ตั้งใจจะออก เลย แต่เป็นเพราะเราไปชี้แนะให้เขาออก เขาเลยออก ก็จะทำให้เรา เสียคนได้ ในเวลาเดียวกันถ้าเราไม่ชอบใจผู้ใดก็อย่าเที่ยวไปยุยงให้ เขาออกทำให้เขาต้องได้รับความลำบากเป็นการก่อเวรให้แก่เขา ธุเแ?*- -. อย่าช้กคนเข้า อย่าสาวคนออก ©X) ตำรับยอดเลขา ' ร "ร www.kalyanamitra.org
  • 33. สำหรับเรื่องการรับคนเข้าและคัดคนออกนี้ มีข้อมูลที่น่าสนใจคือ ไม่ว่าจะเป็นที่ใดในโลกนี้ เมื่อเวลามีคนเข้าไปสมัครงาน เขาจะตอบเป็น เสียงเดียวก้นว่าเต็มแล้ว แต่เวลาลงมือทำงานกลับบอกว่าคนไม1พอ ที่ เป็นเช่นนี้ เพราะว่าคนที่ไปสมัครงานนั้น หน้าตาท่าทางไม1ค่อยเอางาน เอาการ เขาจึงไม่อยากรับเอาไว'ก็ไม่ใช่โกหกเพราะตำแหน่งสำหรับคน ไม่เอางานเอาการมันไม่มีจริง ๆ ส่วนคนที่หน่วยก้านดี ๆ นั้น เขาไม่ ต้องเดินหางานเลย แต่งานจะมาหาเขาเอง บางคนถูกจองตัวตั้งแต่ยัง เรียนไม่จบด้วยซํ้า ดังนั้น ท่านเงกลาวไว้ว่า "สิบคนเขาก็ไม่เท่าหนึ่งคนออก" คือ คนดี ๆ ของเขาหนึ่งคน ถ้าต้องออกไป แล้วได้คนมีฝึมือธรรมดา ๆ มาแทนตำแหน่งนั้น ๑๐ คนแทนยังไงก็ไม่คุ้ม คนดมีฝึม๊อ รู้ใจกันแล้ว ไวใจได้ ไม่คดโกง เข้านอกออกในรู้ ความเป็นไปทุกอย่างในบ้านหรือในที่ทำงานแล้ว บางทีรู้เรื่องส่วนตัว ส่องเงินทองด้วย แล้วเขาเป็นคนดีมาก ๆด้วยถ้าออกไปก็น่าเสียดาย ที่สุด แต่ถ้าเขาเป็นคนเลว เรารู้เข้าก็ยุนายใหไล่มันออกไปเลย มันคงพา คนมาเผาบ้านแน่ เรื่องแบบนี้ต้องละมุนละม่อม ให้นายเขาจัดการ ตัดสินเอง'จะดีที่สุด อีกกรณีหนึ่ง ถ้าเราเป็นบ่าว เรารู้-ว่าคน ๆ นั้นเป็นคนดีจริง ๆ แล้วเรากลับยุให้เขาไปทำงานที่อื่น เพราะสวัสดิการดีกว่า เงินเดึอน ดีกว่า โอกาสก้าวหน้าก็มากกว่า อย่างนี้เราทำเพื่ออะไร เราเป็นคนที่ ใช!ด้หรือเปล่า ก็ลองคิดด ตำรับยอดเลขา ๑ a อย่าชักคนเข้า อย่าสาวคนออก 'ไJf www.kalyanamitra.org
  • 36. " ร การที่๓ไปอยูที่ใดที่หนึ่งนั้น คุณค่าของเราอยู่ที่มีงานทำเต็มมือ จึงทำประโยชน์ใ^น่วยงานนั้น ๆ ได้เต็มที ถ้าเมื่อใดต้องเอาคนอื่นมาทำแทน แสดงว่าเรานั้นหย่อนสมรรถภาพเสียแล้ว จงอุตส่าห้ทำงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด ISO ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 37. จงอุตส่าห์ทำการงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด การง'านอันใคทประจำf]ยู่ ซึ่งท่านมอบธร':ให้ทํไนั้ใ' จงทำให้สมาเสมอ อย่าให้บกพร่องค้องให้กนเนมาทำแทบ ไปค้วยการเหลวไหลของ เราไม่ระมัดระวังหน้าทํ่ไฅรงจะด เว้นไวัเ,ฅ่เรามึ่การรำเป็นทึ่นาIเ1ชใปธใ iโ1ย่างซ11 ฤๅธุร3 ชองเร ไทรำเป็นบ้างกี่คก้าเมึ่อเช่นนั้นเรากวรฬ้งขอแร : ไหว้วานเพํ่อนบ, ไวด้วยกัน อันกนทึ่กวรจ::กระทำการอย่า ใ นั้นแทนเราไค้ เท้เขาข่วยฟ็งเกราะหเป็นการเอาแรงกัน ทำแทนเรา. . ' ; กนทเขาช่วยทำการแทนชั่วกราว และว่าทนฑก*ไรนั้น ต้องอธิบายเสียหน่อย'ว, าฅ้'องเป็นกนชั้,นเคย1วกับเรา ฤๅเป็น กนทำการงานทํ่ละม้ายกล้ายกรงกับเรากล่าวกึอ เช่น เรา เป็นกนจัด และทำของเกรํ่องทองเงิใ] ฤๅของใด ๆ ทึ่ ละ:เอยดและสำอาง จะไปวานคนทิ่เกยทำของหยาบของเลว เช่น กนลำหรับฅักนา ผ่าหืเใ4 เทกระโถน กวาดชะลา มาทำ แทนไปสมกวร เช่นนเป็นค้น ด้วยเป็นกนเกยทำของหยาบ จะทำให้ของ ๆ ท่าใ4อันฅ1ธานเลยหายชอกขาไป เมอเป็น เข่นนไJ เราก็่ค้องทIผฅค้วย ค้ายรักษาการและทำการไม่ สมกวรแก่หน้าทํ่: . ' ^ : / ตำรับยอดเลขา 1ร๑ จงอุตส่าหทำงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด www.kalyanamitra.org
  • 38. จรรยาข้อนี้สรุปความได้คือ งานประจำในหน้าที่ของเรา อย่าเอา ใครมาทำแทน เราต้องให้ความสำคัญกับหน้าที่ที่เรารับผิดชอบอยู่ ถือ เป็นคุณค่าของตัวเราเอง เพราะว่าการที่เราจะไปอยู่ที่ใดที่หนึ่งนั้น คุณค่าของเราอยู่ตรงที่มีงานทำเต็มมือ จึงทำประโยชน!ห้แก่หน่วยงาน นั้น ๆ ได้เต็มที่ถ้าเมื่อใดเกิดต้องเอาคนอื่นมาทำแทนแสดงว่าเรานั้น หย่อนสมรรถภาพเสียแล้ว คนที่เหมาะสมกว่าซึ่งทำงานได้ย่อมเข้ามา แทนที่เรา เป็นลางบอกเหตุว่าจวนจะโดนไล่ออกแล้ว ดังนั้น งานใน หน้าที่ของเรา อย่าได้ใหใครมาทำแทน เว้นไว้เสียแต่ว่า ๑. เกิดมีงานจรอย่างอื่นที่นายสั่งให้เราไป ทำให้เราต้องละทิ้ง งานประจำ อย่างนี้ก็ต้องมอบหมาย'ให้ผู้อี1นทำแทนไป เป็นการไปชั่วคราว ๒. เป็นธุระส่วนตัวของเราเองจำเป็นต้องไปก็ให้ผู้อื่นมาทำ แทน อย่างไรก็ดี การที่จะหาคนมาทำงานแทนเรานั้น มีข้อแม้อยู่ ๒ ประการ คือ (๑) ต้องเป็นคนที่มีฝึมือระดับเดียวกับเรา จะไปเอาคนฝืมือ ตํ่าก'ว่ามา'ทำแทน คุณภาพของงานก็จะด้อยลง ทำให้ถูกตำหนิติเตียนได้ ดังนั้น เมื่อเราจำเป็นต้องทิ้งงานประจำไปไฝว่าเพราะเหตุใด ก็ควรเลือก หาผู้มาทำแทนที่ สามารถคงคุณภาพของงานของเราไวได้ สำหรับผู้ที่มื ฝืมือสูงกว่านั้น อย่าไปพูดถึง เพราะเขาย่อมมีงานประจำล้นมืออยู่แล้ว จะมาช่วยใครคงทำไมได้ จงอุตส่าห์ทำงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด 1ร>๏ ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 39. (๒) ต้องเป็นคนที่ทำการงานที่ละม้ายคล้ายคลึงกับเราอยู่ คือ เป็นงานชนิดเดียวกัน เช่น งานประเภทต้องการความละเอียดลออ ก็ ย่อมไม'เหมาะกับผู้ที่เคยทำงานหยาบ ๆ เพราะนอกจากจะเสียงานแล้ว อาจจะเสียของด้วย หลวงพ่อเองก็เคยเจอปัญหานี้ในพรรษาแรก ๆ เพราะยังไม่ทันได้ ระวังเรื่องคนทำงานต่างชนิดกัน คือตามปกติจะมีเด็กคนหนึ่งมาช่วย ทำความสะอาดห้องเขียนหนังสือของหลวงพ่อเป็นประจำ พอคนนั้นไม, อยู่จึงเรียกใช้อีกคนหนึ่งซึ่งเคยตัดหญ้าอยู่เป็นประจำมาทำแทนเดี๋ยว เดียวเสียงแจกันบนโต๊ะหมู่บูชาในห้องแตกเพล้งเลย หลวงพ่อเองก็ไม1 ทราบว่าจะโทษใคร ได้แต่ตัดใจ ไม่ได้เข้าไปดู นึกสมนั้าหน้าตัวเองที่ใช้ คนผิด ทั้ง ๆที่รู้อยู่ว่าเขาทำเป็นแต่ตัดหญ้าก็ยังขืนใช้เขาทำงานที่ต้อง ใช้ความละเอียดลออ , ' ร, ตำรับยอดเลขา ไรเo จงอุตส่าห์ทำงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด www.kalyanamitra.org
  • 43. ๖. อย่าเป็นคนเฉื่อยซา อกประ;การหนึ่ง การงานอันใคระ!เป็นราชการก็่ค ระ; เป็นการส่วนตัวสำหรับบ้านก็่ค ซึ่งเป็นกา?ทำคัวยแรมวัน แรมเคอน อันทํ่ท่านมอบธุระ;ให้ทำนั้น เราค้องฅั้งหน้าบุ่ง หมายทำหวังกวามสำเรึ่รรงไค้ เมอขัคข้องคัวยกวามสงสิ'ย หรือไม่รูถึงคัวยอย่างใค ก็่ต้องเรืยนกามเอากวามขัคข้อง นั้น ๆ มากรรทำต่อไปรงไค้ หรือเมํ่อเรามกวามเห็่นอย่างไร ทกวรทถูก กี่นำกวามหาฤๅ'ให้แน่นอนทเคย1ว อย่าเอาไป เก็่บแฉะ!ช้าไว้เสิยไม่ตึ่ เว้นไว้แค่มการด่วนทํ่รำเป็นระ!ต้องทำ ก่อนนั้นม่มา เราจงกวรละ!วางเรองยาววันนั้นไว้พลางก่อน เมึ่อหมคธุระ;การค่วนกึ่ฅั้งหน้าทำไปรนกว่าระ;สำเรึ่ร อย่า กิคหรือท้อถอยกวามอุลาหฅามกำอังเสิย เพราะ;มักจะ;กิค เสิยว่า ไมใช่การเร่งร้อน ละ;เลยไปรนลืม กรั้นฒํ่อท่านต้องการเข้า กึ่เป็นอันไม,แล้วสำเรึ่จออก ระ;มึ่ชุกชุม เราอย่าให้เป็นเช่นนั้นเลย ให้นกว่าเหมึอนเรา เป็นหนั้ท่านอยู่รึงระ;ค การมากมายอย่างไรก็่ค ซึ่งไม่สุค ลามารถมนุษยนั้น ถ้าตั้งใรทำกึ่อารสำเรึ่ร เมํ่อเราปล่อย'ไร ให้เกยฅัวเสิยบ่อย ๆ แล้ว กวามเกยรกร้านห'รอละ;เพร่าก็่ หนาขน เกยตัวเกยใจเข้า?ไเาเสิย กวามพยายามและ! เรฅนาอันคแฅ่เคิมนั้นเสิย <& 1 ' Hp"*V ,1 ตำรับยอดเลขา ไรia อย่าเป็นคนเฉื่อยชา www.kalyanamitra.org
  • 44. การทำงาน อย่าทำลวก ๆ ทำแบบขอไปที เพราะนอกจากจะ ทำให้เสียเครดิตแล้วยังจะกลายเป็นนิสัยติดตัวข้ามภพข้ามชาติไป คน ที่ชอบทำอะไรพอผ่าน ๆ อย่างนั้"เปเกิดอีกกี่ภพกี่ชาติก็ตาม ไมว่าอะไรก็ จะได้พอผ่านๆทั้งๆที่ทำเป็นสารพัดทุกอย่างแต่เอาดีไม่ได้สักอย่าง จัดเป็นพวกมักง่ายประเภทหนึ่ง เรียนหนังสือตั้งแต่ชั้นประถมจน กระทั่งจบมหาวิทยาลัย ไม่เคยได้เกรดเอเลย ได้แค่พอผ่าน ๆ คาบเส้น เกือบตกมาตลอด อย่าง'น!ม่ได้1ความ อย่าไปเป็นก้นทีเดียว เมื่อทำงานไปแล้วเกิดติดขัดขึ้นมา อย่าทิ้งคางไว้ ใพรีบกลับ'ไป ถามผู้รู้หรือผู้บังคับบัญชา เพื่อจะได้สะสางงานต่อไปให้เสร็จ ตอนถาม อาจถูกตำหนิ ถูกดุว่าบ้าง ก็ต้องทนยอมให้ท่านว่ากล่าว เพราะถ้ามัว กลัวเสียหน้าทั้ง ๆที่ไม่รู้ว่าจะแก้ปัญหานั้นได้อย่างไร นอกจากงานจะ ติดขัดแล้วยังอาจทำความเสียหายไปสู่งานส่วนอื่นได้เวลาทำงานให้ นาย ให้นึกว่าเหมือนเราเป็นหนี้ท่านอยู่ จะได้รบเร่งทำให้สำเร็จ ไม่เฉื่อย แฉะ หลวงพ่อเอง เมื่อหลวงพ่อธัมมชโย (เจ้าอาวาส) มอบหมายงาน มาให้ก็ตั้งใจทำอย่างดีจนเสร็จแต่บางครั้งภูมิปัญญาไม่ถึง พอทำไปได้ ครึ่งทางก็พบว่าทางตันเสียแล้วทำต่อไปไม่ได้ต้องเข้าไปถามข้อขัดข้อง กับท่าน ไม่กลัวเสียหน้า ทั้งที่บางทีท่านก็เอ็ดเอาว่าเพียงเท่านี้ทำไมไม่รู้ แล้วท่านก็อธิบาย งานก็ดำเนินต่อไปได้ด้วยดีจนเสร็จ น่าชื่นใจ แสนจะ คุ้มค่า เพราะงานสำเรจเป็นอย่างดี ยังได้รับคำชมเชยอีก แต่ถ้าดันทุรัง ทำไปทั้งที่ไม่รู้ ไม่กล้าถาม เพราะกลัวเสียหน้าก็จะยิงเสียหายไปกันใหญ่ คือ งานก็ไม่สำเร็จ หรือถ้าเสร็จก็เป็นแบบผิดพลาด ไช!ม่ได้ อย่าเป็นคนเฉื่อยชา fee? ตำรับยอดเลขา ' พ;:!?รif*www.kalyanamitra.org
  • 45. คุณยายอาจารย์ (มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง)๑ เตือนหลวงพ่อ ตั้งแต่ยังไม่ได้บวชว่า งาน,ที่ผู้ไหญให้มา1ทำ1นั้นถึงจะเป็นงานหนักเราไม่ เคยทำก็อย่าไปท้อแท้ถ้าไม่หนักหนาสาหัสเกินกำลังจริง ๆ ให้รับเอามา ก่อน แล้วค่อยคิดค่อยทำไป เพราะงานหนักงานยากนั้น มีข้อดีอยู่ ๒ ประการ คือ ๑. เป็นวิธีเค้นเอาความสามารดในตัวเองออกมา คนโดยทั่วไปเมื่อทำงานอะไรก็ตาม พอเหนื่อยเข้าหน่อย ก็จะรู้สึก ว่างานนั้นช่างเกินความสามารถของเราจริง ๆ ทำไม่ไหว ความจริงแล้ว ความสามารถในตัวเรานั้นมีมหาศาลเลย แต่เราเองไม่รู้ตัวกัน หลวงพ่อจะยกตัวอย่างให้ฟัง เรื่องการจัดอบรมพระธรรมทายาท ของที่วัด เมื่ออบรมได้ระยะหนึ่งแล้ว จะให้มีการเดินธุดงค์ สำหรับปีนี้ ฝนตกบ่อยจึงให้รถไปส่งบนเขาใหญ่ไปนังสมาธิทำภาวนาบนเขาอยู่ ครบ ๓ วัน จึงลงมา ขากลับให้เดินเท้าตลอด ใช้เวลาราว ๗ วัน ระยะ ทางประมาณ ๒๐๐ กิโลเมตร พอเดินถึงวัด ทุกคนจะพูดเป็นเสียง เดียวกันว่า โอ้โฮ เพิ่งรู้ตัวว่ายังมีความสามารถเหลืออยู่ในตัวอีกแยะเลย ทั้ง ๆ ที่เมื่อก่อนนี้คิดว่าได้น่าความสามารถของตัวเองมาใช้หมดแล้ว คือเคยทำงานหนักชนิดที่เรียกว่าทุ่มทำจนหมดทุกขุมกำลังแล้วแต่พอ เดินธุดงค์เสร็จจึงรู้ว่าความสามารถในตัวเองนั้นยังมีอยู่อีกมากมาย มีอยู่ปีหนึ่ง หลวงพ่อให้พระธรรมทายาทไปเดินธุดงค์ที่ภูกระดึง พอขึ้นไปถึงยอดภูทำท่าเหนื่อยเหมือนจะตายให้ได้พอหลวงพ่อถาม "ผูให้กำเนิดวัดพระธรรมกายต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ตำรับยอดเลขา อย่าเป็นคนเฉึ่อยชา www.kalyanamitra.org
  • 46. ท่านว่า เดินต่ออีกสัก ๑ กิโลเมตร จะได้หรือไม่ ท่านก็บอกว่าไม่ไหว อยากจะนอนอยู่ตรงนั้นเองก้าวขาไม่ออกแล้วชวนเท่าไร ๆ ก็บอกว่า ไม่ไหว จนกระทั่งหลวงพ่อแกล้งพูด "เอ๊ะนั่นงูใช่ไหม?" เท่านั้นแหละ กระโดดผางเลยมีเรี่ยวแรงขึ้นมาอีกนี่ถ้าบอกว่าช้างมาคงวิ่งต่อไปได้ อีกเป็นกิโลฯที่เป็นเช่นนี้เพราะคนเราส่วนมากเวลาเหนื่อยเข้าหน่อย ก็ คิดว่าช่างลำบากยากเย็นเกินความสามารถเสียแล้ว แต่ที่แท่ไม่เป็น ความจริงเลย เพราะถ้าไปโดนงานหนัก ๆ ยาก ๆ เข้า จะพบว่าเมื่อใช้ ความเพียรฝาฟันอปสรรคต่าง ๆ ไปได้แล้ว ก็ไม1มีอะไรเกินความ สามารถของเรา ดังนั้น ความหนัก ความยากลำบากจึงเป็นเครื่องมือสำหรับเค้น ความสามารถของเรา ใครที่รักจะหาความก้าวหน้าในชีวิต ทุกครั้งที่ถูก คุณพ่อคุณแม่ หรือผู้'บังคับบัญชาใช้ให้ท่างานยากงานหนัก อย่าท้อแท้ ไม่รับงาน หรือรับแล้วส่งคืนเด็ดขาด ให้กัดฟันท่าไป ถ้าติดขัดอะไรให้ ถามท่าน งานก็จะสำเร็จลุล่วงไปได้ ๒. เป็นวิธีทีเจ้านายใชิแป็นช่องทางเติมความรู้ความ สามารดให้แก่เราผู้เป็นลูกน้อง การที่แข็งใจรับงานหนักงานยากที่ผู้'บังคับบัญชามอบให้ นับว่า เป็นต้นทางแห่งความเจริญของเราเอง เพราะก่อนที่ผู้บังคับบัญชาจะใช้ ใครทำอะไรท่านย่อมสังเกตหน่วยก้านไว้แล้วจึงมอบงานหนัก ๆ ยาก ๆ ให้ทำจริง ๆ แล้วเขาตั้งใจฝึกเราขึ้นมาเพื่อให้งานเสร็จสิ้นอย่างดี เราจึง จ อย่าเป็นคนเฉื่อยชา 0 ๐ ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 47. ได้รับความรู้และมีความสามารถพิเศษที่ผู้อื่น ซึ่งไม่เคยถูกใช้ให้ทำงาน หนักไม่มี อย่างนี้ถ้าพูดภาษาพระก็เรียกว่าครูบาอาจารย์ให้งานยากๆ มา เพื่อเป็นการเติมบุญให้ ดังนั้น ถ้าอยากได้บุญละก็ อย่าไปปฏิเสธงาน ยาก เพราะเมื่อเราทำไปแล้วถ้าครูบาอาจารย์เขาเห็นว่าไม่ไหวเขาก็จะ เติมบุญคือสอนให้จนทำได้เพราะฉะนั้น เมื่อมีปัญหาในการทำงาน ถ้า หากว่าแก!ขได้ก็ให้แกไป แต่ถ้าแกไม่ได้ให้ไปหาครูบาอาจารย์ ท่านจะชี้ ทางให้เป็นช่อง ๆ เราทำตามไปก็แล้วกัน เพราะนั่นเป็นการให้ความ สามารถ เป็นการเติมบุญให้เรา ในทางโลกก็เช่นกัน เมื่อผู้บังคับบัญชาให้งานมา แม้จะยากก็ให้ กัดฟันรับเอาไว้ค่อยๆทำไปแล้วความสามารถในตัวจะถูกเค้นออก มาเองถ้าสุดความสามารถจริงๆ ท่านก็จะหาวิธีช่วยเราในที่สุด ตำรับยอดเลขา (ท๑ อย่าเป็นคนเฉื่อยชา www.kalyanamitra.org
  • 49. ๗ อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ • ไ > . ' " -:รุP1* ตำรับยอดเลขา อย่บ้านท่านอย่าดูดายฯ www.kalyanamitra.org
  • 51. ฝ. อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ นี่ท่านเขียนยอจากคำพังเพยประโยคเต็ม ๆ ว่า "อยู่บ้านท่านอย่า นิ่งดูดาย ปันวัวปันควายให้ลูกท่านเล่น..." ที่จริง วัว ควาย อะไรจะปัน ให้เล่นfitม,มีห'รอก เป็นแต่คำเปรียบเทียบ ตามเจตนาที่กล่าวก็มี ความหมายว่า ไม'ให้เกียจคร้าน และเพิกเฉยในกิจการบ้านเรือน ของนายนั่นเอง ความโดยละเอียดท่านบรรยายไว้ว่า I อกประ:การหนึ่ง เช่น กำบุราณท่านว่า "อยู่บ้านห่าน อย'าตูคาย ปีนวัวปีนกวาย'ให้ถูกท่•ไนเล่น" เข'ใ414เป็1Jฅ้ใJกี่ กๆรจะ;รฦกและกรรทำ ที่'จริงวัวกวายอะไร'จะ;ปีนให้เล่นก็่ หาไม'คอก เป็นแต่กำเปรยบเคยบ ความเจฅนาทิ่กล่าวก็่ หมายกวามว่าไมให้เกยรกร้าน และเพิกเฉยในกิจการบ้าน เรอใrของนายนั้นเอง I แรเพ เพร าะฉะนัน เรากวรต้องมกว•ไม เพยร หมัไ4คูแลทำ กีจการงานของทำนว่าจะลกปรกรกรานอยู่อย่างไร ศวรทำ ต้องทำ และ:ถํ่งใคจะอันฅรายห้วย•ลน'นๆ ต้องระวังต้องกิfI ต้องทํ ไ ฤๆว่าเจ้าหน้าทิ่เ'ขาม ถ้าหากว่าจะเสียถงกึ่ต้องทํไ และบ้องกน ฤๆตักเตือนแก่เจ้าหน้าทิ่ อย่าเพิกเฉยเลยละ จะกิคว่าไมใช่หน้าที่นั้นไม่กวร และล่งชองสันใคที่แหลมกม กฅขวางทางอยู่ ฤๅจะฅกหล่นทลุคหกมาถูกท่ไน ลูกท่าน I I I1!II1 J ตำรับยอดเลขา อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ www.kalyanamitra.org
  • 52. หลานท่าน ฤๅใครๆ กฅ เราต้องกิดป้'องกันและเกี่บแอบ 1ห้พ้14อันคราย ค้วยถูกหลานท่านเป็นเฅ็่ก ปราศจาทลฅิ ระวังตัว จะถูกต้องเข้าเป็นอันตรายเช่นนั้เป็นต้น เราต้อง ระมัคระวัง คูแลค้ๆยจึงจะคึ่ อ1ไข้อหนึ่4มชกชุมนิ'โ1ที่ปราศจาก11ติหรือหนักปาก กล่าวกึอกนหนํ่ 3ฤๅหล ไยกนก็่คเดินไปข้างหน้า '1,, เยืนอยู่ ใม่รู้สืกร'ะวังฅนที่ เดินใปข้างหลง ถอของที่หลุคล้มพลัด แพลงฅกหล่นไค้ง่าย ไม่บอกกล' ไวกนข้ไงหน้าให้!?โว เ'ะา วัคเหวยงฤๅหันเหมาถูกเช้าให้ของนั้นอันฅรายเส์ยหายไป เข่าJนิ้ ก็่ เป็นกวามผิดคคไม่รอบคอLIอันไ1iศมกๆร ๆ ต14จะ ขอกกล่าวกนข้างทน้า แล'ะ:กนที่ยืน*นั้น1ห'ทู้'สิกตัวๆ'า เรายก และถือของมา เขาจะไค้ทถึกหลบ และคนที่ๆVIเห่วํ่ยงท้น เห มาถูกเข้านั้น กี่มกๆามผีดน้างเทมือใ4กันที่มลติเนลอ แค่นอยกๆ''ไผูกอของ เพราะที่J]•ไข้า-.1ทลังเขา ๆ ใม'เหน เพราะฉะนั้น เราจะต้องระวังกๆามผิคฅังน'ทั้ง ๒ อย่างอย่า * ๆ ๘1 •'1 ร-. เหิ11 น m ขนนาง ท/เ ....•••<".. จ เร^รรพ*,.- อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ 0ว«ว ตำรับยอดเลขา www.kalyanamitra.org
  • 53. สำหรับจรรยาข้อที่ ๗ นี้ ท่านบอกไว้ชัด ไม่ให้เกียจคร้านและ เพิกเฉยในกิจการบ้านเรือนไม'ว่าจะไปอยู่บ้านใคร เราอยู่กับใครก็ตาม ขอให้ทำเหมือนกับว่าเป็นเจ้าของบ้านไม่ใช่เพียงผู้อาศัย ถ้าอยู่วัด เช้าขึ้นมาก็ควรออกตรวจวัด หลวงพ่อเองทำอยู่เสมอ ดูแลว่าตรงไหนรกก็ช่วยกันเก็บเสียให้เรียบ'เอย ไม่นิ่งดูดาย เห็นสิ่งที่ จะเป็นอันตรายต่าง ๆก็ให้ช่วยดูเป็นหูเป็นตาให้ด้วยเช่น เห็น'กิ่ง,ไมJ ระสายไฟอยู่ ถ้าขืนปล่อยให้เป็นอย่างนี้อีกหน่อยสายไฟจะถลอกถึง ลวดทองแดง ไฟจะช็อตได้ หรือเห็นสิ่งที่ทำให้ภาพพจน์ของวัดเสีย เช่น มีหนุ่มสาวมานั่งจีบกันตามพุ่มไม้เตี้ย ๆ ก็ควรหาวิธีขอร้องเขาอย่าง นุ่มนวล ระเบียบของวัดมีเขียนไว้ ขอให้เขาช่วยกันรักษา พูดดี ๆ อย่า ใให้เ,ขา'โกรธ เขาอาย เรื่องนิสัยรักความสะอาดและไม่นิ่งดูดายนี้ เป็นเรึ่องที่ต้องฝึกฝน ให้เมีขึ้น เมื่อตอนที่หลวงพ่อเรียนอยู่ขั้นมัธยมปลาย ชอบเรียนวิชาอยู่ยง คงกระพันรูดโซ่ลุยไฟมีอาจารย์ท่านหนึ่งมีชื่อทางวิชาเหล่านี้ท่าน ทราบว่าหลวงพ่อชอบจึงเรียกไปสอนคาถาให้ (ปัจจุบันหลวงพ่อทิ้งวิชา ไสยเวทย์ไปหมดแล้วอย่างเด็ดขาด ตั้งแต่ก่อนบวช เพราะเป็นเดรัจฉาน วิชา ไม่ใช่ธรรมะของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า) อย่างไรก็ตามสำหรับผู้จะเรียนวิชานี้!ด้ท่านมีข้อแม้อยู่ว่าไม่ว่า จะเดินทางไปไหนมาไหน ไม่ว่าจะรีบเร่งอย่างไรก็ตาม หากเจอหนาม กระเบื้อง เศษแก้ว ฯลฯที่อาจบาดเท้าผู้คนได้ก็ให้เราหยุดเก็บเสียให้ หมดก่อนข้อนี้เพราะคนในสมัยก่อนไม่มีรองเท้าใส่กัน ยกเว้นแต่คนที่ ตำรับยอดเลขา Iะวฅ? อยู่บ้านท่านอย่าดูดายฯ www.kalyanamitra.org