SlideShare a Scribd company logo
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
ผู้บริหารกับการตัดสินใจ
 1.การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์(Strategic Decision)
 2.การตัดสินใจทางยุทธวิธี(TacticalDecision)
 การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า(Fire-Fighting)
 การควบคุม(control)
 การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic Decision) เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวกับอนาคตขององค์การ ตั้งแต่การกาหนด
วิสัยทัศน์ ทิศทาง และภารกิจในการดาเนินธุรกิจ เพื่อให้องค์การมีตาแหน่งเชิงกลยุทธ์และความได้เปรียบในการ
แข่งขัน ซึ่งจะเป็นผลต่อความมั่นคงและการเจริญเติบโตขององค์การ โดยการกาหนดแผนกลยุทธ์จะเป็นแนวทาง
สาหรับการตัดสินใจในด้านสาคัญและแนวทางปฏิบัติสาหรับบุคลากรระดับต่าง ๆภายในองค์การ
 การตัดสินใจทางยุทธวิธี (Tactical Decision)เป็นการตัดสินใจว่าองค์การจะทาอะไรที่ไหน เมื่อไร อย่างไร เพื่อให้
สามารถบรรลุถึงภารกิจและวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ แผนยุทธวิธีจะกาหนดยุทธวิธีการดาเนินงาน
เฉพาะเรื่อง เพื่อสร้างเอกลักษณ์การดาเนินงานและความได้เปรียบต่อคู่แข่งขัน อย่างไรก็ตามผู้บริหารจะไม่เจาะลึก
ถึงรายละเอียดในการปฏิบัติงานเพียงแต่มุ่งถึงการกาหนดแนวทางการดาเนินงาน เพื่อให้บุคลากรในระดับต่อไป
รับมาปฏิบัติให้บรรลุความสาเร็จตามที่ผู้บริหารกาหนดเอาไว
 การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (Fire-fighting) เป็นการตัดสินใจแก้ปัญหาหรือวิกฤตที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ปัญหาลักษณะนี้
เกิดขึ้นกระทันหันโดยผู้บริหารมิได้คาดการณ์ไว้บางครั้งผู้ผู้บริหารต้องตัดสินใจที่จะดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจต่อไป
หรือยุติการดาเนินธุรกิจในส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมด เช่น บริษัทได้ถูกฟ้องร้องทางกฎหมายในระดับที่อาจต้องปิด
กิจการ ผลิตภัณฑ์หรือบริการเกิดปัญหาในมุมกว้าง เป็นต้น หรือผู้บริหารต้องตัดสินใจแก้ปัญหาในกรณีที่ปัจจัยที่
สาคัญที่มีผลต่อการดาเนินธุรกิจได้รับความเสียหายอย่างหนักหรือเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง เช่น การนัดหยุดงาน ภัย
ธรรมชาติอย่างรุนแรง หรือความผันผวนของระบบเศรษฐกิจ
 การควบคุม (Control) เป็นหน้าที่สาคัญทางการจัดการ (ManagementFunctions) ที่ผู้บริหารต้องตรวจสอบและควบคุม
การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาให้เป็นตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับแผนงานและสถานการณ์ เนื่องจาก
การปฏิบัติงานอาจเบี่ยงเบนจากแผนงานที่กาหนด ซึ่งผลมาจากการวางแผนที่คลาดเคลื่อน ข้อจากัดของทรัพยากร
บุคคลหรือทรัพยากร การดาเนินงานอื่น ตลอดจนความผันผวนของสถานการณ์ ผู้บริหารต้องทาการตัดสินใจเกี่ยวกับ
ผลการดาเนินงานของธุรกิจ หลังจากที่องค์การได้เริ่มปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ไประยะหนึ่งแล้ว ผู้บริหารย่อมมี
ความสนใจต้องการจะทราบ
สารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
 1.ไม่มีโครงสร้าง(Lack of Structure)
 2.มีความไม่แน่นอนสูง(High Degree of Uncertainty)
 3.ให้ความสาคัญกับสถานการณ์ในอนาคต(Future Oriented Situation)
 4.แหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ(Informal Sources)
 5.ไม่แสดงรายละเอียด(Low Level Details)
 ไม่มีโครงสร้าง(Lack of Structure) การตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีโครงสร้างไม่ชัดเจน
ขาดความแน่นอนของข้อมูล สถานการณ์ความซับซ้อน มองไม่เห็นถึงรายละเอียดที่ชัดเจนของสิ่งที่จะต้องกระทา ถึงแม้ว่าจะเป็น
เรื่องประเภทเดียวกัน แต่ต่างเวลาหรือสถานการณ์ ก็มีรายละเอียดของข้อมูลและสารสนเทศที่แตกต่างกัน
 มีความไม่แน่นอนสูง(High Degree of Uncertainty) หลายครั้งการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงจะเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ไม่
เคยเกิดขึ้นมาก่อน หรือเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้บริหารจึงต้องตัดสินใจโดยไม่มีแบบอย่างที่เป็นแนวทาง หรือไม่
สามารถใช้ข้อมูลจากการคาดการณ์โดยหลักการเชิงปริมาณมาประกอบการตัดสินใจเพียงด้านเดียว
 ให้ความสาคัญกับสถานการณ์ในอนาคต(Future Oriented Situation) เพื่อที่จะให้องค์การสามารถดาเนินธุรกิจต่อไปและบรรลุ
ถึงความสาเร็จตามแผนที่วางไว้องค์การจะต้องมีการปรับตัวเพื่อรับกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตการตัดสินใจเชิงกล
ยุทธ์ของผู้บริหารจะเกี่ยวข้องกับการกาหนดวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ภารกิจ ทิศทาง การดาเนินงาน และตาแหน่งในการแข่งขัน
ในธุรกิจ ตลอดจนกาหนดแนวทางแก้ไขสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นกับองค์การในอนาคต
 แหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ(Informal Sources) ผู้บริหารต้องการข้อมูลการตัดสินใจจากหลายแหล่ง เนื่องจาก
ปัญหาที่ผู้บริหารจะเกี่ยวข้องและเผชิญกับสถานการณ์ที่มีความหลากหลาย ซับซ้อน และไม่แน่นอน ส่งผลให้ข้อมูลที่เป็นทางการ
ที่ได้รับการนาเสนอเป็นรายงานผลกประกอบการศึกษา และการวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไม่เพียงพอต่อการ
ตัดสินใจของผู้บริหาร ผู้บริหารอาจจะได้รับข้อมูลที่สาคัญในการตัดสินใจจากแหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ
 ไม่แสดงรายละเอียด(Low Level Details) การตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบการมองถึงแนวโน้ม
ในอนาคตที่ต้องการภาพรวมของเหตุการณ์ เพื่อจัดวางเป้าหมายและแนวทางที่หน่วยงานควรจะทา หรือแก้ไขปัญหาที่มีความไม่
ชัดเจนและความไม่แน่นอนสูง โดยผู้บริหารต้องใช้วิสัยทัศน์ที่กว้างในการพิจารณาวิเคราะห์ปัญหาหรือโอกาสที่เกิดขึ้นมากกว่าที่
จะเจาะลึกลงในรายละเอียดของการดาเนินงาน
แหล่งข้อมูลสาหรับผู้บริหาร
 1.ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการดาเนินงาน(Transaction Processing Data)
 2.ข้อมูลจากภายในองค์กร(Internal Data)
 3.ข้อมูลจากภายนอกองค์กร(External Data)
 ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการดาเนินงาน (Transaction Processing Data) เป็นข้อมูลที่แสดงผลการปฏิบัติงานขององค์การหน่วยงาน หรือระบบที่สนใจ
ข้อมูลจากการดาเนินงานช่วยสร้างความเข้าใจและสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานที่ผ่านในอดีตโดยข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการ
ตรวจสอบ การควบคุม และการแก้ปัญหาการดาเนินงานโดยทั่วไป ตลอดจนสามารถนามาประกอบการวางแผนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
 ข้อมูลจากภายในองค์การ(Internal Data) เป็นข้อมูลที่จัดทาขึ้นภายในองค์การ เพื่อแสดงให้เห็นถึงเป้าหมายหรือผลการดาเนินงานของกิจกรรมและ/
หรือโครงการในด้านต่าง ๆ ขององค์การได้แก่ งบประมาณ แผนรายจ่าย การคาดการณ์ยอดขายและรายได้และแผนทางการเงินเป็นต้น ซึ่งข้อมูลส่วน
ใหญ่จะครอบคลุมช่วงเวลาตั้งแต่ 6 เดือนจนถึงหลายปี โดยข้อมูลจะแสดงอดีตปัจจุบัน และทิศทางในอนาคตขององค์การเพื่อกาหนดแนวทางและจัด
ส่วนผสมของทรัพยากรในการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
 ข้อมูลจากภายนอกองค์การ(External Data) ปัจจัยภายนอกมีผลกระทบต่อองค์การโดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันที่การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทาง
เศรษฐกิจ การเมือง สังคม แลวิทยาการในประเทศหนึ่งจะมีเกี่ยวเนื่องไปทั่วโลกผู้บริหารระดับสูงมักใช้ข้อมูลที่มาจากแหล่งภายนอกมาประกอบในการ
ตัดสินใจของผู้บริหารในด้านต่าง ๆ เช่น การวางแผนกลยุทธ์ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือการตัดสินใจที่จะดาเนินธุรกิจหรือล้มเลิก
ลักษณะเฉพาะของEIS
ลักษณะ รายละเอียด
ความถี่ในการใช้งาน ค่อนข้างบ่อยถึงบ่อยมาก
ทักษะทางคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ไม่จาเป็นต้องมีทักษะสูง
ความยืดหยุ่น ความยืดหยุ่นสูงและต้องสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหารได้
การใช้งาน การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ การแก้ไขวิกฤต การตรวจสอบ และการ
ควบคุมการดาเนินงานของธุรกิจ
การตัดสินใจ มีข้อมูลไม่ชัดเจน มีความไม่แน่นอนสูงและไม่มีโครงสร้าง
แหล่งที่มาของข้อมูล ต้องการข้อมูลทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการจากทั้งภายนอก
และภายในองค์กร
การแสดงข้อมูล มีการนาเสนอข้อมูลในหลายรูปแบบ เช่น ตัวอักษร ตาราง ภาพและ
เสียง
การตอบสนอง ชัดเจน รวดเร็ว และตรงตามความต้องการ
คุณสมบัติของEIS
 1.สนับสนุนการวางแผนทางกลยุทธ์(Strategic Planning Support)
 2.เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ(External Environment Focus)
 3.มีความสามารถในการคานวณภาพกว้าง(Broad-Based Computing Capabilities)
 4.ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน(Exceptional Ease Of Learning and User)
 5.พัฒนาเฉพาะสาหรับผู้บริหาร(Customization)
 สนับสนุนการวางแผนทางกลยุทธ์(Strategic Planning Support) ผู้บริหารระดับสูงส่วนใหญ่มักจะให้ความสาคัญต่อการวางแผนกลยุทธ์ของ
องค์การ ดังนั้นผู้พัฒนา EIS สมควรจะมีความรู้ในเรื่องกลยุทธ์ธุรกิจ (Business Strategy ) และปัจจัยสาคัญในการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic
Factors) เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการกาหนดแผนทางกลยุทธ์ที่สมบูรณ์
 เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ(External Environment Focus) ปกติสิ่งที่ผู้บริหารต้องการจากระบบสารสนเทศคือ การที่จะสามารถเรียก
สารสนเทศที่ต้องการและจาเป็นต่อการตัดสินใจออกมาจากฐานข้อมูลขององค์การได้อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะข้อมูลและข่าวสารที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ
เป็นสิ่งที่ผู้บริหารต้องการประกอบการตัดสินใจ โดยส่วนมาก EIS จะถูกออกแบบให้สามารถเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลที่มาจากภายนอกองค์การ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่
สาคัญที่จาเป็นต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
 มีความสามารถในการคานวณภาพกว้าง(Broad-Based Computing Capabilities) การตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่
มีโครงสร้างไม่แน่นอนและขาดความชัดเจน โดยส่วนใหญ่จะมองถึงภาพโดยรวมของระบบแบบกว้างๆ ไม่ลงลึกในรายละเอียด ดังนั้นการคานวณที่ผู้บริหารต้องการจึง
เป็นลักษณะง่าย ๆ ชัดเจน เป็นรูปธรรม และไม่ซับซ้อนมาก เช่น การเรียกข้อมูลกลับดู การใช้กราฟ การใช้แบบจาลองแสดงภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
 ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน(Exceptional Ease Of Learning and User) นื่องจากผู้บริหารจะมีกิจกรรมที่หลากหลายทั้งภายในและ
ภายนอกองค์การ ผู้บริหารจึงมีเวลาในการตัดสินใจในแต่ละงานน้อยหรือกล่าวได้ว่าเวลาของผู้บริหารมีค่ามาก ดังนั้นการพัฒนา EIS ควรที่จะเลือกรูปแบบการ
แสดงผล หรือการตอบโต้กับผู้ใช้ในแนวทางที่ง่ายต่อการใช้งานในเวลาที่สั้น เช่น ตารางแสดงผล กราฟ ภาษาที่ง่าย และการตอบโต้ที่รวดเร็ว
 พัฒนาเฉพาะสาหรับผู้บริหาร(Customization) การตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่จะมีความสัมพันธ์ต่อพนักงานอื่นและต่อการดาเนินธุรกิจขององค์การ ซึ่ง
เป็นสิ่งที่นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst and Designer ) ต้องคานึงถึงในการพัฒนา EIS เพื่อให้สามารถพัฒนา EI S ที่มี
ศักยภาพสูงมีประสิทธิภาพดีเหมาะสมกับการใช้งานและเป็นแบบเฉพาะสาหรับผู้บริหารที่จะเข้าถึงข้อมูลได้ตามต้องการ เช่น ข้อมูลใดที่เป็นที่ต้องการของผู้บริหารอย่าง
มาก หรือมีการเรียกมาใช้บ่อยควรออกแบบให้มีขั้นตอนการเข้าถึงที่ง่าย สะดวก และรวดเร็ว เช่น โดยการกดปุ่มบนแป้นพิมพ์เพียงไม่กี่ปุ่ม หรือการเคลื่อนที่และการใช้
งานเมาส์ท (Mouse )บนจอภาพ หรือการสั่งงานด้วยเสียงพูด ซึ่งต่างจากนระบบสารสนเทศสาหรับบุคลากรระดับอื่นในองค์การที่ต้องมีขั้นตอนที่ซับซ้อนมากกว่า
ในการเข้าถึงข้อมูลลักษณะเดียวกัน
ข้อดี
1.ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้
2.ค้นหาสารสนเทศที่ต้องใช้งานได้ในเวลาสั้น
3.ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นาเสนอได้อย่างชัดเจน
4.ประหยัดเวลาการดาเนินการ
5.สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6.ผู้ใช้ไม่จาเป็นที่ต้องมีความรู้อย่างมากในการใช้คอมพิวเตอร์
ข้อจากัด
1.เนื่องจากEISถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง
2.ข้อมูลการนาเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร
3.ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์กรจะได้รับ
4.ไม่ถูกพัฒนาให้ทาการประมวลผลที่ซับซ้อน
5.ปัญหาด้านความลับของข้อมูล
6.ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมุล
ข้อดีและข้อจากัดของEIS
สรุป
 การดาเนินธุรกิจที่ซับซ้อนและทั้งความรุนแรงในการแข่งขัน ทาให้ผู้บริหารต้องสามารถตัดสินใจ
อย่างถูกต้อง รวดเร็ว จึงต้องอาศัยสารสนเทศที่เหมาะสมดังที่มีผู้กล่าวว่า สารสนเทศ คือ อานาจทุก
องค์การจึงต้องจัดหาและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพแต่บุคลากรบางกลุ่มในองค์การจะมี
ความต้องการสารสนเทศที่เฉพาะ เช่น ผู้บริหารจะมีความแตกต่างจากผู้ใช้ข้อมูลในระดับอื่นที่
ต้องการข้อมูลที่ชัดเจน ง่ายต่อการตัดสินใจ ไม่ต้องเสียเวลาประมวลผลอีก ระบบสารสนเทศสาหรับ
ผู้บริหาร หรือ EIS ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการสารสนเทศของผู้บริหารมีความต้องการข้อมูลที่มีความ
แตกต่างจากบุคลากรกลุ่มอื่นขององค์การ โดยเฉพาะลักษณะของงานของผู้บริหารในปัจจุบันที่มี
ความสาคัญกับองค์การและมีระยะเวลาจากัดในการตัดสินใจแก้ปัญหา เมื่อมีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นซึ่ง
มีผลกระทบต่อองค์การ ปัจจุบันมีผู้เข้าใจผิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะบุคคลที่เข้ารับ
การสัมมนาระยะสั้น หรือผู้ที่รับข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไม่สมบูรณ์ โดยคิดว่า
ระบบสารสนเทศเป็นแก้วสารพัดนึกที่ผู้ใช้สามารถเรียกข้อมูลทุกประเภท โดยเฉพาะ EIS ประการ
สาคัญเนื่องจากผู้บริหารระดับสูงในหลายองค์การยังมีความเข้าใจที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งทาให้เกิดความ
คาดหวังที่คลาดเคลื่อนจากความสามารถของระบบสารสนเทศ ซึ่งจะมีผลต่อความประทับใจ ความ
เชื่อมั่นและการสนับสนุนต่อการพัฒนาระบบในอนาคต

More Related Content

What's hot

การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
maruay songtanin
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structureKan Yuenyong
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
maruay songtanin
 

What's hot (6)

การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Revolutionary change
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structure
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
 
การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์
 

Viewers also liked

Porter_NMJ
Porter_NMJPorter_NMJ
Porter_NMJ
Amber Porter
 
CopyofYouTubeMarketingFINALFORLINKEDIN-2
CopyofYouTubeMarketingFINALFORLINKEDIN-2CopyofYouTubeMarketingFINALFORLINKEDIN-2
CopyofYouTubeMarketingFINALFORLINKEDIN-2
Jenny Do
 
Normas de etiqueta en internet
Normas de etiqueta en internetNormas de etiqueta en internet
Normas de etiqueta en internet
ldssergio
 
presentation_Hadoop_File_System
presentation_Hadoop_File_Systempresentation_Hadoop_File_System
presentation_Hadoop_File_System
Brett Keim
 
E conhecereis a verdade, e a verdade
E conhecereis a verdade, e a verdadeE conhecereis a verdade, e a verdade
E conhecereis a verdade, e a verdade
Luan Augusto Duarte
 
Fauna vertebrada representativa de la Reserva de Producción de Fauna Manglare...
Fauna vertebrada representativa de la Reserva de Producción de Fauna Manglare...Fauna vertebrada representativa de la Reserva de Producción de Fauna Manglare...
Fauna vertebrada representativa de la Reserva de Producción de Fauna Manglare...
Dieguito Aslalema
 
Securing sensitive data for the health care industry
Securing sensitive data for the health care industrySecuring sensitive data for the health care industry
Securing sensitive data for the health care industry
CloudMask inc.
 
David Rendón Velarde: E book valor y coraje gracia bajo presión.
David Rendón Velarde: E book  valor y coraje gracia bajo presión.David Rendón Velarde: E book  valor y coraje gracia bajo presión.
David Rendón Velarde: E book valor y coraje gracia bajo presión.
David Rendón
 
ملاحظات على استخدام الادوية البيطرية ا د حامد عطية
ملاحظات على استخدام الادوية البيطرية ا د حامد عطيةملاحظات على استخدام الادوية البيطرية ا د حامد عطية
ملاحظات على استخدام الادوية البيطرية ا د حامد عطية
hamed attia
 

Viewers also liked (9)

Porter_NMJ
Porter_NMJPorter_NMJ
Porter_NMJ
 
CopyofYouTubeMarketingFINALFORLINKEDIN-2
CopyofYouTubeMarketingFINALFORLINKEDIN-2CopyofYouTubeMarketingFINALFORLINKEDIN-2
CopyofYouTubeMarketingFINALFORLINKEDIN-2
 
Normas de etiqueta en internet
Normas de etiqueta en internetNormas de etiqueta en internet
Normas de etiqueta en internet
 
presentation_Hadoop_File_System
presentation_Hadoop_File_Systempresentation_Hadoop_File_System
presentation_Hadoop_File_System
 
E conhecereis a verdade, e a verdade
E conhecereis a verdade, e a verdadeE conhecereis a verdade, e a verdade
E conhecereis a verdade, e a verdade
 
Fauna vertebrada representativa de la Reserva de Producción de Fauna Manglare...
Fauna vertebrada representativa de la Reserva de Producción de Fauna Manglare...Fauna vertebrada representativa de la Reserva de Producción de Fauna Manglare...
Fauna vertebrada representativa de la Reserva de Producción de Fauna Manglare...
 
Securing sensitive data for the health care industry
Securing sensitive data for the health care industrySecuring sensitive data for the health care industry
Securing sensitive data for the health care industry
 
David Rendón Velarde: E book valor y coraje gracia bajo presión.
David Rendón Velarde: E book  valor y coraje gracia bajo presión.David Rendón Velarde: E book  valor y coraje gracia bajo presión.
David Rendón Velarde: E book valor y coraje gracia bajo presión.
 
ملاحظات على استخدام الادوية البيطرية ا د حامد عطية
ملاحظات على استخدام الادوية البيطرية ا د حامد عطيةملاحظات على استخدام الادوية البيطرية ا د حامد عطية
ملاحظات على استخدام الادوية البيطرية ا د حامد عطية
 

Similar to ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
kengza3999
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
kengza3999
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
kengza3999
 
ระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
kengza3999
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ
janisata thongpoo
 
สารสนเทศ และการตัดสินใจ
สารสนเทศ และการตัดสินใจสารสนเทศ และการตัดสินใจ
สารสนเทศ และการตัดสินใจ
preutthipong phetiam
 
การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ Strategy from role models
 การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ Strategy from role models
การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ Strategy from role models
maruay songtanin
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 

Similar to ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (20)

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
No1
No1No1
No1
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่ิอสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ch4
ch4ch4
ch4
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ
 
สารสนเทศ และการตัดสินใจ
สารสนเทศ และการตัดสินใจสารสนเทศ และการตัดสินใจ
สารสนเทศ และการตัดสินใจ
 
การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ Strategy from role models
 การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ Strategy from role models
การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ Strategy from role models
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 

ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

  • 2. ผู้บริหารกับการตัดสินใจ  1.การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์(Strategic Decision)  2.การตัดสินใจทางยุทธวิธี(TacticalDecision)  การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า(Fire-Fighting)  การควบคุม(control)
  • 3.  การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic Decision) เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวกับอนาคตขององค์การ ตั้งแต่การกาหนด วิสัยทัศน์ ทิศทาง และภารกิจในการดาเนินธุรกิจ เพื่อให้องค์การมีตาแหน่งเชิงกลยุทธ์และความได้เปรียบในการ แข่งขัน ซึ่งจะเป็นผลต่อความมั่นคงและการเจริญเติบโตขององค์การ โดยการกาหนดแผนกลยุทธ์จะเป็นแนวทาง สาหรับการตัดสินใจในด้านสาคัญและแนวทางปฏิบัติสาหรับบุคลากรระดับต่าง ๆภายในองค์การ  การตัดสินใจทางยุทธวิธี (Tactical Decision)เป็นการตัดสินใจว่าองค์การจะทาอะไรที่ไหน เมื่อไร อย่างไร เพื่อให้ สามารถบรรลุถึงภารกิจและวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ แผนยุทธวิธีจะกาหนดยุทธวิธีการดาเนินงาน เฉพาะเรื่อง เพื่อสร้างเอกลักษณ์การดาเนินงานและความได้เปรียบต่อคู่แข่งขัน อย่างไรก็ตามผู้บริหารจะไม่เจาะลึก ถึงรายละเอียดในการปฏิบัติงานเพียงแต่มุ่งถึงการกาหนดแนวทางการดาเนินงาน เพื่อให้บุคลากรในระดับต่อไป รับมาปฏิบัติให้บรรลุความสาเร็จตามที่ผู้บริหารกาหนดเอาไว
  • 4.  การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (Fire-fighting) เป็นการตัดสินใจแก้ปัญหาหรือวิกฤตที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ปัญหาลักษณะนี้ เกิดขึ้นกระทันหันโดยผู้บริหารมิได้คาดการณ์ไว้บางครั้งผู้ผู้บริหารต้องตัดสินใจที่จะดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจต่อไป หรือยุติการดาเนินธุรกิจในส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมด เช่น บริษัทได้ถูกฟ้องร้องทางกฎหมายในระดับที่อาจต้องปิด กิจการ ผลิตภัณฑ์หรือบริการเกิดปัญหาในมุมกว้าง เป็นต้น หรือผู้บริหารต้องตัดสินใจแก้ปัญหาในกรณีที่ปัจจัยที่ สาคัญที่มีผลต่อการดาเนินธุรกิจได้รับความเสียหายอย่างหนักหรือเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง เช่น การนัดหยุดงาน ภัย ธรรมชาติอย่างรุนแรง หรือความผันผวนของระบบเศรษฐกิจ  การควบคุม (Control) เป็นหน้าที่สาคัญทางการจัดการ (ManagementFunctions) ที่ผู้บริหารต้องตรวจสอบและควบคุม การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาให้เป็นตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับแผนงานและสถานการณ์ เนื่องจาก การปฏิบัติงานอาจเบี่ยงเบนจากแผนงานที่กาหนด ซึ่งผลมาจากการวางแผนที่คลาดเคลื่อน ข้อจากัดของทรัพยากร บุคคลหรือทรัพยากร การดาเนินงานอื่น ตลอดจนความผันผวนของสถานการณ์ ผู้บริหารต้องทาการตัดสินใจเกี่ยวกับ ผลการดาเนินงานของธุรกิจ หลังจากที่องค์การได้เริ่มปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ไประยะหนึ่งแล้ว ผู้บริหารย่อมมี ความสนใจต้องการจะทราบ
  • 5. สารสนเทศสาหรับผู้บริหาร  1.ไม่มีโครงสร้าง(Lack of Structure)  2.มีความไม่แน่นอนสูง(High Degree of Uncertainty)  3.ให้ความสาคัญกับสถานการณ์ในอนาคต(Future Oriented Situation)  4.แหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ(Informal Sources)  5.ไม่แสดงรายละเอียด(Low Level Details)
  • 6.  ไม่มีโครงสร้าง(Lack of Structure) การตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีโครงสร้างไม่ชัดเจน ขาดความแน่นอนของข้อมูล สถานการณ์ความซับซ้อน มองไม่เห็นถึงรายละเอียดที่ชัดเจนของสิ่งที่จะต้องกระทา ถึงแม้ว่าจะเป็น เรื่องประเภทเดียวกัน แต่ต่างเวลาหรือสถานการณ์ ก็มีรายละเอียดของข้อมูลและสารสนเทศที่แตกต่างกัน  มีความไม่แน่นอนสูง(High Degree of Uncertainty) หลายครั้งการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงจะเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ไม่ เคยเกิดขึ้นมาก่อน หรือเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้บริหารจึงต้องตัดสินใจโดยไม่มีแบบอย่างที่เป็นแนวทาง หรือไม่ สามารถใช้ข้อมูลจากการคาดการณ์โดยหลักการเชิงปริมาณมาประกอบการตัดสินใจเพียงด้านเดียว  ให้ความสาคัญกับสถานการณ์ในอนาคต(Future Oriented Situation) เพื่อที่จะให้องค์การสามารถดาเนินธุรกิจต่อไปและบรรลุ ถึงความสาเร็จตามแผนที่วางไว้องค์การจะต้องมีการปรับตัวเพื่อรับกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตการตัดสินใจเชิงกล ยุทธ์ของผู้บริหารจะเกี่ยวข้องกับการกาหนดวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ภารกิจ ทิศทาง การดาเนินงาน และตาแหน่งในการแข่งขัน ในธุรกิจ ตลอดจนกาหนดแนวทางแก้ไขสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นกับองค์การในอนาคต
  • 7.  แหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ(Informal Sources) ผู้บริหารต้องการข้อมูลการตัดสินใจจากหลายแหล่ง เนื่องจาก ปัญหาที่ผู้บริหารจะเกี่ยวข้องและเผชิญกับสถานการณ์ที่มีความหลากหลาย ซับซ้อน และไม่แน่นอน ส่งผลให้ข้อมูลที่เป็นทางการ ที่ได้รับการนาเสนอเป็นรายงานผลกประกอบการศึกษา และการวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไม่เพียงพอต่อการ ตัดสินใจของผู้บริหาร ผู้บริหารอาจจะได้รับข้อมูลที่สาคัญในการตัดสินใจจากแหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ  ไม่แสดงรายละเอียด(Low Level Details) การตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบการมองถึงแนวโน้ม ในอนาคตที่ต้องการภาพรวมของเหตุการณ์ เพื่อจัดวางเป้าหมายและแนวทางที่หน่วยงานควรจะทา หรือแก้ไขปัญหาที่มีความไม่ ชัดเจนและความไม่แน่นอนสูง โดยผู้บริหารต้องใช้วิสัยทัศน์ที่กว้างในการพิจารณาวิเคราะห์ปัญหาหรือโอกาสที่เกิดขึ้นมากกว่าที่ จะเจาะลึกลงในรายละเอียดของการดาเนินงาน
  • 8. แหล่งข้อมูลสาหรับผู้บริหาร  1.ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการดาเนินงาน(Transaction Processing Data)  2.ข้อมูลจากภายในองค์กร(Internal Data)  3.ข้อมูลจากภายนอกองค์กร(External Data)
  • 9.  ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการดาเนินงาน (Transaction Processing Data) เป็นข้อมูลที่แสดงผลการปฏิบัติงานขององค์การหน่วยงาน หรือระบบที่สนใจ ข้อมูลจากการดาเนินงานช่วยสร้างความเข้าใจและสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานที่ผ่านในอดีตโดยข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการ ตรวจสอบ การควบคุม และการแก้ปัญหาการดาเนินงานโดยทั่วไป ตลอดจนสามารถนามาประกอบการวางแผนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว  ข้อมูลจากภายในองค์การ(Internal Data) เป็นข้อมูลที่จัดทาขึ้นภายในองค์การ เพื่อแสดงให้เห็นถึงเป้าหมายหรือผลการดาเนินงานของกิจกรรมและ/ หรือโครงการในด้านต่าง ๆ ขององค์การได้แก่ งบประมาณ แผนรายจ่าย การคาดการณ์ยอดขายและรายได้และแผนทางการเงินเป็นต้น ซึ่งข้อมูลส่วน ใหญ่จะครอบคลุมช่วงเวลาตั้งแต่ 6 เดือนจนถึงหลายปี โดยข้อมูลจะแสดงอดีตปัจจุบัน และทิศทางในอนาคตขององค์การเพื่อกาหนดแนวทางและจัด ส่วนผสมของทรัพยากรในการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ  ข้อมูลจากภายนอกองค์การ(External Data) ปัจจัยภายนอกมีผลกระทบต่อองค์การโดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันที่การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทาง เศรษฐกิจ การเมือง สังคม แลวิทยาการในประเทศหนึ่งจะมีเกี่ยวเนื่องไปทั่วโลกผู้บริหารระดับสูงมักใช้ข้อมูลที่มาจากแหล่งภายนอกมาประกอบในการ ตัดสินใจของผู้บริหารในด้านต่าง ๆ เช่น การวางแผนกลยุทธ์ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือการตัดสินใจที่จะดาเนินธุรกิจหรือล้มเลิก
  • 10. ลักษณะเฉพาะของEIS ลักษณะ รายละเอียด ความถี่ในการใช้งาน ค่อนข้างบ่อยถึงบ่อยมาก ทักษะทางคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ไม่จาเป็นต้องมีทักษะสูง ความยืดหยุ่น ความยืดหยุ่นสูงและต้องสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหารได้ การใช้งาน การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ การแก้ไขวิกฤต การตรวจสอบ และการ ควบคุมการดาเนินงานของธุรกิจ การตัดสินใจ มีข้อมูลไม่ชัดเจน มีความไม่แน่นอนสูงและไม่มีโครงสร้าง แหล่งที่มาของข้อมูล ต้องการข้อมูลทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการจากทั้งภายนอก และภายในองค์กร การแสดงข้อมูล มีการนาเสนอข้อมูลในหลายรูปแบบ เช่น ตัวอักษร ตาราง ภาพและ เสียง การตอบสนอง ชัดเจน รวดเร็ว และตรงตามความต้องการ
  • 11. คุณสมบัติของEIS  1.สนับสนุนการวางแผนทางกลยุทธ์(Strategic Planning Support)  2.เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ(External Environment Focus)  3.มีความสามารถในการคานวณภาพกว้าง(Broad-Based Computing Capabilities)  4.ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน(Exceptional Ease Of Learning and User)  5.พัฒนาเฉพาะสาหรับผู้บริหาร(Customization)
  • 12.  สนับสนุนการวางแผนทางกลยุทธ์(Strategic Planning Support) ผู้บริหารระดับสูงส่วนใหญ่มักจะให้ความสาคัญต่อการวางแผนกลยุทธ์ของ องค์การ ดังนั้นผู้พัฒนา EIS สมควรจะมีความรู้ในเรื่องกลยุทธ์ธุรกิจ (Business Strategy ) และปัจจัยสาคัญในการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Factors) เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการกาหนดแผนทางกลยุทธ์ที่สมบูรณ์  เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ(External Environment Focus) ปกติสิ่งที่ผู้บริหารต้องการจากระบบสารสนเทศคือ การที่จะสามารถเรียก สารสนเทศที่ต้องการและจาเป็นต่อการตัดสินใจออกมาจากฐานข้อมูลขององค์การได้อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะข้อมูลและข่าวสารที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ เป็นสิ่งที่ผู้บริหารต้องการประกอบการตัดสินใจ โดยส่วนมาก EIS จะถูกออกแบบให้สามารถเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลที่มาจากภายนอกองค์การ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ สาคัญที่จาเป็นต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
  • 13.  มีความสามารถในการคานวณภาพกว้าง(Broad-Based Computing Capabilities) การตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ มีโครงสร้างไม่แน่นอนและขาดความชัดเจน โดยส่วนใหญ่จะมองถึงภาพโดยรวมของระบบแบบกว้างๆ ไม่ลงลึกในรายละเอียด ดังนั้นการคานวณที่ผู้บริหารต้องการจึง เป็นลักษณะง่าย ๆ ชัดเจน เป็นรูปธรรม และไม่ซับซ้อนมาก เช่น การเรียกข้อมูลกลับดู การใช้กราฟ การใช้แบบจาลองแสดงภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น  ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน(Exceptional Ease Of Learning and User) นื่องจากผู้บริหารจะมีกิจกรรมที่หลากหลายทั้งภายในและ ภายนอกองค์การ ผู้บริหารจึงมีเวลาในการตัดสินใจในแต่ละงานน้อยหรือกล่าวได้ว่าเวลาของผู้บริหารมีค่ามาก ดังนั้นการพัฒนา EIS ควรที่จะเลือกรูปแบบการ แสดงผล หรือการตอบโต้กับผู้ใช้ในแนวทางที่ง่ายต่อการใช้งานในเวลาที่สั้น เช่น ตารางแสดงผล กราฟ ภาษาที่ง่าย และการตอบโต้ที่รวดเร็ว  พัฒนาเฉพาะสาหรับผู้บริหาร(Customization) การตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่จะมีความสัมพันธ์ต่อพนักงานอื่นและต่อการดาเนินธุรกิจขององค์การ ซึ่ง เป็นสิ่งที่นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst and Designer ) ต้องคานึงถึงในการพัฒนา EIS เพื่อให้สามารถพัฒนา EI S ที่มี ศักยภาพสูงมีประสิทธิภาพดีเหมาะสมกับการใช้งานและเป็นแบบเฉพาะสาหรับผู้บริหารที่จะเข้าถึงข้อมูลได้ตามต้องการ เช่น ข้อมูลใดที่เป็นที่ต้องการของผู้บริหารอย่าง มาก หรือมีการเรียกมาใช้บ่อยควรออกแบบให้มีขั้นตอนการเข้าถึงที่ง่าย สะดวก และรวดเร็ว เช่น โดยการกดปุ่มบนแป้นพิมพ์เพียงไม่กี่ปุ่ม หรือการเคลื่อนที่และการใช้ งานเมาส์ท (Mouse )บนจอภาพ หรือการสั่งงานด้วยเสียงพูด ซึ่งต่างจากนระบบสารสนเทศสาหรับบุคลากรระดับอื่นในองค์การที่ต้องมีขั้นตอนที่ซับซ้อนมากกว่า ในการเข้าถึงข้อมูลลักษณะเดียวกัน
  • 14. ข้อดี 1.ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้ 2.ค้นหาสารสนเทศที่ต้องใช้งานได้ในเวลาสั้น 3.ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นาเสนอได้อย่างชัดเจน 4.ประหยัดเวลาการดาเนินการ 5.สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 6.ผู้ใช้ไม่จาเป็นที่ต้องมีความรู้อย่างมากในการใช้คอมพิวเตอร์ ข้อจากัด 1.เนื่องจากEISถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง 2.ข้อมูลการนาเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร 3.ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์กรจะได้รับ 4.ไม่ถูกพัฒนาให้ทาการประมวลผลที่ซับซ้อน 5.ปัญหาด้านความลับของข้อมูล 6.ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมุล ข้อดีและข้อจากัดของEIS
  • 15. สรุป  การดาเนินธุรกิจที่ซับซ้อนและทั้งความรุนแรงในการแข่งขัน ทาให้ผู้บริหารต้องสามารถตัดสินใจ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว จึงต้องอาศัยสารสนเทศที่เหมาะสมดังที่มีผู้กล่าวว่า สารสนเทศ คือ อานาจทุก องค์การจึงต้องจัดหาและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพแต่บุคลากรบางกลุ่มในองค์การจะมี ความต้องการสารสนเทศที่เฉพาะ เช่น ผู้บริหารจะมีความแตกต่างจากผู้ใช้ข้อมูลในระดับอื่นที่ ต้องการข้อมูลที่ชัดเจน ง่ายต่อการตัดสินใจ ไม่ต้องเสียเวลาประมวลผลอีก ระบบสารสนเทศสาหรับ ผู้บริหาร หรือ EIS ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการสารสนเทศของผู้บริหารมีความต้องการข้อมูลที่มีความ แตกต่างจากบุคลากรกลุ่มอื่นขององค์การ โดยเฉพาะลักษณะของงานของผู้บริหารในปัจจุบันที่มี ความสาคัญกับองค์การและมีระยะเวลาจากัดในการตัดสินใจแก้ปัญหา เมื่อมีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นซึ่ง มีผลกระทบต่อองค์การ ปัจจุบันมีผู้เข้าใจผิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะบุคคลที่เข้ารับ การสัมมนาระยะสั้น หรือผู้ที่รับข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไม่สมบูรณ์ โดยคิดว่า ระบบสารสนเทศเป็นแก้วสารพัดนึกที่ผู้ใช้สามารถเรียกข้อมูลทุกประเภท โดยเฉพาะ EIS ประการ สาคัญเนื่องจากผู้บริหารระดับสูงในหลายองค์การยังมีความเข้าใจที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งทาให้เกิดความ คาดหวังที่คลาดเคลื่อนจากความสามารถของระบบสารสนเทศ ซึ่งจะมีผลต่อความประทับใจ ความ เชื่อมั่นและการสนับสนุนต่อการพัฒนาระบบในอนาคต