SlideShare a Scribd company logo
(5)
ชื่อวิทยานิพนธ์ สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมศึกษา จังหวัดสตูล: ตัวแบบสมการ
โครงสร้างและการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนระหว่างโรงเรียนของรัฐกับ
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ผู้เขียน นายหมัดเฟาซี รูบามา
สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
ปี การศึกษา 2556
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบระดับสมรรถนะการปฏิบัติงาน
ของครูมัธยมในจังหวัดสตูล 2) ตรวจสอบความกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะ
ในการปฏิบัติงานและ 3) ทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน (Invariance Model) ของตัวแบบสมการ
โครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมศึกษาระหว่างโรงเรียนของรัฐบาลและโรงเรียน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา โดยแบ่งเป็น 2
กลุ่ม ได้แก่ 1) ครูในโรงเรียนของรัฐ จานวน 300 คน 2) ครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
จานวน 300 คน โดยใช้การสุ่มอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดย
ใช้เทคนิคการวิเคราะห์โมเดลสมการเชิงเส้น และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลด้วย
เทคนิคการวิเคราะห์โมเดลกลุ่มพหุ โดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า
1. ระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมในโรงเรียนของรัฐมีค่าเฉลี่ยสูงกว่า
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยโรงเรียนของรัฐมี
ค่าเฉลี่ยสูงกว่าโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 3.91 และ 3.52
ตามลาดับ
2. โมเดลที่สร้างขึ้นหลังปรับโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ คือ
2
(df = 131) = 363.56, p-value = 0.00, 2
/df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95,
AGFI = 0.90, CFI = 0.99, NFI = 0.99 และ SRMR = 0.036 และเมื่อพิจารณาสมรรถนะการ
ปฏิบัติงานของครูมัธยมศึกษา จังหวัดสตูล พบว่า ตัวแปรสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู มี
สัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 69 โดยได้รับอิทธิพลรวมสูงสุดจากตัว
แปรวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ (TE = 0.75) รองลงมาคือ วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้ อง (TE
= 0.06) ที่ได้รับอิทธิพลทั้งทางตรงทางบวก (DE = 0.85) และทางอ้อมทางลบ (IE = -0.79)
และได้รับอิทธิพลทางอ้อมทางลบ (IE = -0.01) จากวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้ อง (TE = -
0.01) ตามลาดับ ส่วนตัวแปรขวัญและกาลังใจถึงแม้มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐาน
ทางตรงทางลบต่อสมรรถนะการปฏิบัติงาน (DE = -0.82) แต่ก็มีผลต่อโมเดลโดยรวม
(5)
นอกจากนี้ตัวแปรขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงาน มีสัดส่วนของความแปรปรวนที่
อธิบายได้ประมาณร้อยละ 92 โดยได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-
ปกป้อง (DE = 0.96) กับวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (DE = 0.01)
3. ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยม
พบว่าโมเดลมีความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายเส้นพบว่ามี
เส้นทางอิทธิพลจานวน 4 เส้นที่แตกต่างกัน ได้แก่ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-
ปกป้องที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อ
สมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตัวแปรจากวัฒนธรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการ
ปฏิบัติงาน และตัวแปรขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
(7)
Thesis Title Performance Competency of Secondary School Teachers in Satun
Province: A Structural Equation Modeling and Invariance Testing
between Public Schools and Islamic Private Schools
Author Mister Madpouzee Rubama
Major Program Public Administration
Academic Year 2013
ABSTRACT
This study aimed to investigate 1) to compare the competency level of
performance of secondary school teachers in Satun, 2) to check the fit of a structural
equation modeling the performance competency and 3) to test the invariability of a
structural equation modeling of competency of secondary school teachers in Satun province
of Public schools and Islamic private schools. The subjects of study were secondary school
teachers. The subjects were divided into two groups: 1) 300 teachers working for the
Public schools; and 2) 300 teachers working for the Islamic private schools. The subjects
were selected with simple random sampling method. The data were collected through a
questionnaire. The data were analyzed by using linear regression analysis model and to
testing the invariability of the model with multiple group analysis models using LISREL.
The research showed that:
1. The competency levels of performance of secondary school teachers in
the Public schools were higher than the Islamic teaching private schools with statistical
significance at the .001 level by Public schools were higher than the Islamic private schools
at 3.91 and 3.52, respectively.
2. The model was consistent with the empirical data at 2
(df = 131) =
363.56, p-value = 0.00, 2
/df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95, AGFI = 0.90, CFI =
0.99, NFI = 0.99 and SRMR = 0.03 and considering the performance competency of
secondary school teachers of Satun province, the performance competency variable of
teachers. The proportion of variance explained approximately 69 percent influenced by the
total of the constructive culture variable (TE = 0.75), followed by aggressive-defensive
culture (TE = 0.06) influenced both directly positive (DE = 0.85) and indirect negative
(IE = -0.79) and a negative indirect effects (IE = -0.01) of passive-defensive culture
(5)
(TE = -0.01), respectively. Although the motive variable coefficient standard direct
negative influence on performance practice (DE = -0.82), but it affects the overall model.
The motive of operational variables The proportion of variance explained by
92 percent by the direct effects of variant aggressive-defensive culture (DE = 0.96) with
the passive-defensive culture (DE = 0.01).
3. The result of the effects models to testing the invariability of the
performance competency of secondary school teachers was found that the model has the
rainstorms with statistical significance at the .05 level; considering the four lines showed
the influence of the different variables that affect the aggressive-defensive culture variables
affecting the motive, aggressive-defensive culture variables that affects performance
competency, constructive culture variables that affecting the performance competency and
motive variables that affects performance competency.
(5)
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้นั้น ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ ดร.ชาลี ไตรจันทร์
ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะที่เป็น
ประโยชน์เพื่อการปรับปรุงแก้ไขวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ให้เหมาะสม มีความถูกต้องสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ขอขอบคุณบุคลากรและคณาจารย์ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ทุกท่านที่ได้
ประสิทธิ์ประสาทความรู้ บุคลากรประจาภาควิชาทุกท่านที่ให้คาแนะนาและให้ความช่วยเหลือใน
การดาเนินการต่างๆ อย่างดียิ่ง ตลอดจนเพื่อนๆ นักศึกษารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตทุก
คนที่คอยให้กาลังใจ ให้ความช่วยเหลือและกระตุ้นให้เกิดความพยายามในการแก้ไขปัญหาที่เป็น
อุปสรรคต่างๆ
ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่และบุคลากรทั้งในโรงเรียนของรัฐและโรงเรียนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลาม ที่ให้ความช่วยเหลือประสานงานในการแจกจ่ายและเก็บรวบรวมแบบสอบถาม
ให้แก่ผู้วิจัย และขอขอบคุณครูทุกท่านที่กรุณาสละเวลาในการตอบแบบสอบถามให้แก่ผู้วิจัย
สุดท้ายขอขอบคุณ พ่อ แม่ พี่และน้องทุกคน รวมทั้งญาติๆ และบุคคลรอบข้าง
ทุกคนที่คอยช่วยเหลือ ให้กาลังใจ และให้การสนับสนุนในเรื่องต่างๆ แก่ผู้วิจัยด้วยดีเสมอมา
และเข้าใจในสิ่งที่เป็นอุปสรรคที่เกิดขึ้น ระหว่างการทาวิจัย จนทาให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลงได้
อย่างสมบูรณ์ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ด้วย
หมัดเฟาซี รูบามา
(55)
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ (5)
ABSTRACT (7)
กิตติกรรมประกาศ (9)
สารบัญ (10)
รายการตาราง (12)
รายการภาพประกอบ (14)
บทที่
1 บทนา 1
ความสาคัญและความเป็นมา 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 8
สมมุติฐานการวิจัย 8
ผลที่คาดว่าจะได้รับและประโยชน์ของการวิจัย 9
ขอบเขตของการวิจัย 9
นิยามศัพท์เฉพาะ 10
กรอบแนวคิดในการวิจัย 16
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 19
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงาน
วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
ขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
แนวคิดเกี่ยวกับการเปรียบเทียบสมรรถนะ
20
51
52
74
95
3
4
วิธีการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
104
104
106
113
114
117
117
119
(55)
บทที่
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
5
ผลการเปรียบเทียบระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู
ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น
ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน
สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย
การอภิปรายผลการวิจัย
ข้อเสนอแนะ
128
132
138
146
146
148
169
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
173
203
1 แบบสอบถามการวิจัย
2 รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
205
222
3 ผลการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม
4 คาสั่งและผลการวิเคราะห์หลังจากปรับแบบจาลอง
224
238
ประวัติผู้เขียน 281
(55)
รายการตาราง
ตาราง หน้า
1 องค์ประกอบของขวัญและกาลังใจ 88
2
3
องค์ประกอบของขวัญและกาลังใจ (2)
จานวนครูโรงเรียนของรัฐบาล สังกัดสานักเขตพื้นที่มัธยมศึกษาที่ 16
93
105
4
5
6
7
8
จานวนครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน
จังหวัดสตูล
ค่าอานาจจาแนกและค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดที่ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ
ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและค่าความเชื่อมั่น
ดัชนีและเกณฑ์การประเมินความกลมกลืนของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์
105
108
111
111
115
9 จานวนและร้อยละของข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง 120
10 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง และค่าสถิติไคสแควร์ของ
ตัวแปรสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมศึกษาในจังหวัดสตูลหลังปรับโมเดล 121
11 แสดงค่าเมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในการทานายของตัวแปรพยากรณ์
สมรรถนะในการปฏิบัติงานระหว่างโรงเรียนของรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม 125
12 แสดงค่าเมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในการทานายของตัวแปรพยากรณ์
สมรรถนะในการปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดของรัฐบาล 126
13 แสดงค่าเมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในการทานายของตัวแปรพยากรณ์
สมรรถนะในการปฏิบัติงานในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 127
14 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสมรรถนะในการปฏิบัติงานของตัวแปรระหว่าง
โรงเรียนของรัฐ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 128
15 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรทานาย (เพิ่มเติม) ระหว่างโรงเรียนของ
รัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 128
16 ดัชนีวัดความกลมกลืนของโมเดลก่อนปรับและโมเดลหลังปรับ 133
17 การประเมินความสอดคล้องของโมเดลวัดตัวแปรแฝงในโมเดลสมการโครงสร้าง 135
18 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานของตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีต่อตัวแปรผลของตัวแบบ
สมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยม หลังการปรับโมเดล 137
19 ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลการวัดตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติ
งานของครูมัธยมศึกษาระหว่างโรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา
อิสลาม 139
(55)
ตาราง
รายการตาราง (ต่อ)
หน้า
20 ผลการประมาณค่าความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู
มัธยมศึกษาระหว่างโรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 140
21 การทดสอบเส้นทางอิทธิพลภายในโมเดลทีละเส้นทางอิทธิพล 140
22 เปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานระหว่างโรงเรียนของรัฐกับ
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 141
23 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานของตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีต่อตัวแปรผล
ของตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมในโรงเรียนของรัฐ 143
24 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานของตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีต่อตัวแปรผล
ของตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมในโรงเรียนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลาม 145
(55)
รายการภาพประกอบ
ภาพประกอบ หน้า
1
2
กรอบแนวคิดสมมติฐานในการวิจัยสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู
แบบจาลองสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู
17
17
3 องค์ประกอบของสมรรถนะในการปฏิบัติงาน 26
4 รูปแบบการสร้างและการพัฒนาการออกแบบการเรียนรู้หรือหลักสูตรของ
ไทเลอร์ 35
5
6
การสังเคราะห์องค์ประกอบของวัฒนธรรมองค์การ
กระบวนการจูงใจ เพื่อให้บรรลุความคาดหวังของตัวบุคคลและองค์การ
64
76
7 ความสัมพันธ์ของการเปรียบเทียบสมรรถนะ 97
8 ขั้นตอนในการเปรียบเทียบสมรรถนะ 100
9 แบบจาลองสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูก่อนปรับโมเดล 134
10
11
12
แบบจาลองสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูหลังปรับโมเดล
ตัวแบบสมรรถนะของครูในโรงเรียนของรัฐบาล
ตัวแบบสมรรถนะของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
134
143
144

More Related Content

Viewers also liked

บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlpanida428
 
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551สปสช นครสวรรค์
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Nathdar Destiny
 
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
Utai Sukviwatsirikul
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Mayko Chan
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศkasetpcc
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศkand-2539
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPanatda Maraphong
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 

Viewers also liked (17)

บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
 
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล) ปี 2551
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
A STUDY OF DRUG SUPPLY CHAIN MANAGEMENT SYSTEM BETWEEN PUBLIC AND PRIVATE HOS...
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัย
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 

Similar to Performance Competency Modeling

ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
ruathai
 
3
33
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
Madpouzee Rubama
 
บทความวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีม
บทความวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีมบทความวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีม
บทความวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีม
Kanitta Fon
 
Paper tci 3
Paper tci 3Paper tci 3
Paper tci 3
Benjarat Hongjui
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
luanrit
 
A3
A3A3
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
Plan
PlanPlan
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อkrupornpana55
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
JeeraJaree Srithai
 
2
22

Similar to Performance Competency Modeling (17)

T1
T1T1
T1
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
3
33
3
 
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
 
บทความวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีม
บทความวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีมบทความวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีม
บทความวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีม
 
9บทที่5
9บทที่5 9บทที่5
9บทที่5
 
Paper tci 3
Paper tci 3Paper tci 3
Paper tci 3
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
A3
A3A3
A3
 
T4
T4T4
T4
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
 
2
22
2
 

More from Madpouzee Rubama

Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Madpouzee Rubama
 
Processding สันติภาพ มอ.60
Processding สันติภาพ มอ.60Processding สันติภาพ มอ.60
Processding สันติภาพ มอ.60
Madpouzee Rubama
 
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395Madpouzee Rubama
 
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394Madpouzee Rubama
 
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393Madpouzee Rubama
 
Performance Competency Model
Performance Competency ModelPerformance Competency Model
Performance Competency Model
Madpouzee Rubama
 

More from Madpouzee Rubama (6)

Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
 
Processding สันติภาพ มอ.60
Processding สันติภาพ มอ.60Processding สันติภาพ มอ.60
Processding สันติภาพ มอ.60
 
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
 
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
 
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
 
Performance Competency Model
Performance Competency ModelPerformance Competency Model
Performance Competency Model
 

Performance Competency Modeling

  • 1. (5) ชื่อวิทยานิพนธ์ สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมศึกษา จังหวัดสตูล: ตัวแบบสมการ โครงสร้างและการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนระหว่างโรงเรียนของรัฐกับ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผู้เขียน นายหมัดเฟาซี รูบามา สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ ปี การศึกษา 2556 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบระดับสมรรถนะการปฏิบัติงาน ของครูมัธยมในจังหวัดสตูล 2) ตรวจสอบความกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานและ 3) ทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน (Invariance Model) ของตัวแบบสมการ โครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมศึกษาระหว่างโรงเรียนของรัฐบาลและโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ครูในโรงเรียนของรัฐ จานวน 300 คน 2) ครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จานวน 300 คน โดยใช้การสุ่มอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้เทคนิคการวิเคราะห์โมเดลสมการเชิงเส้น และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลด้วย เทคนิคการวิเคราะห์โมเดลกลุ่มพหุ โดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1. ระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมในโรงเรียนของรัฐมีค่าเฉลี่ยสูงกว่า โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยโรงเรียนของรัฐมี ค่าเฉลี่ยสูงกว่าโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 3.91 และ 3.52 ตามลาดับ 2. โมเดลที่สร้างขึ้นหลังปรับโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ คือ 2 (df = 131) = 363.56, p-value = 0.00, 2 /df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95, AGFI = 0.90, CFI = 0.99, NFI = 0.99 และ SRMR = 0.036 และเมื่อพิจารณาสมรรถนะการ ปฏิบัติงานของครูมัธยมศึกษา จังหวัดสตูล พบว่า ตัวแปรสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู มี สัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 69 โดยได้รับอิทธิพลรวมสูงสุดจากตัว แปรวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ (TE = 0.75) รองลงมาคือ วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้ อง (TE = 0.06) ที่ได้รับอิทธิพลทั้งทางตรงทางบวก (DE = 0.85) และทางอ้อมทางลบ (IE = -0.79) และได้รับอิทธิพลทางอ้อมทางลบ (IE = -0.01) จากวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้ อง (TE = - 0.01) ตามลาดับ ส่วนตัวแปรขวัญและกาลังใจถึงแม้มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐาน ทางตรงทางลบต่อสมรรถนะการปฏิบัติงาน (DE = -0.82) แต่ก็มีผลต่อโมเดลโดยรวม
  • 2. (5) นอกจากนี้ตัวแปรขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงาน มีสัดส่วนของความแปรปรวนที่ อธิบายได้ประมาณร้อยละ 92 โดยได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบเชิงรุก- ปกป้อง (DE = 0.96) กับวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (DE = 0.01) 3. ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยม พบว่าโมเดลมีความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายเส้นพบว่ามี เส้นทางอิทธิพลจานวน 4 เส้นที่แตกต่างกัน ได้แก่ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก- ปกป้องที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อ สมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตัวแปรจากวัฒนธรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน และตัวแปรขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
  • 3. (7) Thesis Title Performance Competency of Secondary School Teachers in Satun Province: A Structural Equation Modeling and Invariance Testing between Public Schools and Islamic Private Schools Author Mister Madpouzee Rubama Major Program Public Administration Academic Year 2013 ABSTRACT This study aimed to investigate 1) to compare the competency level of performance of secondary school teachers in Satun, 2) to check the fit of a structural equation modeling the performance competency and 3) to test the invariability of a structural equation modeling of competency of secondary school teachers in Satun province of Public schools and Islamic private schools. The subjects of study were secondary school teachers. The subjects were divided into two groups: 1) 300 teachers working for the Public schools; and 2) 300 teachers working for the Islamic private schools. The subjects were selected with simple random sampling method. The data were collected through a questionnaire. The data were analyzed by using linear regression analysis model and to testing the invariability of the model with multiple group analysis models using LISREL. The research showed that: 1. The competency levels of performance of secondary school teachers in the Public schools were higher than the Islamic teaching private schools with statistical significance at the .001 level by Public schools were higher than the Islamic private schools at 3.91 and 3.52, respectively. 2. The model was consistent with the empirical data at 2 (df = 131) = 363.56, p-value = 0.00, 2 /df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95, AGFI = 0.90, CFI = 0.99, NFI = 0.99 and SRMR = 0.03 and considering the performance competency of secondary school teachers of Satun province, the performance competency variable of teachers. The proportion of variance explained approximately 69 percent influenced by the total of the constructive culture variable (TE = 0.75), followed by aggressive-defensive culture (TE = 0.06) influenced both directly positive (DE = 0.85) and indirect negative (IE = -0.79) and a negative indirect effects (IE = -0.01) of passive-defensive culture
  • 4. (5) (TE = -0.01), respectively. Although the motive variable coefficient standard direct negative influence on performance practice (DE = -0.82), but it affects the overall model. The motive of operational variables The proportion of variance explained by 92 percent by the direct effects of variant aggressive-defensive culture (DE = 0.96) with the passive-defensive culture (DE = 0.01). 3. The result of the effects models to testing the invariability of the performance competency of secondary school teachers was found that the model has the rainstorms with statistical significance at the .05 level; considering the four lines showed the influence of the different variables that affect the aggressive-defensive culture variables affecting the motive, aggressive-defensive culture variables that affects performance competency, constructive culture variables that affecting the performance competency and motive variables that affects performance competency.
  • 5. (5) กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้นั้น ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ ดร.ชาลี ไตรจันทร์ ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์เพื่อการปรับปรุงแก้ไขวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ให้เหมาะสม มีความถูกต้องสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ขอขอบคุณบุคลากรและคณาจารย์ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ทุกท่านที่ได้ ประสิทธิ์ประสาทความรู้ บุคลากรประจาภาควิชาทุกท่านที่ให้คาแนะนาและให้ความช่วยเหลือใน การดาเนินการต่างๆ อย่างดียิ่ง ตลอดจนเพื่อนๆ นักศึกษารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตทุก คนที่คอยให้กาลังใจ ให้ความช่วยเหลือและกระตุ้นให้เกิดความพยายามในการแก้ไขปัญหาที่เป็น อุปสรรคต่างๆ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่และบุคลากรทั้งในโรงเรียนของรัฐและโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม ที่ให้ความช่วยเหลือประสานงานในการแจกจ่ายและเก็บรวบรวมแบบสอบถาม ให้แก่ผู้วิจัย และขอขอบคุณครูทุกท่านที่กรุณาสละเวลาในการตอบแบบสอบถามให้แก่ผู้วิจัย สุดท้ายขอขอบคุณ พ่อ แม่ พี่และน้องทุกคน รวมทั้งญาติๆ และบุคคลรอบข้าง ทุกคนที่คอยช่วยเหลือ ให้กาลังใจ และให้การสนับสนุนในเรื่องต่างๆ แก่ผู้วิจัยด้วยดีเสมอมา และเข้าใจในสิ่งที่เป็นอุปสรรคที่เกิดขึ้น ระหว่างการทาวิจัย จนทาให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลงได้ อย่างสมบูรณ์ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ด้วย หมัดเฟาซี รูบามา
  • 6. (55) สารบัญ หน้า บทคัดย่อ (5) ABSTRACT (7) กิตติกรรมประกาศ (9) สารบัญ (10) รายการตาราง (12) รายการภาพประกอบ (14) บทที่ 1 บทนา 1 ความสาคัญและความเป็นมา 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 8 สมมุติฐานการวิจัย 8 ผลที่คาดว่าจะได้รับและประโยชน์ของการวิจัย 9 ขอบเขตของการวิจัย 9 นิยามศัพท์เฉพาะ 10 กรอบแนวคิดในการวิจัย 16 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 19 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสมรรถนะในการปฏิบัติงาน แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงาน วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน แนวคิดเกี่ยวกับการเปรียบเทียบสมรรถนะ 20 51 52 74 95 3 4 วิธีการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 104 104 106 113 114 117 117 119
  • 7. (55) บทที่ สารบัญ (ต่อ) หน้า 5 ผลการเปรียบเทียบระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ 128 132 138 146 146 148 169 บรรณานุกรม ภาคผนวก 173 203 1 แบบสอบถามการวิจัย 2 รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 205 222 3 ผลการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 4 คาสั่งและผลการวิเคราะห์หลังจากปรับแบบจาลอง 224 238 ประวัติผู้เขียน 281
  • 8. (55) รายการตาราง ตาราง หน้า 1 องค์ประกอบของขวัญและกาลังใจ 88 2 3 องค์ประกอบของขวัญและกาลังใจ (2) จานวนครูโรงเรียนของรัฐบาล สังกัดสานักเขตพื้นที่มัธยมศึกษาที่ 16 93 105 4 5 6 7 8 จานวนครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสตูล ค่าอานาจจาแนกและค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดที่ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและค่าความเชื่อมั่น ดัชนีและเกณฑ์การประเมินความกลมกลืนของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 105 108 111 111 115 9 จานวนและร้อยละของข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง 120 10 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง และค่าสถิติไคสแควร์ของ ตัวแปรสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมศึกษาในจังหวัดสตูลหลังปรับโมเดล 121 11 แสดงค่าเมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในการทานายของตัวแปรพยากรณ์ สมรรถนะในการปฏิบัติงานระหว่างโรงเรียนของรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม 125 12 แสดงค่าเมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในการทานายของตัวแปรพยากรณ์ สมรรถนะในการปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดของรัฐบาล 126 13 แสดงค่าเมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในการทานายของตัวแปรพยากรณ์ สมรรถนะในการปฏิบัติงานในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 127 14 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสมรรถนะในการปฏิบัติงานของตัวแปรระหว่าง โรงเรียนของรัฐ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 128 15 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรทานาย (เพิ่มเติม) ระหว่างโรงเรียนของ รัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 128 16 ดัชนีวัดความกลมกลืนของโมเดลก่อนปรับและโมเดลหลังปรับ 133 17 การประเมินความสอดคล้องของโมเดลวัดตัวแปรแฝงในโมเดลสมการโครงสร้าง 135 18 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานของตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีต่อตัวแปรผลของตัวแบบ สมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยม หลังการปรับโมเดล 137 19 ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลการวัดตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติ งานของครูมัธยมศึกษาระหว่างโรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม 139
  • 9. (55) ตาราง รายการตาราง (ต่อ) หน้า 20 ผลการประมาณค่าความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู มัธยมศึกษาระหว่างโรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 140 21 การทดสอบเส้นทางอิทธิพลภายในโมเดลทีละเส้นทางอิทธิพล 140 22 เปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานระหว่างโรงเรียนของรัฐกับ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 141 23 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานของตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีต่อตัวแปรผล ของตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมในโรงเรียนของรัฐ 143 24 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานของตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีต่อตัวแปรผล ของตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม 145
  • 10. (55) รายการภาพประกอบ ภาพประกอบ หน้า 1 2 กรอบแนวคิดสมมติฐานในการวิจัยสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู แบบจาลองสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู 17 17 3 องค์ประกอบของสมรรถนะในการปฏิบัติงาน 26 4 รูปแบบการสร้างและการพัฒนาการออกแบบการเรียนรู้หรือหลักสูตรของ ไทเลอร์ 35 5 6 การสังเคราะห์องค์ประกอบของวัฒนธรรมองค์การ กระบวนการจูงใจ เพื่อให้บรรลุความคาดหวังของตัวบุคคลและองค์การ 64 76 7 ความสัมพันธ์ของการเปรียบเทียบสมรรถนะ 97 8 ขั้นตอนในการเปรียบเทียบสมรรถนะ 100 9 แบบจาลองสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูก่อนปรับโมเดล 134 10 11 12 แบบจาลองสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูหลังปรับโมเดล ตัวแบบสมรรถนะของครูในโรงเรียนของรัฐบาล ตัวแบบสมรรถนะของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 134 143 144