SlideShare a Scribd company logo
ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (internet) มาจากคาว่า inter connection network
หมายถึง เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ เชื่อมโยงเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลกให้สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้ โดยใช้มาตรฐาน
เดียวกันในการรับส่งข้อมูล (สุวิช ถิระโคตร, 2554, หน้า 9) ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์
แต่ละเครื่องสามารถรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เช่น ตัวอักษร ภาพและเสียงได้
สามารถค้นหาข้อมูลจากที่ต่างๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เพราะอินเทอร์เน็ตมี
มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลที่ชัดเจนเป็นหนึ่งเดียวจึงทาให้การเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันสามารถทาได้อย่างสะดวก ซึ่งโดยทั่วไปแล้วคอมพิวเตอร์
ที่เชื่อมต่อกันเข้าเป็นเครือข่ายหลักของอินเทอร์เน็ต มักจะเป็นระบบเครือข่ายของ
มินิคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่ายท้องถิ่นและเครือข่ายของ
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ จึงอาจกล่าวได้ว่าอินเทอร์เน็ตเป็น เครือข่ายของเครือข่าย
(network of network) ส่วนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลนั้นมักจะไม่เชื่อมต่อกับ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตตลอดเวลาเพียงแต่เชื่อมต่อเข้าไปตามความต้องการในการ
ใช้งานเท่านั้น
ประวัติความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางการทหารของ
กระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกาที่มีชื่อโครงการว่าอาร์พาเน็ต (ARPANET:
advanced research project agency) เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยมีรูปเเบบของการทางาน
ทางานที่เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ได้ในหลายๆ เส้นทาง ถึงแม้ว่าจะมีคอมพิวเตอร์บางเครื่องใน
เครื่องในเครือข่ายถูกทาลายหรือขัดข้อง แต่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ก็ยังสามารถ
ติดต่อสื่อสารกันได้โดยผ่านเส้นทางอื่นที่ยังใช้งานได้ดี นอกจากนี้ยังใช้ในการทดลอง
ทดลองสาหรับพัฒนาวิธีควบคุมการส่งผ่านตามมาตรฐาน
อินเทอร์เน็ต (tranmission contocol protocol/internet protocol : TCP/IP)
เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถติอต่อกันได้โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ซึ่งถือ
ว่าเป็นสิ่ง สาคัญที่อาร์พาเน็ตได้วางรากฐานไว้ให้กับอินเทอร์เน็ตเพราะจาก
มาตรฐานการรับส่งข้อมูลแบบ TCP/IP ทาให้ครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน
สามารถติดต่อสื่อสารและรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้
พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ในยุคที่เครือข่ายสังคมปัจจุบันมีการติดต่อและแลกเปลี่ยนข่าวสารผ่าน
เครือข่ายออนไลน์หรืออินเทอร์เน็ต ระบบอินเทอร์เน็ตจึงได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีเว็บ
เทคโนโลยีเว็บอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองต่อความต้องการและความสะดวกในการ
การติดต่อสื่อสาร จากอดีตที่เป็นเว็บ 1.0 มาเป็นเว็บ 2.0 และเข้าสู่เว็บ 3.0 โดยเว็บ
เว็บเชิงความหมายเป็นเทคโนโลยีหนึ่งของเว็บ 3.0 ที่ทาให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลของ
ของเว็บผู้พัฒนาและเว็บของแหล่งข้อมูลอื่นที่สัมพันธ์กัน ทาให้เกิดระบบสืบค้นที่มี
มีประสิทธิภาพ สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและตรงประเด็นภายใต้
ความสัมพันธ์ของคาที่มีความหมายต่อกัน และสามารถเชื่อมโยงไปยังข้อมูลที่ต้องการ
ต้องการอย่างแท้จริงด้วยรูปแบบการติดต่อสื่อสารข้อมูลจากเทคโนโลยี XML
(extensive markup language), RDF (resource description framework) และ
อินเทอร์เน็ต (tranmission contocol protocol/internet protocol : TCP/IP)
เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถติอต่อกันได้โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ซึ่งถือ
ว่าเป็นสิ่ง สาคัญที่อาร์พาเน็ตได้วางรากฐานไว้ให้กับอินเทอร์เน็ตเพราะจาก
มาตรฐานการรับส่งข้อมูลแบบ TCP/IP ทาให้ครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน
สามารถติดต่อสื่อสารและรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้
เทคโนโลยีที่ใช้ในการสร้างเว็บ 3.0 ประกอบด้วย
1. artificial intelligence (AI) เป็นการนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้วิเคราะห์
พฤติกรรมและความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้เกิดการทางานอย่างอัตโนมัติ
2. automated reasoning เป็นการสร้างระบบให้มีการประมวลผลอย่างสม
เหตุผลแบบอัตโนมัติ โดยใช้หลักการทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการวิเคราะห์และ
ประมวลผล
3. cognitive architecture เป็นการนาเสนอระบบประมวลผลที่มีการทางาน
เหมือนกันด้วยการสร้างเครื่องมือในโลกเสมือนมาใช้ในการทางานจริง
4. composite applications เป็นระบบประยุกต์ที่สร้างจากการรวมหลายระบบ
เข้าด้วยกัน เพื่อทาให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งานมากขึ้น
5. distributed computing เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่อง ที่สามารถ
สื่อสารถึงกันได้บนเครือข่ายในการประมวลผล โดยใช้ส่วนที่แตกต่างกันของ
โปรแกรมเข้ามาช่วยประมวลผลในการทางาน
6. human-based genetic algorithms เป็นกระบวนการที่อนุญาตให้มนุษย์
สามารถสร้างนวัตกรรมที่ทาให้สามารถเปลี่ยนแปลง เกี่ยวพันและเชื่อมโยงกันได้
หลายรูปแบบแล้วแต่ความต้องการ
7. knowledge representation เป็นวิธีการที่ระบบใช้ในการเข้ารหัสและเก็บ
ความรู้ในฐานความรู้
8. web ontology language (OWL) เป็นภาษาที่ใช้อธิบายข้อมูลในเว็บไซต์จาก
ความสัมพันธ์ โดยพิจารณาจากความหมายของสิ่งต่างๆ ทาให้เกิดประสิทธิภาพ
ในการค้นหาข้อมูล
9. scalable vector graphics (SVG) เป็นรูปแบบของ XML ที่นิยามวัตถุใน
ภาพวาดด้วย point path และ shape
10. semantic web เป็นเว็บเชิงความหมายที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลที่สัมพันธ์
กันเข้าด้วยกันทั้งจากแหล่งข้อมูลเดียวกันและต่างแหล่งกัน ทาให้เกิดการ
เชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าด้วยกัน
11. semantic wiki เป็นการอธิบายข้อมูลซ฾อนข้อมูล และให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
กับคาที่ต้องการได้อย่างถูกต้องและแม่นยาขึ้น
12. software agent เป็นโปรแกรมที่สามารถเป็นตัวแทนในการทางานตามที่
กาหนดแบบอัตโนมัติ
องค์กรเว็บไซต์สากล (world wide web consortium : W3C) ได้กาหนดคา
สาคัญที่เป็นมาตรฐานสาหรับเว็บ 3.0 คือ ต้องเป็นเว็บที่มีคุณลักษณะเว็บเชิง
ความหมายที่สามารถประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลที่เชื่อมโยงกันจากความ
ต้องการของผู้ใช้ อาจกล่าวได้ว่า เว็บเชิงความหมาย เป็นเทคโนโลยีหนึ่งของเว็บ
3.0 ที่เน้นการจัดการกับเนื้อหาที่มีการจัดเก็บใน metadata ที่มีการแบ่งข้อมูล
ออกเป็นส่วนย่อยหรือฐานข้อมูลความรู้ ontology เพื่อนิยามความหมายของ
ข้อมูลและอาศัยหลักการเชื่อมโยงชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กัน โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆ
เช่น RDF, OWL ทาให้ระบบสืบค้นของเว็บเชิงความหมายนาไปประมวลผลและ
แสดงผลได้อย่างมีประสิทธิภาพในประเด็นที่ตรงกับความต้องการ โดยผู้ใช้
สามารถเชื่อมต่อการใช้งานแอพพลิเคชันบนอุปกรณ์ใดก็ได้ ทั้งคอมพิวเตอร์และ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมทั้งสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่ายผ่านการเชื่อมโยง
ฐานข้อมูลความรู้

More Related Content

What's hot

งานคอม 656
งานคอม 656งานคอม 656
งานคอม 656
Wittawat Kaodee
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)Krusine soyo
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ACR
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPornpimon Aom
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
Mevenwen Singollo
 
ใบความรู้ที่ 9 (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 9 (ต่อ)ใบความรู้ที่ 9 (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 9 (ต่อ)mindar
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ACR
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
hisogakung
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
Wittawat Kaodee
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
woobingirlfriend
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2man15447
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
ครู อินดี้
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22terdtanin
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
พีรพัฒน์ บุญวัชรพันธ์สกุล
 

What's hot (16)

งานคอม 656
งานคอม 656งานคอม 656
งานคอม 656
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
ใบความรู้ที่ 9 (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 9 (ต่อ)ใบความรู้ที่ 9 (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 9 (ต่อ)
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 

Similar to ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
Internet
InternetInternet
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
Kantida SilverSoul
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
พีรพัฒน์ บุญวัชรพันธ์สกุล
 
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
พีรพัฒน์ บุญวัชรพันธ์สกุล
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Wittawat Kaodee
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
Chalermkiat Aum
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้
Phai Trinod
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้
Phai Trinod
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีPheeranan Thetkham
 

Similar to ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (20)

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท1
 
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
 

More from วีรวัฒน์ สว่างแสง

10741756 764342770324920 1621793549_n
10741756 764342770324920 1621793549_n10741756 764342770324920 1621793549_n
10741756 764342770324920 1621793549_n
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 

More from วีรวัฒน์ สว่างแสง (11)

บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
10741756 764342770324920 1621793549_n
10741756 764342770324920 1621793549_n10741756 764342770324920 1621793549_n
10741756 764342770324920 1621793549_n
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

  • 2. อินเทอร์เน็ต (internet) มาจากคาว่า inter connection network หมายถึง เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ เชื่อมโยงเครื่อง คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลกให้สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้ โดยใช้มาตรฐาน เดียวกันในการรับส่งข้อมูล (สุวิช ถิระโคตร, 2554, หน้า 9) ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่องสามารถรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เช่น ตัวอักษร ภาพและเสียงได้ สามารถค้นหาข้อมูลจากที่ต่างๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เพราะอินเทอร์เน็ตมี มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลที่ชัดเจนเป็นหนึ่งเดียวจึงทาให้การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันสามารถทาได้อย่างสะดวก ซึ่งโดยทั่วไปแล้วคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกันเข้าเป็นเครือข่ายหลักของอินเทอร์เน็ต มักจะเป็นระบบเครือข่ายของ มินิคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่ายท้องถิ่นและเครือข่ายของ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ จึงอาจกล่าวได้ว่าอินเทอร์เน็ตเป็น เครือข่ายของเครือข่าย (network of network) ส่วนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลนั้นมักจะไม่เชื่อมต่อกับ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตตลอดเวลาเพียงแต่เชื่อมต่อเข้าไปตามความต้องการในการ ใช้งานเท่านั้น
  • 3. ประวัติความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางการทหารของ กระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกาที่มีชื่อโครงการว่าอาร์พาเน็ต (ARPANET: advanced research project agency) เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยมีรูปเเบบของการทางาน ทางานที่เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ได้ในหลายๆ เส้นทาง ถึงแม้ว่าจะมีคอมพิวเตอร์บางเครื่องใน เครื่องในเครือข่ายถูกทาลายหรือขัดข้อง แต่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ก็ยังสามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้โดยผ่านเส้นทางอื่นที่ยังใช้งานได้ดี นอกจากนี้ยังใช้ในการทดลอง ทดลองสาหรับพัฒนาวิธีควบคุมการส่งผ่านตามมาตรฐาน
  • 4. อินเทอร์เน็ต (tranmission contocol protocol/internet protocol : TCP/IP) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถติอต่อกันได้โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ซึ่งถือ ว่าเป็นสิ่ง สาคัญที่อาร์พาเน็ตได้วางรากฐานไว้ให้กับอินเทอร์เน็ตเพราะจาก มาตรฐานการรับส่งข้อมูลแบบ TCP/IP ทาให้ครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน สามารถติดต่อสื่อสารและรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้
  • 5. พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ในยุคที่เครือข่ายสังคมปัจจุบันมีการติดต่อและแลกเปลี่ยนข่าวสารผ่าน เครือข่ายออนไลน์หรืออินเทอร์เน็ต ระบบอินเทอร์เน็ตจึงได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีเว็บ เทคโนโลยีเว็บอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองต่อความต้องการและความสะดวกในการ การติดต่อสื่อสาร จากอดีตที่เป็นเว็บ 1.0 มาเป็นเว็บ 2.0 และเข้าสู่เว็บ 3.0 โดยเว็บ เว็บเชิงความหมายเป็นเทคโนโลยีหนึ่งของเว็บ 3.0 ที่ทาให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลของ ของเว็บผู้พัฒนาและเว็บของแหล่งข้อมูลอื่นที่สัมพันธ์กัน ทาให้เกิดระบบสืบค้นที่มี มีประสิทธิภาพ สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและตรงประเด็นภายใต้ ความสัมพันธ์ของคาที่มีความหมายต่อกัน และสามารถเชื่อมโยงไปยังข้อมูลที่ต้องการ ต้องการอย่างแท้จริงด้วยรูปแบบการติดต่อสื่อสารข้อมูลจากเทคโนโลยี XML (extensive markup language), RDF (resource description framework) และ
  • 6. อินเทอร์เน็ต (tranmission contocol protocol/internet protocol : TCP/IP) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถติอต่อกันได้โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ซึ่งถือ ว่าเป็นสิ่ง สาคัญที่อาร์พาเน็ตได้วางรากฐานไว้ให้กับอินเทอร์เน็ตเพราะจาก มาตรฐานการรับส่งข้อมูลแบบ TCP/IP ทาให้ครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน สามารถติดต่อสื่อสารและรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้
  • 7. เทคโนโลยีที่ใช้ในการสร้างเว็บ 3.0 ประกอบด้วย 1. artificial intelligence (AI) เป็นการนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้วิเคราะห์ พฤติกรรมและความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้เกิดการทางานอย่างอัตโนมัติ 2. automated reasoning เป็นการสร้างระบบให้มีการประมวลผลอย่างสม เหตุผลแบบอัตโนมัติ โดยใช้หลักการทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการวิเคราะห์และ ประมวลผล 3. cognitive architecture เป็นการนาเสนอระบบประมวลผลที่มีการทางาน เหมือนกันด้วยการสร้างเครื่องมือในโลกเสมือนมาใช้ในการทางานจริง
  • 8. 4. composite applications เป็นระบบประยุกต์ที่สร้างจากการรวมหลายระบบ เข้าด้วยกัน เพื่อทาให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งานมากขึ้น 5. distributed computing เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่อง ที่สามารถ สื่อสารถึงกันได้บนเครือข่ายในการประมวลผล โดยใช้ส่วนที่แตกต่างกันของ โปรแกรมเข้ามาช่วยประมวลผลในการทางาน 6. human-based genetic algorithms เป็นกระบวนการที่อนุญาตให้มนุษย์ สามารถสร้างนวัตกรรมที่ทาให้สามารถเปลี่ยนแปลง เกี่ยวพันและเชื่อมโยงกันได้ หลายรูปแบบแล้วแต่ความต้องการ
  • 9. 7. knowledge representation เป็นวิธีการที่ระบบใช้ในการเข้ารหัสและเก็บ ความรู้ในฐานความรู้ 8. web ontology language (OWL) เป็นภาษาที่ใช้อธิบายข้อมูลในเว็บไซต์จาก ความสัมพันธ์ โดยพิจารณาจากความหมายของสิ่งต่างๆ ทาให้เกิดประสิทธิภาพ ในการค้นหาข้อมูล 9. scalable vector graphics (SVG) เป็นรูปแบบของ XML ที่นิยามวัตถุใน ภาพวาดด้วย point path และ shape
  • 10. 10. semantic web เป็นเว็บเชิงความหมายที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลที่สัมพันธ์ กันเข้าด้วยกันทั้งจากแหล่งข้อมูลเดียวกันและต่างแหล่งกัน ทาให้เกิดการ เชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าด้วยกัน 11. semantic wiki เป็นการอธิบายข้อมูลซ฾อนข้อมูล และให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับคาที่ต้องการได้อย่างถูกต้องและแม่นยาขึ้น 12. software agent เป็นโปรแกรมที่สามารถเป็นตัวแทนในการทางานตามที่ กาหนดแบบอัตโนมัติ องค์กรเว็บไซต์สากล (world wide web consortium : W3C) ได้กาหนดคา สาคัญที่เป็นมาตรฐานสาหรับเว็บ 3.0 คือ ต้องเป็นเว็บที่มีคุณลักษณะเว็บเชิง
  • 11. ความหมายที่สามารถประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลที่เชื่อมโยงกันจากความ ต้องการของผู้ใช้ อาจกล่าวได้ว่า เว็บเชิงความหมาย เป็นเทคโนโลยีหนึ่งของเว็บ 3.0 ที่เน้นการจัดการกับเนื้อหาที่มีการจัดเก็บใน metadata ที่มีการแบ่งข้อมูล ออกเป็นส่วนย่อยหรือฐานข้อมูลความรู้ ontology เพื่อนิยามความหมายของ ข้อมูลและอาศัยหลักการเชื่อมโยงชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กัน โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆ เช่น RDF, OWL ทาให้ระบบสืบค้นของเว็บเชิงความหมายนาไปประมวลผลและ แสดงผลได้อย่างมีประสิทธิภาพในประเด็นที่ตรงกับความต้องการ โดยผู้ใช้ สามารถเชื่อมต่อการใช้งานแอพพลิเคชันบนอุปกรณ์ใดก็ได้ ทั้งคอมพิวเตอร์และ โทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมทั้งสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่ายผ่านการเชื่อมโยง ฐานข้อมูลความรู้