SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
น้ํากลิ้งบนใบบอน




         น้ํากลิ้งบนใบบอน เกิดจากพื้นผิวของใบบัวมีลักษณะพิเศษ ตรงที่มีความขรุขระเกิดจากการมีปุม
ขนาดประมาณ 10 ไมครอนกระจายอยูตามผิวใบบัว โดยที่แตละปุมก็จะมีปุมเล็ก ๆ ขนาดเสนผานศูนยกลาง
                                      
1 ไมครอนกระจายอยูรอบ ๆ ปุมใหญ ดังแสดงในรูป ดวยเหตุผลนี้เอง จึงทําใหการสัมผัสของหยดน้ํากับ
พื้นผิวใบบัวนอยกวาที่จะเปน เปนสาเหตุใหเกิดปรากฏการณการไมชอบน้ําของใบบัวเกิดขึ้น (Lotus Effect)




        ถาพูดลึกๆ ก็คอแรงโคฮีชั่น (Cohesion) เนืองจากน้ําสามารถสราง H-bond กับสารพวกเดียวกันเอง
                      ื                          ่
ไดเยอะ มันเลยชอบที่จะอยูดวยกัน เพราะมีความเสถียรทางพลังงานมากกวา เมื่อน้ํามีแรงโคฮีชั่นระหวางกัน
                         
ไดมากกวากับวัตถุรอบๆ พวกมันก็จะรักษารูปรางใหอยูในภาวะสมดุลทางแรงมากทีสุด ซึ่งก็คือทรงกลม
                                                                          ่
นั่นเอง แตดวยการที่มีพื้นผิว และแรงโนมถวง มันเลยเปนครึ่งทรงกลมแบนๆหนอย
ถาไปอยูในอวกาศมันจะกลมดิ๊กเลย
        แตถาพูดธรรมดา น้ํามีแรงตึงผิวสูง(ก็เพราะโคฮีช่นระหวางกันเยอะ) มันก็เลยดึงตัวเองใหเกาะ
                                                        ั
รวมกันเปนกอนและรูปรางที่เหมาะสมตอสมดุลแรงก็คือทรงกลมนั่นเอง
ลักษณะหยดน้าบน (a) ผิววัสดุทั่วไป (b) ผิววัสดุซูเปอรไฮโดรโฟบิค และ (c) ผิววัสดุเลียนแบบผิวใบบัว
           ํ

                แรงตึงผิว (Surface tension) คือคุณสมบัติของพื้นผิวของของเหลว เปนสิ่งทําใหเกิดบางสวน
ของพื้นผิวของเหลวถูกดึงดูด (ยึดเขาไวดวยกัน) สูพ้นผิวอื่น เชน พื้นผิวของเหลวสวนอื่น (การรวมตัวของ
                                                  ื
หยดน้ําหรือหยดปรอทที่แกะกันเปนลูกกลม) แรงตึงผิวถูกทําใหเกิดขึนดวยการดึงดูด (การดึงดูดของโมเลกุล
                                                               ้
กับโมเลกุลที่เหมือนกัน) เมือโมเลกุลบนพื้นผิวของของเหลวไมไดลอมรอบไปดวยโมเลกุลที่เหมือนกันใน
                           ่                                 
ทุกๆดานแลว โมเลกุลจะมีแรงดึงดูดกับโมเลกุลใกลเคียงบนพื้นผิวมากขึ้น




 รูป แสดงโมเลกุลใตพื้นผิวของของเหลว จะมีแรงกระทําระหวางกันในทุกทิศทาง ขณะที่โมเลกุลที่พนผิว
                                                                                         ื้
               จะมีแรงกระทําจากดานลางเทานั้น ซึ่งจะทําใหมีแรงตึงผิวเขาสูศูนยกลาง

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลkrusarawut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...riyanma
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 

What's hot (20)

แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 

Similar to น้ำกลิ้งบนใบบอน

น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวadriamycin
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัวadriamycin
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวadriamycin
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555adriamycin
 
Slide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdfSlide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdfadriamycin
 

Similar to น้ำกลิ้งบนใบบอน (6)

น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555
 
Slide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdfSlide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdf
 
ความตึงผิว
ความตึงผิวความตึงผิว
ความตึงผิว
 

More from adriamycin

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555adriamycin
 
Dissolution2555
Dissolution2555Dissolution2555
Dissolution2555adriamycin
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555adriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกadriamycin
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าadriamycin
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกadriamycin
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายadriamycin
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นadriamycin
 

More from adriamycin (20)

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555
 
Dissolution2555
Dissolution2555Dissolution2555
Dissolution2555
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Stability
StabilityStability
Stability
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตก
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
 

น้ำกลิ้งบนใบบอน

  • 1. น้ํากลิ้งบนใบบอน น้ํากลิ้งบนใบบอน เกิดจากพื้นผิวของใบบัวมีลักษณะพิเศษ ตรงที่มีความขรุขระเกิดจากการมีปุม ขนาดประมาณ 10 ไมครอนกระจายอยูตามผิวใบบัว โดยที่แตละปุมก็จะมีปุมเล็ก ๆ ขนาดเสนผานศูนยกลาง  1 ไมครอนกระจายอยูรอบ ๆ ปุมใหญ ดังแสดงในรูป ดวยเหตุผลนี้เอง จึงทําใหการสัมผัสของหยดน้ํากับ พื้นผิวใบบัวนอยกวาที่จะเปน เปนสาเหตุใหเกิดปรากฏการณการไมชอบน้ําของใบบัวเกิดขึ้น (Lotus Effect) ถาพูดลึกๆ ก็คอแรงโคฮีชั่น (Cohesion) เนืองจากน้ําสามารถสราง H-bond กับสารพวกเดียวกันเอง ื ่ ไดเยอะ มันเลยชอบที่จะอยูดวยกัน เพราะมีความเสถียรทางพลังงานมากกวา เมื่อน้ํามีแรงโคฮีชั่นระหวางกัน  ไดมากกวากับวัตถุรอบๆ พวกมันก็จะรักษารูปรางใหอยูในภาวะสมดุลทางแรงมากทีสุด ซึ่งก็คือทรงกลม ่ นั่นเอง แตดวยการที่มีพื้นผิว และแรงโนมถวง มันเลยเปนครึ่งทรงกลมแบนๆหนอย ถาไปอยูในอวกาศมันจะกลมดิ๊กเลย แตถาพูดธรรมดา น้ํามีแรงตึงผิวสูง(ก็เพราะโคฮีช่นระหวางกันเยอะ) มันก็เลยดึงตัวเองใหเกาะ ั รวมกันเปนกอนและรูปรางที่เหมาะสมตอสมดุลแรงก็คือทรงกลมนั่นเอง
  • 2. ลักษณะหยดน้าบน (a) ผิววัสดุทั่วไป (b) ผิววัสดุซูเปอรไฮโดรโฟบิค และ (c) ผิววัสดุเลียนแบบผิวใบบัว ํ แรงตึงผิว (Surface tension) คือคุณสมบัติของพื้นผิวของของเหลว เปนสิ่งทําใหเกิดบางสวน ของพื้นผิวของเหลวถูกดึงดูด (ยึดเขาไวดวยกัน) สูพ้นผิวอื่น เชน พื้นผิวของเหลวสวนอื่น (การรวมตัวของ  ื หยดน้ําหรือหยดปรอทที่แกะกันเปนลูกกลม) แรงตึงผิวถูกทําใหเกิดขึนดวยการดึงดูด (การดึงดูดของโมเลกุล ้ กับโมเลกุลที่เหมือนกัน) เมือโมเลกุลบนพื้นผิวของของเหลวไมไดลอมรอบไปดวยโมเลกุลที่เหมือนกันใน ่  ทุกๆดานแลว โมเลกุลจะมีแรงดึงดูดกับโมเลกุลใกลเคียงบนพื้นผิวมากขึ้น รูป แสดงโมเลกุลใตพื้นผิวของของเหลว จะมีแรงกระทําระหวางกันในทุกทิศทาง ขณะที่โมเลกุลที่พนผิว ื้ จะมีแรงกระทําจากดานลางเทานั้น ซึ่งจะทําใหมีแรงตึงผิวเขาสูศูนยกลาง