SlideShare a Scribd company logo
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
                                         พุทธศักราช 2546
                                     ประเภทวิชาอุตสาหกรรม


                                      สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์




                                       กระทรวงศึกษาธิการ
                                               คานา


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อผลิตกาลังคนระดับผู้ชานาญการที่มีความรู้ ความชานาญในวิชาชีพ มีคุณธรรม
วินัย เจตคติ บุคลิกภาพ และเป็นผู้มีปัญญาที่เหมาะสม สามารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ตรงตามความ
ต้องการของตลาดแรงงาน สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชุมชน ระดับท้องถิ่นและ
ระดับชาติ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกระบบและวิธีการเรียนได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพ ความสนใจและ
โอกาสของตน ส่งเสริมการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรร่วมกัน ระหว่าง
สถาบัน หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ ทั้งในระดับชาติ ท้องถิ่นและชุมชน
การพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 สาเร็จลงได้ด้วยความร่วมมืออย่างดียิ่ง
จากหน่วยราชการ สถาบันการศึกษา อาจารย์ผู้สอน ตลอดจนผู้ทรงคุณวุฒิภาคเอกชนโดยเฉพาะ
คณะกรรมการดังรายนามที่ปรากฏ ซึ่งได้อุทิศสติปัญญา ความรู้ ประสบการณ์ ตลอดจนสละเวลามาช่วยงาน
เพือพัฒนาการศึกษาของประเทศชาติเป็นสาคัญ กระทรวงศึกษาธิการจึงขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการ
   ่
ดาเนินการทุกท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้
                                                                         กระทรวงศึกษาธิการ 2546
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
                                            พุทธศักราช 2546
หลักการ
1. เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับผู้ชานาญการเฉพาะสาขาอาชีพ สอดคล้องกับตลาดแรงงาน
สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สามารถเป็นหัวหน้างานหรือเป็นผู้ประกอบการ
ได้
2. เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรู้เต็มภูมิ ปฏิบัติได้จริงและเข้าใจ
ชีวิต
3. เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการวิชาชีพมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนวิชาชีพสามารถถ่ายโอน
ประสบการณ์การเรียนรู้จากสถานประกอบการ และสามารถสะสมการเรียนรู้และประสบการณ์ได้
จุดหมาย
1. เพื่อให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดารงชีวิต สามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมหรือศึกษาต่อในระดับที่
สูงขึ้น
2. เพื่อให้มีทักษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพ
3. เพื่อให้สามารถบูรณาการความรู้ ทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ ประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ สอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพ รักงาน รักองค์กร สามารถทางานเป็น
หมู่คณะได้ดี และมีความภาคภูมิใจในตนเองต่อการเรียนวิชาชีพ
5. เพื่อให้มีปัญญา ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการจัดการ การตัดสินใจและการ
แก้ปัญหา รู้จักแสวงหาแนวทางใหม่ ๆ มาพัฒนาตนเอง ประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างงานให้สอดคล้องกับ
วิชาชีพ และการพัฒนางานอาชีพอย่างต่อเนื่อง
6. เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ มีวินัย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ
เหมาะสมกับการปฏิบัติในอาชีพนั้น ๆ
7. เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ทั้งในการทางาน การอยู่ร่วมกัน มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว
องค์กร ท้องถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อสังคม เข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม ไทย ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ตระหนักในปัญหาและความสาคัญของสิ่งแวดล้อม
8. เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเป็นกาลังสาคัญใน
ด้านการผลิตและให้บริการ
9. เพื่อให้เห็นคุณค่าและดารงไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองดีตาม
ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
                                      หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตร
                           ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
1. การเรียนการสอน
1.1 การเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรียนได้ทุกวิธีเรียนที่กาหนด และนาผลการ
เรียนแต่ละวิธีมาประเมินผลร่วมกันได้ สามารถโอนผลการเรียน และขอเทียบความรู้และประสบการณ์ได้
1.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริง โดยสามารถนารายวิชาไปจัดฝึกในสถานประกอบการ ไม่น้อย
กว่า 1 ภาคเรียน
2. เวลาเรียน
2.1 ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ ให้แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาคเรียนปกติ ภาคเรียนละ 20 สัปดาห์ โดยมีเวลา
เรียนและจานวนหน่วยกิตตามที่กาหนด และสถานศึกษาอาจเปิดสอนภาคเรียนฤดูร้อนได้อีกตามที่เห็นสมควร
ประมาณ 5 สัปดาห์
2.2 การเรียนในระบบชั้นเรียน ให้สถานศึกษาเปิดทาการสอนไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 5 วันคาบละ 60
นาที        (1 ชั่วโมง)
2.3 เวลาเรียนตามปกติ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าใน
ประเภทวิชาและสาขาวิชาที่กาหนด 2 ปี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ
เทียบเท่า ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพต่างประเภทวิชา/สาขาวิชาที่กาหนด ประมาณ 3
ปี
3. หน่วยกิต
ให้มีจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 85 หน่วยกิต และไม่เกิน 100 หน่วยกิตการคิดหน่วยกิตถือ
เกณฑ์ดังนี้
3.1 รายวิชาภาคทฤษฎี 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมงมีค่า 1 หน่วยกิต
3.2 รายวิชาที่ประกอบด้วยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้บูรณาการการเรียนการสอน กาหนด 2-3 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์ ตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า 40 – 60 ชั่วโมง มีค่า 1 หน่วยกิต
3.3 รายวิชาที่นาไปฝึกงานในสถานประกอบการ กาหนดเวลาในการฝึกปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง มีค่า
1 หน่วยกิต
3.4 การฝึกอาชีพในระบบทวิภาคี ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง มีค่า 1 หน่วยกิต
3.5 การทาโครงการให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
4. โครงสร้าง
โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาฝึกงาน และ
กิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังนี้
4.1 หมวดวิชาสามัญ
4.1.1 วิชาสามัญทั่วไป เป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานในการดารงชีวิต
4.1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ เป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานสัมพันธ์กับวิชาชีพ
4.2 หมวดวิชาชีพ แบ่งเป็น
4.2.1 วิชาชีพพื้นฐาน เป็นกลุ่มวิชาชีพสัมพันธ์ที่เป็นพื้นฐานที่จาเป็นในประเภทวิชานั้น ๆ
4.2.2 วิชาชีพสาขาวิชา เป็นกลุ่มวิชาชีพหลักในสาขาวิชานั้น ๆ
4.2.3 วิชาชีพสาขางาน เป็นกลุ่มวิชาชีพที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเฉพาะด้านในงานอาชีพตามความ
ถนัดและความสนใจ
4.2.4 โครงการ
4.3 หมวดวิชาเลือกเสรี
4.4 ฝึกงาน
4.5 กิจกรรมเสริมหลักสูตร
จานวนหน่วยกิตและรายวิชาของแต่ละหมวดวิชาตลอดหลักสูตร ให้เป็นไปตามกาหนดไว้ในโครงสร้างของแต่
ละประเภทวิชาและสาขาวิชา ส่วนรายวิชาแต่ละหมวดวิชา สถานศึกษาสามารจัดตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
หรือจัดตามความเหมาะสมของสภาพท้องถิ่น ทั้งนี้ สถานศึกษาต้องกาหนดรหัสวิชา จานวนคาบเรียนและ
จานวนหน่วยกิต ตามระเบียบที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
5. โครงการ
5.1 สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนจัดทาโครงการในภาคเรียนที่ 4 ไม่น้อยกว่า 160 ชั่วโมงกาหนดให้มีค่า 4
หน่วยกิต
5.2 การตัดสินผลการเรียนและให้ระดับผลการเรียน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับรายวิชาอื่น
6. ฝึกงาน
6.1 ให้สถานศึกษานารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝึกในสถานประกอบการ อย่างน้อย 1 ภาคเรียน
6.2 การตัดสินผลการเรียนและให้ระดับผลการเรียน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับรายวิชาอื่น
7. การเข้าเรียน
ผู้เข้าเรียนต้องมีพื้นความรู้และคุณสมบัติ ดังนี้
7.1 พื้นความรู้
สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า หรือสาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายหรือเทียบเท่าผู้เข้าเรียนที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และผู้สาเร็จ
การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพต่างประเภทวิชาและสาขาวิชาที่กาหนด ต้องเรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน
วิชาชีพให้ครบตามที่ระบุไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชาการเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ
ให้เป็นไปตามข้อกาหนดที่ระบุไว้ในแต่ละสาขาวิชา
7.2 คุณสมบัติ
ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 2546
8. การประเมินผลการเรียน
ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 2546
9. กิจกรรมเสริมหลักสูตร
สถานศึกษาต้องจัดให้มีกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัยของตนเอง การสัมมนา
และการส่งเสริมการทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่มในการทาประโยชน์ต่อชุมชน ทานุบารุงขนบธรรมเนียม
ประเพณีอันดีงาม ซึ่งประกอบด้วยการวางแผน ลงมือปฏิบัติประเมินผล และปรับปรุงการทางาน ไม่น้อยกว่า
120 ชั่วโมง
10. การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
10.1 ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาสามัญ หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้
ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา
10.2 ได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบตามโครงสร้างของหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา
10.3 ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00
10.4 เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรและผ่านการประเมินตามที่กาหนด
10.5 ประเมินผ่านมาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชา
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

More Related Content

What's hot

หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551Panlop
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
สรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครูสรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครูNuttapol Boonpila
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558pakpoom khangtomnium
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์Suphot Chaichana
 

What's hot (15)

Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
ประกาศผลครูทูป 56
ประกาศผลครูทูป 56ประกาศผลครูทูป 56
ประกาศผลครูทูป 56
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
สรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครูสรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครู
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
ใบสมัครวิชาเอกคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Resume af KS Jysk Detail, Rema1000 Ikast - Udbudt af Blue Capital A/S
Resume af KS Jysk Detail, Rema1000 Ikast - Udbudt af Blue Capital A/SResume af KS Jysk Detail, Rema1000 Ikast - Udbudt af Blue Capital A/S
Resume af KS Jysk Detail, Rema1000 Ikast - Udbudt af Blue Capital A/SBluecapital
 
Madal kõrge
Madal kõrgeMadal kõrge
Madal kõrgemeelimae
 
A 135-535 user-manual_ru
A 135-535 user-manual_ruA 135-535 user-manual_ru
A 135-535 user-manual_ruFlo Franky
 
Sosiaalinen media osaksi opetusta
Sosiaalinen media osaksi opetustaSosiaalinen media osaksi opetusta
Sosiaalinen media osaksi opetustaHannu Kuusela
 
Ronalds onderwijsvisie
Ronalds onderwijsvisieRonalds onderwijsvisie
Ronalds onderwijsvisieronaldpieck
 
Prezentace ganoderma
Prezentace ganodermaPrezentace ganoderma
Prezentace ganodermakavadxn
 
Ganesh sahasranam (from the ganesh purana)
Ganesh sahasranam (from the ganesh purana)Ganesh sahasranam (from the ganesh purana)
Ganesh sahasranam (from the ganesh purana)vivekkannadi
 
Material didáctico curso 2011
Material didáctico curso  2011Material didáctico curso  2011
Material didáctico curso 2011Ceip Blas Infante
 
La Discriminacion
La DiscriminacionLa Discriminacion
La Discriminacionrosalili20
 
Arhivi i ''Web 2.0'' okruženje
Arhivi i ''Web 2.0'' okruženjeArhivi i ''Web 2.0'' okruženje
Arhivi i ''Web 2.0'' okruženjeSlobodan Mandic
 
2 dbh 1 gaia ikusten ez den mundua
2 dbh 1 gaia ikusten ez den mundua 2 dbh 1 gaia ikusten ez den mundua
2 dbh 1 gaia ikusten ez den mundua Izaskun Igutierrez
 

Viewers also liked (20)

Resume af KS Jysk Detail, Rema1000 Ikast - Udbudt af Blue Capital A/S
Resume af KS Jysk Detail, Rema1000 Ikast - Udbudt af Blue Capital A/SResume af KS Jysk Detail, Rema1000 Ikast - Udbudt af Blue Capital A/S
Resume af KS Jysk Detail, Rema1000 Ikast - Udbudt af Blue Capital A/S
 
信息 Sunday Sermon 14/08/2011
信息 Sunday Sermon 14/08/2011信息 Sunday Sermon 14/08/2011
信息 Sunday Sermon 14/08/2011
 
Seemap
SeemapSeemap
Seemap
 
Smartsport
SmartsportSmartsport
Smartsport
 
Matrices
MatricesMatrices
Matrices
 
Madal kõrge
Madal kõrgeMadal kõrge
Madal kõrge
 
Espaço cerâmica
Espaço cerâmicaEspaço cerâmica
Espaço cerâmica
 
A 135-535 user-manual_ru
A 135-535 user-manual_ruA 135-535 user-manual_ru
A 135-535 user-manual_ru
 
Sosiaalinen media osaksi opetusta
Sosiaalinen media osaksi opetustaSosiaalinen media osaksi opetusta
Sosiaalinen media osaksi opetusta
 
Ronalds onderwijsvisie
Ronalds onderwijsvisieRonalds onderwijsvisie
Ronalds onderwijsvisie
 
Prezentace ganoderma
Prezentace ganodermaPrezentace ganoderma
Prezentace ganoderma
 
Ganesh sahasranam (from the ganesh purana)
Ganesh sahasranam (from the ganesh purana)Ganesh sahasranam (from the ganesh purana)
Ganesh sahasranam (from the ganesh purana)
 
Material didáctico curso 2011
Material didáctico curso  2011Material didáctico curso  2011
Material didáctico curso 2011
 
Gestiones utilidad publica
Gestiones utilidad publicaGestiones utilidad publica
Gestiones utilidad publica
 
Hola mundo
Hola mundoHola mundo
Hola mundo
 
La Discriminacion
La DiscriminacionLa Discriminacion
La Discriminacion
 
JS games­ everywhere!
JS games­ everywhere!JS games­ everywhere!
JS games­ everywhere!
 
Arhivi i ''Web 2.0'' okruženje
Arhivi i ''Web 2.0'' okruženjeArhivi i ''Web 2.0'' okruženje
Arhivi i ''Web 2.0'' okruženje
 
2 dbh 1 gaia ikusten ez den mundua
2 dbh 1 gaia ikusten ez den mundua 2 dbh 1 gaia ikusten ez den mundua
2 dbh 1 gaia ikusten ez den mundua
 
ESTRUCTURA DE DATOS
ESTRUCTURA DE DATOSESTRUCTURA DE DATOS
ESTRUCTURA DE DATOS
 

Similar to หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงMaxky Thonchan
 
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงMaxky Thonchan
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 
หลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfหลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfssuserb58b6b1
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปUraiwantia
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30Saengnapa Saejueng
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Saengnapa Saejueng
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1Trai Traiphop
 
ตัวอย่าง บทที่ 1.docx
ตัวอย่าง บทที่ 1.docxตัวอย่าง บทที่ 1.docx
ตัวอย่าง บทที่ 1.docxKKDx9TH
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxTangkwaLalida
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 

Similar to หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (20)

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
 
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
 
Curriculum
CurriculumCurriculum
Curriculum
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 
จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่  2จุดเน้นที่  2
จุดเน้นที่ 2
 
หลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfหลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdf
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูป
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
ตัวอย่าง บทที่ 1.docx
ตัวอย่าง บทที่ 1.docxตัวอย่าง บทที่ 1.docx
ตัวอย่าง บทที่ 1.docx
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

  • 1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงศึกษาธิการ คานา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อผลิตกาลังคนระดับผู้ชานาญการที่มีความรู้ ความชานาญในวิชาชีพ มีคุณธรรม วินัย เจตคติ บุคลิกภาพ และเป็นผู้มีปัญญาที่เหมาะสม สามารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ตรงตามความ ต้องการของตลาดแรงงาน สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชุมชน ระดับท้องถิ่นและ ระดับชาติ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกระบบและวิธีการเรียนได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพ ความสนใจและ โอกาสของตน ส่งเสริมการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรร่วมกัน ระหว่าง สถาบัน หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ ทั้งในระดับชาติ ท้องถิ่นและชุมชน การพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 สาเร็จลงได้ด้วยความร่วมมืออย่างดียิ่ง จากหน่วยราชการ สถาบันการศึกษา อาจารย์ผู้สอน ตลอดจนผู้ทรงคุณวุฒิภาคเอกชนโดยเฉพาะ คณะกรรมการดังรายนามที่ปรากฏ ซึ่งได้อุทิศสติปัญญา ความรู้ ประสบการณ์ ตลอดจนสละเวลามาช่วยงาน เพือพัฒนาการศึกษาของประเทศชาติเป็นสาคัญ กระทรวงศึกษาธิการจึงขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการ ่ ดาเนินการทุกท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ กระทรวงศึกษาธิการ 2546
  • 2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 หลักการ 1. เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับผู้ชานาญการเฉพาะสาขาอาชีพ สอดคล้องกับตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สามารถเป็นหัวหน้างานหรือเป็นผู้ประกอบการ ได้ 2. เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรู้เต็มภูมิ ปฏิบัติได้จริงและเข้าใจ ชีวิต 3. เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการวิชาชีพมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนวิชาชีพสามารถถ่ายโอน ประสบการณ์การเรียนรู้จากสถานประกอบการ และสามารถสะสมการเรียนรู้และประสบการณ์ได้ จุดหมาย 1. เพื่อให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดารงชีวิต สามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมหรือศึกษาต่อในระดับที่ สูงขึ้น 2. เพื่อให้มีทักษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพ 3. เพื่อให้สามารถบูรณาการความรู้ ทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ ประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี 4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพ รักงาน รักองค์กร สามารถทางานเป็น หมู่คณะได้ดี และมีความภาคภูมิใจในตนเองต่อการเรียนวิชาชีพ 5. เพื่อให้มีปัญญา ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการจัดการ การตัดสินใจและการ แก้ปัญหา รู้จักแสวงหาแนวทางใหม่ ๆ มาพัฒนาตนเอง ประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างงานให้สอดคล้องกับ วิชาชีพ และการพัฒนางานอาชีพอย่างต่อเนื่อง 6. เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ มีวินัย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ เหมาะสมกับการปฏิบัติในอาชีพนั้น ๆ 7. เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ทั้งในการทางาน การอยู่ร่วมกัน มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว องค์กร ท้องถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อสังคม เข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม ไทย ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ตระหนักในปัญหาและความสาคัญของสิ่งแวดล้อม 8. เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเป็นกาลังสาคัญใน ด้านการผลิตและให้บริการ
  • 3. 9. เพื่อให้เห็นคุณค่าและดารงไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองดีตาม ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 1. การเรียนการสอน 1.1 การเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรียนได้ทุกวิธีเรียนที่กาหนด และนาผลการ เรียนแต่ละวิธีมาประเมินผลร่วมกันได้ สามารถโอนผลการเรียน และขอเทียบความรู้และประสบการณ์ได้ 1.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริง โดยสามารถนารายวิชาไปจัดฝึกในสถานประกอบการ ไม่น้อย กว่า 1 ภาคเรียน 2. เวลาเรียน 2.1 ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ ให้แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาคเรียนปกติ ภาคเรียนละ 20 สัปดาห์ โดยมีเวลา เรียนและจานวนหน่วยกิตตามที่กาหนด และสถานศึกษาอาจเปิดสอนภาคเรียนฤดูร้อนได้อีกตามที่เห็นสมควร ประมาณ 5 สัปดาห์ 2.2 การเรียนในระบบชั้นเรียน ให้สถานศึกษาเปิดทาการสอนไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 5 วันคาบละ 60 นาที (1 ชั่วโมง) 2.3 เวลาเรียนตามปกติ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าใน ประเภทวิชาและสาขาวิชาที่กาหนด 2 ปี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทียบเท่า ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพต่างประเภทวิชา/สาขาวิชาที่กาหนด ประมาณ 3 ปี 3. หน่วยกิต ให้มีจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 85 หน่วยกิต และไม่เกิน 100 หน่วยกิตการคิดหน่วยกิตถือ เกณฑ์ดังนี้ 3.1 รายวิชาภาคทฤษฎี 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมงมีค่า 1 หน่วยกิต 3.2 รายวิชาที่ประกอบด้วยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้บูรณาการการเรียนการสอน กาหนด 2-3 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ ตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า 40 – 60 ชั่วโมง มีค่า 1 หน่วยกิต 3.3 รายวิชาที่นาไปฝึกงานในสถานประกอบการ กาหนดเวลาในการฝึกปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง มีค่า 1 หน่วยกิต 3.4 การฝึกอาชีพในระบบทวิภาคี ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง มีค่า 1 หน่วยกิต
  • 4. 3.5 การทาโครงการให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร 4. โครงสร้าง โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาฝึกงาน และ กิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังนี้ 4.1 หมวดวิชาสามัญ 4.1.1 วิชาสามัญทั่วไป เป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานในการดารงชีวิต 4.1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ เป็นวิชาที่เป็นพื้นฐานสัมพันธ์กับวิชาชีพ 4.2 หมวดวิชาชีพ แบ่งเป็น 4.2.1 วิชาชีพพื้นฐาน เป็นกลุ่มวิชาชีพสัมพันธ์ที่เป็นพื้นฐานที่จาเป็นในประเภทวิชานั้น ๆ 4.2.2 วิชาชีพสาขาวิชา เป็นกลุ่มวิชาชีพหลักในสาขาวิชานั้น ๆ 4.2.3 วิชาชีพสาขางาน เป็นกลุ่มวิชาชีพที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเฉพาะด้านในงานอาชีพตามความ ถนัดและความสนใจ 4.2.4 โครงการ 4.3 หมวดวิชาเลือกเสรี 4.4 ฝึกงาน 4.5 กิจกรรมเสริมหลักสูตร จานวนหน่วยกิตและรายวิชาของแต่ละหมวดวิชาตลอดหลักสูตร ให้เป็นไปตามกาหนดไว้ในโครงสร้างของแต่ ละประเภทวิชาและสาขาวิชา ส่วนรายวิชาแต่ละหมวดวิชา สถานศึกษาสามารจัดตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร หรือจัดตามความเหมาะสมของสภาพท้องถิ่น ทั้งนี้ สถานศึกษาต้องกาหนดรหัสวิชา จานวนคาบเรียนและ จานวนหน่วยกิต ตามระเบียบที่กาหนดไว้ในหลักสูตร 5. โครงการ 5.1 สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนจัดทาโครงการในภาคเรียนที่ 4 ไม่น้อยกว่า 160 ชั่วโมงกาหนดให้มีค่า 4 หน่วยกิต 5.2 การตัดสินผลการเรียนและให้ระดับผลการเรียน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับรายวิชาอื่น 6. ฝึกงาน 6.1 ให้สถานศึกษานารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝึกในสถานประกอบการ อย่างน้อย 1 ภาคเรียน
  • 5. 6.2 การตัดสินผลการเรียนและให้ระดับผลการเรียน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับรายวิชาอื่น 7. การเข้าเรียน ผู้เข้าเรียนต้องมีพื้นความรู้และคุณสมบัติ ดังนี้ 7.1 พื้นความรู้ สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า หรือสาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่าผู้เข้าเรียนที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และผู้สาเร็จ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพต่างประเภทวิชาและสาขาวิชาที่กาหนด ต้องเรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน วิชาชีพให้ครบตามที่ระบุไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชาการเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ ให้เป็นไปตามข้อกาหนดที่ระบุไว้ในแต่ละสาขาวิชา 7.2 คุณสมบัติ ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 2546 8. การประเมินผลการเรียน ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 2546 9. กิจกรรมเสริมหลักสูตร สถานศึกษาต้องจัดให้มีกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัยของตนเอง การสัมมนา และการส่งเสริมการทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่มในการทาประโยชน์ต่อชุมชน ทานุบารุงขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงาม ซึ่งประกอบด้วยการวางแผน ลงมือปฏิบัติประเมินผล และปรับปรุงการทางาน ไม่น้อยกว่า 120 ชั่วโมง 10. การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 10.1 ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาสามัญ หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา 10.2 ได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบตามโครงสร้างของหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา 10.3 ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00 10.4 เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรและผ่านการประเมินตามที่กาหนด 10.5 ประเมินผ่านมาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชา