SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึง
เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือน
ใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง
โดยไม่กาหนดตายตัว และไม่จาเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่าน
จุดอื่น ๆ หรือ เลือกไปเส้นทางอื่นได้หลาย ๆ เส้นทาง ดังรูป
พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจัยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ
ประเทศ สหรัฐอเมริกา คือAdvanced Research Projects Agency
(ARPA) ในปี1969 โครงการนี้เป็นการวิจัยเครือข่ายเพื่อ
 การสื่อสารของการทหารในกองทัพอเมริกา หรืออาจเรียกสั้นๆ ได้ว่า ARPA Net ในปี
ค.ศ. 1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครือข่ายร่วมกับ
มหาวิทยาลัยชั้นนาของอเมริกา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบา
บารา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัย
สแตนฟอร์ด และหลังจากนั้นเป็นต้นมาก็มีการใช้ อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น
 สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตเริ่มมีการใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา
นครินทร์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International
Development Plan) เพื่อให้มหาวิทยาลัยสามารถติต่อสื่อสารทาง
 อีเมลกับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ได้มีการติดตั้งระบบอีเมลขึ้นครั้งแรก โดย
ผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ว 2,400 บิต/วินาที จนกระทั่ง
วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีการส่งอีเมลฉบับแรกที่ติดต่อระหว่างประเทศไทยกับ
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงเปรียบเสมือนประตูทางผ่าน
(Gateway) ของไทยที่เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น
พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (ต่อ)
 ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(NECTEC) ได้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบันการศึกษาของรัฐ โดยมีชื่อ
ว่า เครือข่ายไทยสาร (Thai Social/Scientific Academic and
Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัย
สงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
(AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อให้บริการ
อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพื่อการศึกษาและวิจัย
 ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ขึ้น เพื่อให้บริการแก่
ประชาชน และภาคเอกชนต่างๆ ที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริษัท
อินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 (Internet Service Provider: ISP) เป็นบริษัทแรก เมื่อมีคนนิยม
ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 จึงได้ก่อตั้งเพิ่มขึ้นอีกมากมาย
การทางานของอินเทอร์เน็ต
 การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่งเป็น
ระเบียบวิธีการสื่อสารที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกาหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็น
มาตรฐานสาหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP
 (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
 เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องมี
หมายเลขประจาเครื่อง ที่เรียกว่า IP Address เพื่อเอาไว้อ้างอิงหรือติดต่อ
กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย ซึ่ง IP ในที่นี้ก็คือ Internet
Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง IP address ถูกจัดเป็น
ตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8
บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดย
คั่นแต่ละส่วนด้วยจุด (.) ดังนั้นในตัวเลขแต่ละส่วนนี้จึงมีค่าได้ไม่เกิน 256 คือ
ตั้งแต่ 0 จนถึง 255 เท่านั้น เช่น IP address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของ
สถาบันราชภัฎสวนดุสิต คือ 203.183.233.6 ซึ่ง IP Address ชุดนี้จะใช้เป็น
ที่อยู่เพื่อติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบkruumawan
 
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศนใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศนpeter dontoom
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลนายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตyutthapol maneesukrungrot
 
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตyutthapol maneesukrungrot
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet)
การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet)การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet)
การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet)Khemjira_P
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตครู อินดี้
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตHaprem HAprem
 
Unit2 communication
Unit2 communicationUnit2 communication
Unit2 communicationIrinApat
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Apichart Sodesiri
 
อินฟราเรด(พรจิรา วรัชยา)407
อินฟราเรด(พรจิรา วรัชยา)407อินฟราเรด(พรจิรา วรัชยา)407
อินฟราเรด(พรจิรา วรัชยา)407Waratchaya Arunpraparut
 

What's hot (19)

แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศนใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
 
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
Internet2
Internet2Internet2
Internet2
 
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet)
การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet)การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet)
การใช้งานอินเทอร์เน็ต (Internet)
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
Unit2 communication
Unit2 communicationUnit2 communication
Unit2 communication
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
208
208208
208
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
อินฟราเรด(พรจิรา วรัชยา)407
อินฟราเรด(พรจิรา วรัชยา)407อินฟราเรด(พรจิรา วรัชยา)407
อินฟราเรด(พรจิรา วรัชยา)407
 

Viewers also liked

Davaakhuu Davaakhuu Erdenekhuu Erdenekhuu Davaakhuu
Davaakhuu Davaakhuu Erdenekhuu Erdenekhuu DavaakhuuDavaakhuu Davaakhuu Erdenekhuu Erdenekhuu Davaakhuu
Davaakhuu Davaakhuu Erdenekhuu Erdenekhuu DavaakhuuDavaakhuu Erdenekhuu
 
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - di Roberta Crialesi
Incidenti stradali in Italia nel 2014 -  di Roberta CrialesiIncidenti stradali in Italia nel 2014 -  di Roberta Crialesi
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - di Roberta CrialesiIstituto nazionale di statistica
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
ΠΑΡΟΥΣΙΑΣΗ ΔΙΑΧΕΙΡΙΣΗΣ 2001
ΠΑΡΟΥΣΙΑΣΗ ΔΙΑΧΕΙΡΙΣΗΣ 2001ΠΑΡΟΥΣΙΑΣΗ ΔΙΑΧΕΙΡΙΣΗΣ 2001
ΠΑΡΟΥΣΙΑΣΗ ΔΙΑΧΕΙΡΙΣΗΣ 2001Ilias Alexiou
 
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - Roberta Crialesi, Silvia Bruzzone
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - Roberta Crialesi, Silvia BruzzoneIncidenti stradali in Italia nel 2014 - Roberta Crialesi, Silvia Bruzzone
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - Roberta Crialesi, Silvia BruzzoneIstituto nazionale di statistica
 
Gli incidenti stradali con lesioni alle persone nel 2014 - Evidenze territori...
Gli incidenti stradali con lesioni alle persone nel 2014 - Evidenze territori...Gli incidenti stradali con lesioni alle persone nel 2014 - Evidenze territori...
Gli incidenti stradali con lesioni alle persone nel 2014 - Evidenze territori...Istituto nazionale di statistica
 
Fluidoterapia coloidescristaloides
Fluidoterapia coloidescristaloidesFluidoterapia coloidescristaloides
Fluidoterapia coloidescristaloidesNelly Garcia Correa
 
Retention of maxillofacial prosthesis./cosmetic dentistry course
Retention of maxillofacial prosthesis./cosmetic dentistry courseRetention of maxillofacial prosthesis./cosmetic dentistry course
Retention of maxillofacial prosthesis./cosmetic dentistry courseIndian dental academy
 
Pro y contras de las soluciones hiperosmolares - CICAT-SALUD
Pro y contras de las soluciones hiperosmolares - CICAT-SALUDPro y contras de las soluciones hiperosmolares - CICAT-SALUD
Pro y contras de las soluciones hiperosmolares - CICAT-SALUDCICAT SALUD
 
ΣΕΒ, Μηνιαίο Δελτίο 13-2-2017
ΣΕΒ, Μηνιαίο Δελτίο 13-2-2017ΣΕΒ, Μηνιαίο Δελτίο 13-2-2017
ΣΕΒ, Μηνιαίο Δελτίο 13-2-2017Panayotis Sofianopoulos
 

Viewers also liked (20)

Occupational health and safety
Occupational health and safetyOccupational health and safety
Occupational health and safety
 
Ley de relaciones laborales andaluces
Ley de relaciones laborales andalucesLey de relaciones laborales andaluces
Ley de relaciones laborales andaluces
 
Davaakhuu Davaakhuu Erdenekhuu Erdenekhuu Davaakhuu
Davaakhuu Davaakhuu Erdenekhuu Erdenekhuu DavaakhuuDavaakhuu Davaakhuu Erdenekhuu Erdenekhuu Davaakhuu
Davaakhuu Davaakhuu Erdenekhuu Erdenekhuu Davaakhuu
 
Spanish constitution in english
Spanish constitution in englishSpanish constitution in english
Spanish constitution in english
 
3. Hipertensao
3. Hipertensao3. Hipertensao
3. Hipertensao
 
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - di Roberta Crialesi
Incidenti stradali in Italia nel 2014 -  di Roberta CrialesiIncidenti stradali in Italia nel 2014 -  di Roberta Crialesi
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - di Roberta Crialesi
 
Davaakhuu Erdenekhuu
Davaakhuu ErdenekhuuDavaakhuu Erdenekhuu
Davaakhuu Erdenekhuu
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
Shabelle River Wocca
Shabelle River WoccaShabelle River Wocca
Shabelle River Wocca
 
ΠΑΡΟΥΣΙΑΣΗ ΔΙΑΧΕΙΡΙΣΗΣ 2001
ΠΑΡΟΥΣΙΑΣΗ ΔΙΑΧΕΙΡΙΣΗΣ 2001ΠΑΡΟΥΣΙΑΣΗ ΔΙΑΧΕΙΡΙΣΗΣ 2001
ΠΑΡΟΥΣΙΑΣΗ ΔΙΑΧΕΙΡΙΣΗΣ 2001
 
Tombstone Q1 16
Tombstone Q1 16Tombstone Q1 16
Tombstone Q1 16
 
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - Roberta Crialesi, Silvia Bruzzone
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - Roberta Crialesi, Silvia BruzzoneIncidenti stradali in Italia nel 2014 - Roberta Crialesi, Silvia Bruzzone
Incidenti stradali in Italia nel 2014 - Roberta Crialesi, Silvia Bruzzone
 
Kompania DEKA
Kompania DEKAKompania DEKA
Kompania DEKA
 
8.prov rest
8.prov rest8.prov rest
8.prov rest
 
Gli incidenti stradali con lesioni alle persone nel 2014 - Evidenze territori...
Gli incidenti stradali con lesioni alle persone nel 2014 - Evidenze territori...Gli incidenti stradali con lesioni alle persone nel 2014 - Evidenze territori...
Gli incidenti stradali con lesioni alle persone nel 2014 - Evidenze territori...
 
Fluidoterapia coloidescristaloides
Fluidoterapia coloidescristaloidesFluidoterapia coloidescristaloides
Fluidoterapia coloidescristaloides
 
Retention of maxillofacial prosthesis./cosmetic dentistry course
Retention of maxillofacial prosthesis./cosmetic dentistry courseRetention of maxillofacial prosthesis./cosmetic dentistry course
Retention of maxillofacial prosthesis./cosmetic dentistry course
 
Pro y contras de las soluciones hiperosmolares - CICAT-SALUD
Pro y contras de las soluciones hiperosmolares - CICAT-SALUDPro y contras de las soluciones hiperosmolares - CICAT-SALUD
Pro y contras de las soluciones hiperosmolares - CICAT-SALUD
 
ΣΕΒ, Μηνιαίο Δελτίο 13-2-2017
ΣΕΒ, Μηνιαίο Δελτίο 13-2-2017ΣΕΒ, Μηνιαίο Δελτίο 13-2-2017
ΣΕΒ, Μηνιαίο Δελτίο 13-2-2017
 
20 oclusion monoplana con rampas de balance
20 oclusion monoplana con rampas de balance20 oclusion monoplana con rampas de balance
20 oclusion monoplana con rampas de balance
 

Similar to ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

ใบความรู้ เรื่อง
ใบความรู้  เรื่องใบความรู้  เรื่อง
ใบความรู้ เรื่องWanlop Chimpalee
 
ใบความรู้ เรื่อง
ใบความรู้  เรื่องใบความรู้  เรื่อง
ใบความรู้ เรื่องWanlop Chimpalee
 
งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้Phai Trinod
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้Phai Trinod
 
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในaru
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตfanchan7777
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
การค้นหาข้อมูล
การค้นหาข้อมูลการค้นหาข้อมูล
การค้นหาข้อมูล007meena
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559kkrunuch
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตSamart Phetdee
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptxลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptxมติพร อัมพรรัตน์
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 

Similar to ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (20)

ใบความรู้ เรื่อง
ใบความรู้  เรื่องใบความรู้  เรื่อง
ใบความรู้ เรื่อง
 
ใบความรู้ เรื่อง
ใบความรู้  เรื่องใบความรู้  เรื่อง
ใบความรู้ เรื่อง
 
งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้
 
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
 
2
22
2
 
2
22
2
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
การค้นหาข้อมูล
การค้นหาข้อมูลการค้นหาข้อมูล
การค้นหาข้อมูล
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptxลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 

More from apisak smutpha

การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้apisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้apisak smutpha
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 

More from apisak smutpha (11)

การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
มรรยาทระเบียบข้อบังคับการใช้
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
 

ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

  • 1. ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ความหมายของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือน ใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่กาหนดตายตัว และไม่จาเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่าน จุดอื่น ๆ หรือ เลือกไปเส้นทางอื่นได้หลาย ๆ เส้นทาง ดังรูป
  • 2. พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต  อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจัยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ ประเทศ สหรัฐอเมริกา คือAdvanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี1969 โครงการนี้เป็นการวิจัยเครือข่ายเพื่อ  การสื่อสารของการทหารในกองทัพอเมริกา หรืออาจเรียกสั้นๆ ได้ว่า ARPA Net ในปี ค.ศ. 1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครือข่ายร่วมกับ มหาวิทยาลัยชั้นนาของอเมริกา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบา บารา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ด และหลังจากนั้นเป็นต้นมาก็มีการใช้ อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น  สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตเริ่มมีการใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา นครินทร์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้มหาวิทยาลัยสามารถติต่อสื่อสารทาง  อีเมลกับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ได้มีการติดตั้งระบบอีเมลขึ้นครั้งแรก โดย ผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ว 2,400 บิต/วินาที จนกระทั่ง วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีการส่งอีเมลฉบับแรกที่ติดต่อระหว่างประเทศไทยกับ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงเปรียบเสมือนประตูทางผ่าน (Gateway) ของไทยที่เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น
  • 3. พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (ต่อ)  ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบันการศึกษาของรัฐ โดยมีชื่อ ว่า เครือข่ายไทยสาร (Thai Social/Scientific Academic and Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัย สงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อให้บริการ อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพื่อการศึกษาและวิจัย  ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ขึ้น เพื่อให้บริการแก่ ประชาชน และภาคเอกชนต่างๆ ที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริษัท อินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต  (Internet Service Provider: ISP) เป็นบริษัทแรก เมื่อมีคนนิยม ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต  จึงได้ก่อตั้งเพิ่มขึ้นอีกมากมาย
  • 4. การทางานของอินเทอร์เน็ต  การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่งเป็น ระเบียบวิธีการสื่อสารที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกาหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็น มาตรฐานสาหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP  (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)  เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องมี หมายเลขประจาเครื่อง ที่เรียกว่า IP Address เพื่อเอาไว้อ้างอิงหรือติดต่อ กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย ซึ่ง IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง IP address ถูกจัดเป็น ตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดย คั่นแต่ละส่วนด้วยจุด (.) ดังนั้นในตัวเลขแต่ละส่วนนี้จึงมีค่าได้ไม่เกิน 256 คือ ตั้งแต่ 0 จนถึง 255 เท่านั้น เช่น IP address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของ สถาบันราชภัฎสวนดุสิต คือ 203.183.233.6 ซึ่ง IP Address ชุดนี้จะใช้เป็น ที่อยู่เพื่อติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย