SlideShare a Scribd company logo
 ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้ว
คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือ
ส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็น
ทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็น
ภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม
 ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และภาษาระดับต่า (low level) ภาษา
ระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตาม
กฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้
งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์
โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง
 ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-readable) และภาษาที่
มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและ
สื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่
อาจอ่านเข้าใจได้
ภาษาโปรแกรม
ภาษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคาสั่งแก่เครื่องจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุมพฤติกรรมของเครื่องจักร และ/หรือ แสดงออกด้วย
ขั้นตอนวิธี (algorithm) อย่างตรงไปตรงมา ผู้เขียนโปรแกรมซึ่งหมายถึงผู้ที่ใช้ภาษาโปรแกรม
เรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer)
ภาษาโปรแกรมในยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยถูกใช้เพื่อควบคุมการทางานของ
เครื่องทอผ้าของแจ็กการ์ดและเครื่องเล่นเปียโน ภาษาโปรแกรมต่าง ๆ หลายพันภาษาถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ใน
วงการคอมพิวเตอร์ และสาหรับวงการอื่นภาษาโปรแกรมก็เกิดขึ้นใหม่ทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่อธิบายการคิด
คานวณในรูปแบบเชิงคาสั่ง อาทิลาดับของคาสั่ง ถึงแม้ว่าบางภาษาจะใช้การอธิบายในรูปแบบอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาที่
สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ
การพรรณนาถึงภาษาโปรแกรมหนึ่ง ๆ มักจะแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่ วากยสัมพันธ์ (รูปแบบ) และ
อรรถศาสตร์ (ความหมาย) บางภาษาถูกนิยามขึ้นด้วยเอกสารข้อกาหนด (ตัวอย่างเช่น ภาษาซีเป็นภาษาหนึ่งที่กาหนด
โดยมาตรฐานไอโซ) ในขณะที่ภาษาอื่นอย่างภาษาเพิร์ลรุ่น 5 และก่อนหน้านั้น ใช้การทาให้เกิดผลแบบ
อ้างอิง (reference implementation) เป็นลักษณะเด่น
 ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
 ภาษาแอสเซมบลี (Assembly)
 ภาษาระดับสูง (High-level Languages)
◦ ภาษาซี (C)
◦ ภาษาซีพลัสพลัส (C++)
◦ ภาษาซีชาร์ป (C#)
◦ ภาษาโคบอล (COBOL)
◦ ภาษาปาสกาล (Pascal)
◦ ภาษาเบสิก (BASIC)
◦ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)
◦ ภาษาจาวา (Java)
◦ ภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript)
◦ ภาษาเพิร์ล (Perl)
◦ ภาษาพีเอชพี (PHP)
◦ ภาษาไพทอน (Python)
◦ ภาษาโปรล็อก (Prolog)
◦ ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี (Objective-C)
◦ ภาษารูบี้ (Ruby)
 ภาษาสอบถาม (Query language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลใน DBMS โดยภาษาประเภทนี้ที่
ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (Structure Query Language: SQL) คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็ม
ในทศวรรษที่ 1970 มีรูปแบบคาสั่งที่คล้ายกับ ประโยคในภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร แอนซี ได้ประกาศให้ภาษาสอบถาม
เชิงโครงสร้าง เป็นภาษามาตรฐานสาหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database management System หรือ
RDBMS) เป็นระบบ DBMS แบบที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบัน ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ทุกระบบจะใช้คาสั่ง
พื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือน ๆ กัน แต่อาจมีคาสั่งพิเศษที่แตกต่างกันบ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะ
พัฒนา RDBMS ของตนเองให้มีลักษณะที่เด่นกว่าระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกินข้อกาหนดของ แอนซี ซึ่งคิดว่าจะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้าไป
ตัวอย่างคาสั่ง และผลลัพธ์
 DELETE ใช้สาหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล
 INSERT ใช้สาหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดเข้าไปในฐานข้อมูล
 SELECT ใช้สาหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดที่ต้องการจากฐานข้อมูล
 UPDATE ใช้สาหรับแก้ไขหรือแก้ไขเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล
ตัวอย่างภาษาสอบถาม
 MDX
 OQL
 QUEL
 SQL
ระบบงาน ( System analysis and design ) มีการจัดขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์และ
สารสนเทศดังนี้
1.1 วิเคราะห์ระบบงานหรือปัญหา ( System or problem analysis ) รวมถึงรายละเอียดข้อมูลที่
ต้องใช้โดยการศึกษาระบบงานเดิมอย่างละเอียด
1.2 ก าหนดรายละเอียดของความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน ( Require-ments specification )
1.3 ออกแบบขั้นตอนวิธีการท างานของระบบใหม่
1.4 ตรวจสอบขั้นตอนวิธีให้ได้ผลตามความต้องการ
1.5 ออกแบบโปรแกรม ( Program design )
1.6 เขียนชุดค าสั่ง ( Coding )
1.7 ทดสอบโปรแกรม ( Testing ) และหาที่ผิดพลาด ( Debugging )
1.8 น าโปรแกรมและระบบงานไปใช้งานจริง ( Implementation or operation )
1.9 บ ารุงรักษา ติดตามผล แก้ไขปรับปรุง ( Software maintenance and improvement )
เพื่อให้ทันสมัยใช้ได้ตลอดไป จะเห็นว่าการพัฒนาระบบสารสนเทศ จ าเป็นจะต้องรู้ขั้นตอนวิธีการท างานของระบบ
เดิม ตามด้วยการหาวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรม จากนั้นจึงออกแบบวิธีการท างานใน
ระบบใหม่ให้ระเอียดซึ่งจะต้องมีการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมาช่วยท างานบางส่วน หรือทั้งหมด
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณใน
สายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย
วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้
ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับ
ระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์
ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ
วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้
1.) สิ่งที่ต้องการ
2.) สมการคานวณ
3.) ข้อมูล นาเข้า
4.) การแสดงผล
5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร
6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน
2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน
กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมี
ข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน
กระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง
ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอน
เดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงาน
และผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มี
ข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข
และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการ
ใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 ‟ 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียด
เกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
การเขียนผังงาน ( Flowchart )
ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทางานของโปรแกรมหรือระบบ
ทีละขั้นตอน โดยแต่ละสัญลักษณ์ในแผนภาพ จะหมายถึงการทางานหนึ่งขั้นตอน ส่วนลูกศรจะแทนลาดับการ
ทางานขั้นตอนต่างๆ รวมทั้งทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ระบบงานทุกชนิดที่
ผ่านการวิเคราะห์เป็นลาดับขั้นตอนแล้ว จะสามารถเขียนเป็นผังงานได้
ประโยชน์ของผังงาน
„ ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานได้ง่าย ไม่สับสน
„ ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขงานได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
„ ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
„ ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น
„ เราสามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์หรือภาษาใดภาษาหนึ่ง ผังงานเป็น
การสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกต่อการพิจารณาลาดับขั้นตอนในการทางานดีกว่าการบรรยายเป็น
ตัวอักษร
ข้อจากัดของการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานไม่เหมาะกับงานที่มีวิธีการซับซ้อน เช่น มีการที่เงื่อนไขในการทอสอบมากมาย ซึ่งมักจะใช้ตารางการ
ตัดสินใจ(DECISION TABLE) เข้ามาช่วยมากกว่า
วิธีการเขียนผังงานที่ดี
• ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้
• ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา
• คาอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย
• ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก
• ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
• ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
 การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปต่อไปนี้
 จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม
 ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล
 แสดงกิจกรรม หรือ ขั้นตอน
 การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพื่อแสดงทิศทางการทางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือ
เป็นเท็จ
 แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของเส้นหลายเส้นที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทางาน
อย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน
โครงสร้างการทางานแบบมีการทางานซ้า
เป็นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุ่มคาสั่งซ้าหลายครั้ง ตามลักษณะเงื่อนไขที่กาหนด อาจเรียก การทางาน
ซ้าแบบนี้ได้อีกแบบว่า การวนลูป ( Looping ) โครงสร้างแบบการทางานซ้านี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ
DOWHILE
เป็นโครงสร้างที่มีการทดสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะเข้ามาทางานในกลุ่ม คาสั่งที่ต้องทาซ้า ซึ่งเรียกว่า
การเข้าลูป หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นจริงอยู่ ก็ยังคงต้องทากลุ่มคาสั่ง
ซ้าหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปไปทาคาสั่งถัดไปที่อยู่ถัดจาก DO WHILE
หรืออาจเป็นการจบการทางาน
DO UNTIL
เป็นโครงสร้างการทางานแบบทางานซ้าเช่นกัน แต่มีการทางานที่แตกต่างจาก DO WHILE คือจะมีการเข้า
ทางานกลุ่มคาสั่งที่อยู่ภายในลูปก่อนอย่างน้อย 1 ครั้ง แล้วจึงจะไปทดสอบเงื่อนไข ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จก็จะมีการเข้า
ทากลุ่มคาสั่งที่ต้องทาซ้าอีก หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นเท็จอยู่ ก็ยัง
ต้องทากลุ่มคาสั่งซ้าหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง จึงจะออกจากลูปไปทาคาสั่งถัดจาก UNTIL
หรืออาจเป็นการจบการทางาน
สรุปข้อแตกต่างระหว่าง DO WHILE และ DO UNTIL มีดังนี้
1. DO WHILE ในการทางานครั้งแรกจะต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทุกครั้ง ก่อนที่จะมีการเข้าลูปการทางาน
2. DO UNTIL การทางานครั้งแรกจะยังไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข แต่จะเข้าไปทางานในลูปก่อนอย่างน้อย1 ครั้งแล้วจึง
จะไปตรวจสอบเงื่อนไข
3. DO WHILE จะมีการเข้าไปทางานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นจริง แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็น
เท็จ ก็จะออกจากลูปทันที
4. DO UNTIL จะมีการเข้าไปทางานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นเท็จ แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็น
จริง ก็จะออกจากลูปทันที
การวิเคราะห์งาน (Job Analization)
 การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการแก้ปัญหา จะต้อง
ดาเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับขั้นตอนการทางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรก
และขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็นลาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย
 การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สาคัญ
ที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่าง
ละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้า
เครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า
(Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการกาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน
 การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งมี
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตามลาดับดังนี้
◦ สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางานงานแต่ละชนิดอาจต้องการ
ให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการ
อาจจะดูที่คาสั่งหรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้องการให้ทาอะไรบ้าง
◦ ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการ
ให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่ต้องการในรายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียน
โปรแกรมที่จะต้องกาหนดรูปแบบว่างานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความ
สะดวกของผู้นาผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จาเป็นและมีความสาคัญ และต้องพิจารณาอย่าง
ละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงานจะทาให้เราทราบจุดหมายที่ต้องการ หรือเป็นการกาหนดขอบเขตของงาน
ที่เราต้องการทานั่นเอง
◦ ข้อมูลนาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงาน
แน่นอนแล้ว เราก็มาพิจารณาข้อมูลนาเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผล
ด้วย
◦ ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึงข้อมูล และการ
เขียนโปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้า
กับหลักเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ
◦ วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้
เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทาการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทางานทุกอย่าง
ตามลาดับ จึงจาเป็นจะต้องจัดลาดับการทางานตามลาดับก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุกขั้นตอน
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
1.สิ่งที่ต้องการ :
หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
2.รูปแบบผลลัพธ์ :
The area is xxxx
3.ข้อมูลนาเข้า :
ความกว้าง และ ความยาว
4.ตัวแปร :
L = ความยาว
W = ความกว้าง
rea = พื้นที่
5.วิธีประมวลผล :
 1) รับข้อมูล L
 2) รับข้อมูล W
 3) ประมวลผล(คานวณหาพื้นที่) Area = L*W
 4) แสดงผล “The area is xxxx”
 5) จบการทางาน
 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8
%B2%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%
B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
 http://krutuk.kkw2.ac.th/2012/wp-content/uploads/2012/06/Unit08.pdf
 http://www.learners.in.th/blogs/posts/311230
 http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5012/P_3/System%20Analysis%20and%20Desig
n/B6.htm
 http://programsc.wordpress.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E
0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%87
%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%8
1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%
A7%E0%B8%A2/%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B
8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0
%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%9B%E
0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B/
1.นายเจนรบ ตรุษกูล เลขที่ 1
2.นายณัฐชนน หมอกลาง เลขที่ 2
3.นายพงศธร อยู่คง เลขที่ 3
4.นางสาวชนกานต์ ดีคล้าย เลขที่ 13
5.นางสาวอินทุกร ป้อมหิน เลขที่ 25
6.นางสาวปานชนก บุญสมพักตร์ เลขที่ 36
7.นางสาวภรภัทร สงสาเภา เลขที่ 37
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

More Related Content

What's hot

การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Hm Thanachot
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
naraporn buanuch
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
B'Benz Sunisa
 

What's hot (19)

การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3Mook Prapasson
 
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4SteSte90
 
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4SteSte90
 
Fuentes del Derecho Tributario
Fuentes del Derecho Tributario Fuentes del Derecho Tributario
Fuentes del Derecho Tributario
Carlos Castillo
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3Mook Prapasson
 
Alkohol
AlkoholAlkohol
Alkohol
Uzie Midin
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
samraranvir
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3Mook Prapasson
 
El Arbitraje Comercial Internacional
El Arbitraje Comercial InternacionalEl Arbitraje Comercial Internacional
El Arbitraje Comercial Internacional
Carlos Castillo
 
Clasificación de los Tributo en Venezuela.
Clasificación de los  Tributo en Venezuela.Clasificación de los  Tributo en Venezuela.
Clasificación de los Tributo en Venezuela.
Carlos Castillo
 

Viewers also liked (15)

เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3
 
Access
AccessAccess
Access
 
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
 
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
StefaniaStipa_2010-2011_Esercizio4
 
Fuentes del Derecho Tributario
Fuentes del Derecho Tributario Fuentes del Derecho Tributario
Fuentes del Derecho Tributario
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3
 
Alkohol
AlkoholAlkohol
Alkohol
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Bauber
BauberBauber
Bauber
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3
 
El Arbitraje Comercial Internacional
El Arbitraje Comercial InternacionalEl Arbitraje Comercial Internacional
El Arbitraje Comercial Internacional
 
Clasificación de los Tributo en Venezuela.
Clasificación de los  Tributo en Venezuela.Clasificación de los  Tributo en Venezuela.
Clasificación de los Tributo en Venezuela.
 
Air & Water
Air & WaterAir & Water
Air & Water
 

Similar to Presentation1

Software
SoftwareSoftware
Software
Tay Chaloeykrai
 
Test1
Test1Test1
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติแบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
ตุลากร คำม่วง
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
Non Thanawat
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
Dai Punyawat
 
123456
123456123456
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ลูกแก้ว กนกวรรณ
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
ssuser07f67b
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
Pakkapong Kerdmanee
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
Thitima Kpe
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
monchai chaiprakarn
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 

Similar to Presentation1 (20)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติแบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
แบบทดสอบกลางภาค ทดสอบปฏิบัติ
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
123456
123456123456
123456
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 

More from Mook Prapasson

การแข่งขัน
การแข่งขันการแข่งขัน
การแข่งขันMook Prapasson
 
การแข่งขัน
การแข่งขันการแข่งขัน
การแข่งขันMook Prapasson
 
My map เมธอด
My map เมธอดMy map เมธอด
My map เมธอดMook Prapasson
 
My map เมธอด
My map เมธอดMy map เมธอด
My map เมธอดMook Prapasson
 
งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1Mook Prapasson
 
งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1Mook Prapasson
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์Mook Prapasson
 
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่องเทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่องMook Prapasson
 

More from Mook Prapasson (11)

การแข่งขัน
การแข่งขันการแข่งขัน
การแข่งขัน
 
การแข่งขัน
การแข่งขันการแข่งขัน
การแข่งขัน
 
My map เมธอด
My map เมธอดMy map เมธอด
My map เมธอด
 
My map เมธอด
My map เมธอดMy map เมธอด
My map เมธอด
 
ศิวกร
ศิวกร ศิวกร
ศิวกร
 
It new hoom
It new hoomIt new hoom
It new hoom
 
It news
It newsIt news
It news
 
งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1
 
งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1งานชิ้นที่ 1
งานชิ้นที่ 1
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
 
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่องเทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
เทคโนโลยี เครื่องฉาย Projector ขนาดเล็ก พกง่ายใช้คล่อง
 

Presentation1

  • 1.
  • 2.  ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้ว คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือ ส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็น ทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม  ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และภาษาระดับต่า (low level) ภาษา ระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตาม กฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้ งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์ โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง  ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-readable) และภาษาที่ มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและ สื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่ อาจอ่านเข้าใจได้
  • 3. ภาษาโปรแกรม ภาษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคาสั่งแก่เครื่องจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุมพฤติกรรมของเครื่องจักร และ/หรือ แสดงออกด้วย ขั้นตอนวิธี (algorithm) อย่างตรงไปตรงมา ผู้เขียนโปรแกรมซึ่งหมายถึงผู้ที่ใช้ภาษาโปรแกรม เรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer) ภาษาโปรแกรมในยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยถูกใช้เพื่อควบคุมการทางานของ เครื่องทอผ้าของแจ็กการ์ดและเครื่องเล่นเปียโน ภาษาโปรแกรมต่าง ๆ หลายพันภาษาถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ใน วงการคอมพิวเตอร์ และสาหรับวงการอื่นภาษาโปรแกรมก็เกิดขึ้นใหม่ทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่อธิบายการคิด คานวณในรูปแบบเชิงคาสั่ง อาทิลาดับของคาสั่ง ถึงแม้ว่าบางภาษาจะใช้การอธิบายในรูปแบบอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาที่ สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ การพรรณนาถึงภาษาโปรแกรมหนึ่ง ๆ มักจะแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่ วากยสัมพันธ์ (รูปแบบ) และ อรรถศาสตร์ (ความหมาย) บางภาษาถูกนิยามขึ้นด้วยเอกสารข้อกาหนด (ตัวอย่างเช่น ภาษาซีเป็นภาษาหนึ่งที่กาหนด โดยมาตรฐานไอโซ) ในขณะที่ภาษาอื่นอย่างภาษาเพิร์ลรุ่น 5 และก่อนหน้านั้น ใช้การทาให้เกิดผลแบบ อ้างอิง (reference implementation) เป็นลักษณะเด่น
  • 4.  ภาษาเครื่อง (Machine Languages)  ภาษาแอสเซมบลี (Assembly)  ภาษาระดับสูง (High-level Languages) ◦ ภาษาซี (C) ◦ ภาษาซีพลัสพลัส (C++) ◦ ภาษาซีชาร์ป (C#) ◦ ภาษาโคบอล (COBOL) ◦ ภาษาปาสกาล (Pascal) ◦ ภาษาเบสิก (BASIC) ◦ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ◦ ภาษาจาวา (Java) ◦ ภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript) ◦ ภาษาเพิร์ล (Perl) ◦ ภาษาพีเอชพี (PHP) ◦ ภาษาไพทอน (Python) ◦ ภาษาโปรล็อก (Prolog) ◦ ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี (Objective-C) ◦ ภาษารูบี้ (Ruby)
  • 5.  ภาษาสอบถาม (Query language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลใน DBMS โดยภาษาประเภทนี้ที่ ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (Structure Query Language: SQL) คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็ม ในทศวรรษที่ 1970 มีรูปแบบคาสั่งที่คล้ายกับ ประโยคในภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร แอนซี ได้ประกาศให้ภาษาสอบถาม เชิงโครงสร้าง เป็นภาษามาตรฐานสาหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database management System หรือ RDBMS) เป็นระบบ DBMS แบบที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบัน ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ทุกระบบจะใช้คาสั่ง พื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือน ๆ กัน แต่อาจมีคาสั่งพิเศษที่แตกต่างกันบ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะ พัฒนา RDBMS ของตนเองให้มีลักษณะที่เด่นกว่าระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกินข้อกาหนดของ แอนซี ซึ่งคิดว่าจะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้าไป ตัวอย่างคาสั่ง และผลลัพธ์  DELETE ใช้สาหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล  INSERT ใช้สาหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดเข้าไปในฐานข้อมูล  SELECT ใช้สาหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดที่ต้องการจากฐานข้อมูล  UPDATE ใช้สาหรับแก้ไขหรือแก้ไขเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล ตัวอย่างภาษาสอบถาม  MDX  OQL  QUEL  SQL
  • 6.
  • 7. ระบบงาน ( System analysis and design ) มีการจัดขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศดังนี้ 1.1 วิเคราะห์ระบบงานหรือปัญหา ( System or problem analysis ) รวมถึงรายละเอียดข้อมูลที่ ต้องใช้โดยการศึกษาระบบงานเดิมอย่างละเอียด 1.2 ก าหนดรายละเอียดของความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน ( Require-ments specification ) 1.3 ออกแบบขั้นตอนวิธีการท างานของระบบใหม่ 1.4 ตรวจสอบขั้นตอนวิธีให้ได้ผลตามความต้องการ 1.5 ออกแบบโปรแกรม ( Program design ) 1.6 เขียนชุดค าสั่ง ( Coding ) 1.7 ทดสอบโปรแกรม ( Testing ) และหาที่ผิดพลาด ( Debugging ) 1.8 น าโปรแกรมและระบบงานไปใช้งานจริง ( Implementation or operation ) 1.9 บ ารุงรักษา ติดตามผล แก้ไขปรับปรุง ( Software maintenance and improvement ) เพื่อให้ทันสมัยใช้ได้ตลอดไป จะเห็นว่าการพัฒนาระบบสารสนเทศ จ าเป็นจะต้องรู้ขั้นตอนวิธีการท างานของระบบ เดิม ตามด้วยการหาวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรม จากนั้นจึงออกแบบวิธีการท างานใน ระบบใหม่ให้ระเอียดซึ่งจะต้องมีการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมาช่วยท างานบางส่วน หรือทั้งหมด
  • 8. แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณใน สายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ ผู้อื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับ ระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้ 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้ 1.) สิ่งที่ต้องการ 2.) สมการคานวณ 3.) ข้อมูล นาเข้า 4.) การแสดงผล 5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร 6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน 2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมี ข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
  • 9. 3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ใน กระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้กาหนดไว้ 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอน เดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงาน และผู้ใช้ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มี ข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมีข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการ ใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุดคือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 ‟ 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียด เกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
  • 10. การเขียนผังงาน ( Flowchart ) ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทางานของโปรแกรมหรือระบบ ทีละขั้นตอน โดยแต่ละสัญลักษณ์ในแผนภาพ จะหมายถึงการทางานหนึ่งขั้นตอน ส่วนลูกศรจะแทนลาดับการ ทางานขั้นตอนต่างๆ รวมทั้งทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ระบบงานทุกชนิดที่ ผ่านการวิเคราะห์เป็นลาดับขั้นตอนแล้ว จะสามารถเขียนเป็นผังงานได้ ประโยชน์ของผังงาน „ ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานได้ง่าย ไม่สับสน „ ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขงานได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด „ ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว „ ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น „ เราสามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์หรือภาษาใดภาษาหนึ่ง ผังงานเป็น การสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกต่อการพิจารณาลาดับขั้นตอนในการทางานดีกว่าการบรรยายเป็น ตัวอักษร
  • 11. ข้อจากัดของการเขียนผังงาน การเขียนผังงานไม่เหมาะกับงานที่มีวิธีการซับซ้อน เช่น มีการที่เงื่อนไขในการทอสอบมากมาย ซึ่งมักจะใช้ตารางการ ตัดสินใจ(DECISION TABLE) เข้ามาช่วยมากกว่า วิธีการเขียนผังงานที่ดี • ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ • ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา • คาอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย • ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก • ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน • ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
  • 12.  การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปต่อไปนี้  จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม  ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล  แสดงกิจกรรม หรือ ขั้นตอน  การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพื่อแสดงทิศทางการทางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือ เป็นเท็จ  แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของเส้นหลายเส้นที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทางาน อย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน โครงสร้างการทางานแบบมีการทางานซ้า เป็นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุ่มคาสั่งซ้าหลายครั้ง ตามลักษณะเงื่อนไขที่กาหนด อาจเรียก การทางาน ซ้าแบบนี้ได้อีกแบบว่า การวนลูป ( Looping ) โครงสร้างแบบการทางานซ้านี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ
  • 13. DOWHILE เป็นโครงสร้างที่มีการทดสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะเข้ามาทางานในกลุ่ม คาสั่งที่ต้องทาซ้า ซึ่งเรียกว่า การเข้าลูป หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นจริงอยู่ ก็ยังคงต้องทากลุ่มคาสั่ง ซ้าหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปไปทาคาสั่งถัดไปที่อยู่ถัดจาก DO WHILE หรืออาจเป็นการจบการทางาน DO UNTIL เป็นโครงสร้างการทางานแบบทางานซ้าเช่นกัน แต่มีการทางานที่แตกต่างจาก DO WHILE คือจะมีการเข้า ทางานกลุ่มคาสั่งที่อยู่ภายในลูปก่อนอย่างน้อย 1 ครั้ง แล้วจึงจะไปทดสอบเงื่อนไข ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จก็จะมีการเข้า ทากลุ่มคาสั่งที่ต้องทาซ้าอีก หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นเท็จอยู่ ก็ยัง ต้องทากลุ่มคาสั่งซ้าหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง จึงจะออกจากลูปไปทาคาสั่งถัดจาก UNTIL หรืออาจเป็นการจบการทางาน
  • 14. สรุปข้อแตกต่างระหว่าง DO WHILE และ DO UNTIL มีดังนี้ 1. DO WHILE ในการทางานครั้งแรกจะต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทุกครั้ง ก่อนที่จะมีการเข้าลูปการทางาน 2. DO UNTIL การทางานครั้งแรกจะยังไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข แต่จะเข้าไปทางานในลูปก่อนอย่างน้อย1 ครั้งแล้วจึง จะไปตรวจสอบเงื่อนไข 3. DO WHILE จะมีการเข้าไปทางานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นจริง แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็น เท็จ ก็จะออกจากลูปทันที 4. DO UNTIL จะมีการเข้าไปทางานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นเท็จ แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็น จริง ก็จะออกจากลูปทันที
  • 15. การวิเคราะห์งาน (Job Analization)  การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการแก้ปัญหา จะต้อง ดาเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับขั้นตอนการทางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรก และขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็นลาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย  การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่าง ละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้า เครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการกาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน  การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งมี หลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตามลาดับดังนี้
  • 16. ◦ สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางานงานแต่ละชนิดอาจต้องการ ให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการ อาจจะดูที่คาสั่งหรือโจทย์ของงานนั้นๆว่าต้องการให้ทาอะไรบ้าง ◦ ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบของผลลัพธ์ที่เราต้องการ ให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่ต้องการในรายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียน โปรแกรมที่จะต้องกาหนดรูปแบบว่างานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความ สะดวกของผู้นาผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จาเป็นและมีความสาคัญ และต้องพิจารณาอย่าง ละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงานจะทาให้เราทราบจุดหมายที่ต้องการ หรือเป็นการกาหนดขอบเขตของงาน ที่เราต้องการทานั่นเอง ◦ ข้อมูลนาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงาน แน่นอนแล้ว เราก็มาพิจารณาข้อมูลนาเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผล ด้วย ◦ ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึงข้อมูล และการ เขียนโปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้า กับหลักเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ ◦ วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้ เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทาการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทางานทุกอย่าง ตามลาดับ จึงจาเป็นจะต้องจัดลาดับการทางานตามลาดับก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุกขั้นตอน
  • 17. ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 1.สิ่งที่ต้องการ : หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 2.รูปแบบผลลัพธ์ : The area is xxxx 3.ข้อมูลนาเข้า : ความกว้าง และ ความยาว 4.ตัวแปร : L = ความยาว W = ความกว้าง rea = พื้นที่ 5.วิธีประมวลผล :  1) รับข้อมูล L  2) รับข้อมูล W  3) ประมวลผล(คานวณหาพื้นที่) Area = L*W  4) แสดงผล “The area is xxxx”  5) จบการทางาน
  • 18.  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8 %B2%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0% B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C  http://krutuk.kkw2.ac.th/2012/wp-content/uploads/2012/06/Unit08.pdf  http://www.learners.in.th/blogs/posts/311230  http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5012/P_3/System%20Analysis%20and%20Desig n/B6.htm  http://programsc.wordpress.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E 0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%87 %E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%8 1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8% A7%E0%B8%A2/%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B 8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0 %B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%9B%E 0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B/
  • 19. 1.นายเจนรบ ตรุษกูล เลขที่ 1 2.นายณัฐชนน หมอกลาง เลขที่ 2 3.นายพงศธร อยู่คง เลขที่ 3 4.นางสาวชนกานต์ ดีคล้าย เลขที่ 13 5.นางสาวอินทุกร ป้อมหิน เลขที่ 25 6.นางสาวปานชนก บุญสมพักตร์ เลขที่ 36 7.นางสาวภรภัทร สงสาเภา เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2