SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
นักวิชาการที่แท้จริงเป็นอย่างไร
ผมได้อ่านคาสัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์
อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์
จากหนังสือพิมพ์มติชน ซึ่งท่านให้สัมภาษณ์ในฐานะ
ประธานคณะกรรมการปฏิรูปการเมือง
โดยท่านได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลให้ทาหน้าที่คณะกรรมการแ
ก้ไขรัฐธรรมนูญตาม แผนปรองดองแห่งชาติ ของคุณอภิสิทธิ์
เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
การเข้ามามีบทบาทแก้วิกฤติชาติของ ดร.สมบัติ
ธารงธัญวงศ์ ครั้งนี้ เลยทาให้ผมนึกย้อนหลังไปเมื่อประมาณ 30
ปีที่แล้ว
ท่านก็เคยเข้ามามีบทบาทแก้ปัญหาร้ายแรงของชาติในปัญหา
สงครามกลางเมือง ตามคาสั่งสานักนายกรัฐมนตรีที่ 66 / 2523
เรื่องนโยบายการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ด้วยเช่นกัน
ซึ่งสั่งการโดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี
ต่างกันแต่ว่าครั้งนี้ท่านทาตาม “แผน” ครั้งก่อน ท่านทาตาม
“นโยบาย” ของรัฐบาล ซึ่งผู้รู้ทั้งหลายก็ย่อมรู้ดีว่า นโยบาย
(Policy) นั้นแก้ปัญหาของชาติได้ แต่แผน (Map)
นั้นไม่ใช่นโยบายแก้ปัญหาไม่ได้แน่นอน
ข้อ4.5 ของนโยบาย 66 / 2523
ว่าด้วยการปฏิบัติความว่า “สนับสนุนการจัดตั้ง
“ขบวนการประชาธิปไตย” ทั้งสิ้นที่มีอยู่
โดยคานึงถึงสิทธิและผลประโยชน์ของกลุ่มชนนั้นๆ อันพึงจะมี
ให้ระมัดระวังและอย่าสับสนระหว่าง “ขบวนการประชาธิปไตย”
กับ “ขบวนการคอมมิวนิสต์”
ที่แอบแฝงโดยยกประชาธิปไตยนาหน้า”
หลังจากคาสั่งสานักนายกฯ ประกาศใช้แล้วไม่นาน
ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ ตามนโยบาย 66 / 2523
จึงได้ถือกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการและมีการรวมตัวกันขององค์ก
รมวลชนและคณะบุคคลต่างๆ
ฝ่ายประชาธิปไตยอย่างกว้างขวางมากมาย
ผนึกกาลังขึ้นในรูปของ “ขบวนการเมือง” (Political Movement)
หรือกระบวนการทางการเมืองของฝ่ายประชาธิปไตย
โดยเฉพาะองค์การหลักของขบวนการประชาธิปไตยในขณะนั้นป
ระกอบด้วย
1.ทหารประชาธิปไตย มีพลโทหาญ ลีลานนท์
(ยศในขณะนั้น) และพลตรีระวี วันเพ็ญ เป็นแกนนา
รวมทั้งนายทหาร จปร. รุ่นต่างๆ โดยเฉพาะรุ่น 7
2.ชมรมประชาธิปไตย มี ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ เป็นแกนนา
3.พรรคแรงงานประชาธิปไตย มีคุณเสรี สุชาตะประคัลภ์
หัวหน้าพรรคเป็นแกนนา
4.กลุ่มชาตินิยมไทย
สมาชิกกลุ่มนี้ส่วนมากมีแนวความคิดลัทธิสังคมนิยมของชนชั้นกล
าง (Liberal Bourgeoisie) ในทางการเมืองถือหลัก
“ประชาชนต้องเป็นใหญ่ในแผ่นดิน”
ซึ่งอันที่จริงแล้วก็ตรงกับลัทธิประชาธิปไตย คือ
อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนนั่นเอง
5.กลุ่มประชาธิปไตยเอกภาพ
กลุ่มนี้เป็นที่รวมตัวกันของอดีตนักศึกษากรณี 14 ตุลาคม 2516
เช่น คุณสมพงษ์ สระกวี คุณเทียนชัย วงศ์สุวรรณ คุณสนั่น
สันติยา คุณทองคา วิรัตน์ เป็นต้น
ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ
เป็นการรวบรวมกาลังของฝ่ายประชาธิปไตยเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดี
ยวกันอย่างใหญ่โต มโหราฬ โดยเฉพาะที่สาคัญที่สุดคือ
กรรมกรกับนายทุน ในการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์
(มีการอบรมใน กอ.รมน. หลักสูตรประชาธิปไตย)
แบ่งการเคลื่อนไหวของขบวนการออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.เป็นลักษณะเปิดกว้าง
โดยจัดให้มีการประชุมกันทุกวันอาทิตย์ ที่โรงแรมรอแยล
ถนนราชดาเนิน เปิดให้บุคคลทั่วไปเข้าร่วมประชุมได้
และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นโดยเสรีไม่จากัดเวลา มีคุณสนั่น
สันติยา เป็นเลขาธิการทั่วไป
ทาหนังสือเชิญบุคคลและคณะบุคคลต่างๆ มาเข้าร่วมประชุม
และเผยแพร่เอกสารเกี่ยวกับ ความรู้ประชาธิปไตยอย่างต่อเนื่อง
2.การประชุมของขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ
อีกแบบหนึ่งเป็นการประชุมในระดับผู้นาองค์การเป็นลักษณะภายใ
น มีการประชุมกันที่ตึกโชคชัย ถนนสุขุมวิท โดยมีดร.สมบัติ
ธารงธัญวงศ์ เป็นผู้ประสานงาน คุณสวัสดิ์ ลูกโดด และคุณสนั่น
สันติยา เป็นผู้ช่วยประสานงาน (ขบวนการหรือกระบวนการ
(Procression) ไม่ใช่องค์การ (Organization)
จึงไม่ต้องมีประธานและคณะกรรมการ) และมีอาจารย์ประเสริฐ
ทรัพย์สุนทร เป็นผู้ให้ความรู้ทางวิชาการ
ซึ่งผมก็มีส่วนร่วมในการประชุมด้วยทุกครั้ง
มีการวิเคราะห์สรุปสถานการณ์
มีการวางแผนงานการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์
รวมทั้งจัดทาเอกสารทางวิชาการเผยแพร่เพื่อให้ความรู้ประชาธิป
ไตยแก่ประชาชนทั่วไปทุกครั้งที่มีการประชุม
เอกสารเผยแพร่นี้เรียกว่า
“สารสัมพันธ์ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ” มีประมาณ 20
กว่าฉบับ ฉบับแรกจัดทาขึ้น เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2524
และต่อมาในปี 2525
กองทัพแห่งชาติก็สามารถยุติสงครามกลางเมืองลงได้สาเร็จ
จากการร่วมมือของหลายฝ่าย หลังจากนั้นอีกไม่นาน
การประชุมที่ตึกโชคชัยก็ยุติลงด้วย
คาว่า “ขบวนการ” กับคาว่า “องค์การ” นั้น มีจินตภาพ
ไม่เหมือนกัน แม้ว่าจะมีความหมายคล้ายๆกันว่า หมายถึง หมู่
คณะ หรือ สถาบัน ที่ร่วมกระทาการใดการหนึ่ง แต่ต้องเข้าใจว่า
ขบวนการมี จินตภาพ
ที่กว้างขวางครอบคลุมไปทุกมิติของผู้มีแนวความคิดอันเดียวกัน
เป็นคณะ ใหญ่กว่าคณะอื่นๆ ใหญ่กว่าพรรคการเมือง
ใหญ่กว่าองค์การจัดตั้งทั้งปวง และถ้ามีการจัดตั้งรวม
ศูนย์เป็นองค์การ (Organization) เมื่อใด ก็ไม่ใช่ขบวนการ
(Process)
เมื่อผมได้อ่านคาให้สัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์
ที่ท่านพูดถึง “หลักการ” โดยเฉพาะคือ “หลักการของระบบรัฐสภา”
อย่างผู้รอบรู้ โดยท่านพูดว่า “รัฐธรรมนูญ 2540
เป็นแบบแบ่งแยก” นั้น ก็หมายถึงเป็น “ระบบแยกอานาจ”
(Separation of Power) และที่ท่านพูดว่า “รัฐธรรมนูญ 2550 ให้
ส.ส.เป็นนายกฯ หรือเป็นรัฐมนตรีได้ แล้วทาไมให้เป็นเลขาฯ
ไม่ได้ นี่ผมพูดตามหลักการ”
และท่านยังตาหนินักวิชาการท่านอื่นที่พูด
โดยไม่ยึดหลักการอีกด้วย
หลักการที่ท่านว่านั้น หมายถึง “หลักการของระบบรัฐสภา”
หรือ ระบบรวมอานาจ (Fusion of Power) นั่นเอง
ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์
ท่านมีความรอบรู้หลักการของระบบรัฐสภาเป็นอย่างดี
แต่สาหรับผมแล้วกลับไม่เห็นแปลกเลย
ว่าทาไมท่านถึงมีความรอบรู้ หลักการเหล่านี้เป็นอย่างดี
เหตุที่ผมไม่แปลกใจก็เพราะว่า หลักการที่ท่านพูดถึงนั้นได้มี
คาอธิบายอยู่ใน “สารสัมพันธ์ขบวนการประชาธิปไตย แห่งชาติ”
ซึ่งก็คือ เอกสารที่ท่าน ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์
ได้มีส่วนร่วมในการจัดทาขึ้นเมื่อประมาณ 30 ปีมาแล้วนั้น
ในการให้สัมภาษณ์ ดร.สมบัติ ท่านพูดถึงคาว่า
“นักวิชาการ” ไว้มากมาย เช่น
“ผมรู้ว่า นักวิชาการ เป็นอย่างไร”
“คณะกรรมการชุดนี้ นายกฯ
บอกว่าอยากให้เป็นนักวิชาการล้วนๆ”
“ผมเห็นว่า
ถ้าให้มาปฏิรูปภายใต้กรอบความคิดของนักวิชาการ เราทาได้”
“นักวิชาการเรามีความรู้ ความเข้าใจ เราพูดได้”
“ผมเป็นนักวิชาการ มาถึงวันนี้ผมรู้ธาตุแท้ของนักวิชาการดี”
“นักวิชาการที่เขาเป็นนักวิชาการจริง
เขาไม่ชอบให้ใครมาครอบ (งา)”
“ผมเชื่อว่าพวกเราจะใช้ความรู้ของเราทางานให้เกิดประโยช
น์กับประเทศได้”
“ผมเป็นนักวิชาการ หลักการผมต้องพูดอย่างนี้
คุณชอบไม่ชอบเรื่องของคุณ”
“ผมเป็นอธิการบดี ผมมาด้วยความสามารถของผม”
“นักวิชาการ ก็มีความคิดที่หลากหลาย
มีจุดมองที่แตกต่างกันได้”
“ผมเป็นนักวิชาการ อยู่บนโต๊ะวิชาการมาตลอดชีวิต
ก็รู้ว่าเรื่องไหนเดินหน้าได้” ฯลฯ
คาให้สัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ ที่ว่าท่านเป็น
นักวิชาการ ดังกล่าวนี้ ทาให้ผมต้องเก็บเอามาคิดเอามาเขียน
เพื่อต้องการจะหาคาตอบว่า “นักวิชาการ” จริงๆแล้ว
มันควรจะเป็นอย่างไรและมีอะไรเป็นเครื่องวัดความเป็นนักวิชากา
ร เพราะผมดูจากคาให้สัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ แล้ว
ผมไม่เชื่อว่าท่านเป็นนักวิชาการที่แท้จริง
โดยทั่วไปคาว่า “นักวิชาการ”
ก็เป็นการให้เกียรติและยอมรับกันว่า
ผู้ร่าเรียนมาจนจบปริญญาถือว่าเป็นผู้มีความรู้ เป็นนักวิชาการ
เพราะคาว่า “วิชา” แปลว่า ความรู้ ความฉลาด ปัญญา
ครูบาอาจารย์ที่อบรมสั่งสอนนิสิตนักศึกษา
ท่านก็เป็นบ่อเกิดแห่งความรู้ บ่อเกิดแห่งความฉลาด
บ่อเกิดแห่งปัญญา หรือจะเรียกว่า “วิทยากร” เป็นนักวิชาการ
ก็น่าจะได้ เพราะคาว่า วิทยากรเป็นรูปศัพท์สันสกฤต
คาเดียวกับวิชาซึ่งเป็นรูปศัพท์บาลีและคาว่า “อากร”
ซึ่งแปลว่าบ่อเกิด เมื่อเอาวิทยา มาสนธิกับอากร เป็นวิทยากร
รวมทั้งผู้ที่อยู่บนโต๊ะวิชาการมาตลอดชีวิต
และเคยแต่งตาราเอาไว้มากมาย เราก็เรียกท่านว่า
นักวิชาการเหมือนกัน
แต่นั่นเป็นเพียงการให้เกียรติและเป็นเพียงการมองนักวิชาการที่ด้
านภายนอกเท่านั้น
ไม่ใช่มองจากความเป็นจริงที่ด้านภายในของความเห็นนักวิชากา
รที่แท้จริง
ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจว่า “วิชา”
คือภาพสะท้อนของความสัมพันธ์ภายในของสรรพสิ่ง ซึ่งมาจาก
“หลักวิชา” ที่กาหนดขึ้นจาก “กฎของความจริงแท้” (Reality)
ที่ดารงอยู่จริง (Existence) ย่อมแน่นอนและถูกต้องตลอดไป
จึงเป็น “สัจธรรม” (Truth) ที่มีเพียงหนึ่งเดียว
ดังนั้นถ้าเป็นนักวิชาการจริงก็จะไม่มีคาพูดที่ว่า
“นักวิชาการก็มีความคิดที่หลากหลาย
มีจุดการมองที่แตกต่างกันได้” เพราะที่ว่านั้นคือ
คุณสมบัติของนักทฤษฎี ไม่ใช่คุณสมบัติของนักวิชาการ
โดยเฉพาะยังเป็นทฤษฎีที่ผิดอีกด้วย ซึ่งเรียกทางภาษาบาลีว่า
“มิจฉาทิฏฐิ” เพราะถ้าเป็นนักวิชาการจริงต้องเห็นตรงกันหมด
เพราะวิชาหมายถึง ความจริงเพียงหนึ่งเดียว
ด้วยเหตุนี้
หลักวิชาจึงเป็นเครื่องตัดสินความถูกผิดของทฤษฎีและนโยบาย
ดังนั้นเมื่อทฤษฎีหรือ “ความเห็น” (Theory)
หรือนโยบายขัดแย้งกับหลักวิชา จะต้องถือเอาหลักวิชาเป็นหลัก
เพราะทฤษฎีและนโยบายนั้นกาหนดขึ้นจากความต้องการของมนุ
ษย์ จึงเปลี่ยนแปลงได้และไม่แน่นอนว่าจะถูกต้องเสมอไป
แต่หลักวิชากาหนดขึ้นจากกฎของความจริงแท้
จึงถูกต้องและแม่นยาเสมอไป และสามารถนาเอาไปแก้ปัญหาใดๆ
ก็ได้ เช่น นโยบาย 66 / 2523 เป็นต้น
ผมเห็นผู้ที่อ้างตนเองว่าเป็น “นักวิชาการ”
มาแสดงความคิดเห็นทางหน้าจอทีวี
ส่วนมากเมื่อตอบคาถามกับพิธีกรมักจะพูดว่า
“ในปัญหานี้ผมมีความเห็นว่า ผมคิดว่า
ผมเชื่อว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น น่าจะเป็นอย่างนี้
บางครั้งก็เถียงกันเองหน้าจอทีวี หน้าดาหน้าแดง
เพื่อจะเอาชนะกัน สิ่งที่ท่านแสดงออกมานั้น
แท้จริงแล้วเป็นความเห็นของท่านเองทั้งนั้น หาใช่หลักวิชาไม่
เพราะถ้าเป็นหลักวิชาจริง จะเป็นสิ่งเดียวกันและไม่โต้แย้งกัน
บางท่านก็อ้างว่าท่านพูดตาม “ตารา” โดยเข้าใจว่าตารา คือ
“วิชา” ซึ่งบางครั้งตาราก็มิใช่หมายความว่าเป็นวิชาด้วยเสมอไป
มิฉะนั้น พระพุทธเจ้าก็คงไม่ตรัสแก่ชาวกาลามชนว่า “ปิฎก
สัมปทาน” อย่าเชื่อเพราะอ้างว่ามีในตารา หรือ “สมโณโน ครูติ”
อย่าเชื่อเพราะเห็นว่าเป็นครู หรือเป็นอาจารย์ของเรา แต่พอพูดถึง
“วิชา” แล้วกลับมีพุทธสุภาษิตว่า “สุวิชชา โน ภวังค์ โหติ-ทุวิชชา
โน ปรา ภโว” ซึ่งแปลว่า ผู้รู้วิชาเป็นผู้เจริญ
ผู้ไม่รู้วิชาเป็นผู้ฉิบหาย ซึ่งตรงกับคาไทยโบราณที่กล่าวไว้ว่า
“คุกขังคน ตาราขังปัญญา” ฉะนั้น
ผู้ที่เป็นครูบาอาจารย์และเคยแต่งตาราเรียนเอาไว้มากมายมาตลอ
ดชีวิตจึงเป็นได้เพียง “นักตาราการ” เท่านั้น ไม่ใช่ “นักวิชาการ”
ดังได้กล่าวแล้วว่า หลักวิชา กาหนดขึ้นมาจาก
กฎของความจริงแท้ มิใช่กาหนดขึ้นมาจากสิ่งที่ดารงอยู่จริง
(Reality) ของธรรมชาติซึ่งเป็น สิ่งสมบูรณ์ หมายถึง
สิ่งที่มีอยู่ด้วยตนเอง ไม่ต้องขึ้นกับสิ่งอื่นที่เรียกว่า สัมพันธ์
ไม่มีใครสร้าง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ ดารงอยู่อย่างมีกฎเกณฑ์
มีแต่ผู้ไปค้นพบแล้วนามาเปิดเผย เช่น
นักปราชญ์และศาสดาทั้งหลาย เป็นต้น
เรียกสิ่งที่ค้นพบนั้นว่า สัจธรรมบ้าง พระธรรมบ้าง
หลักการบ้าง หลักวิชาบ้าง หรือจะเรียกว่าอะไร ก็สุดแล้วแต่
กล่าวโดยสรุปก็คือ หมายถึง วิชชา หรือหลักวิชา
และหลักวิชาในแต่ละ
เรื่องนั้น กว่าโลกจะยอมรับว่าเป็นหลักวิชาได้
บางเรื่องต้องมีการตรวจสอบ
ความถูกต้องกินเวลาเป็นร้อยเป็นพันปีก็มี อย่างเช่นระบบรัฐสภา
เป็นต้น
หลักวิชาที่แท้จริงนั้นจีงไม่มีใครเป็นเจ้าของ
เพราะสัจธรรมมีเพียงหนึ่งไม่มีใครเป็นเจ้าของ
ดังนั้นนักวิชาการที่แท้จริงจะไม่มีจุดมองที่แตกต่างกัน
จุดมองที่แตกต่างจึงล้วนเป็น อัตวิสัย ทั้งสิ้น ไม่ใช่ภาวิสัย
ไม่ใช่คุณสมบัติของนักวิชาการ และความเห็นผิดย่อมมีเจ้าของ
เพราะความผิดก็คือ การบอกถึงความเป็นเจ้าของ
ผมดูจากคาให้สัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์
แล้วโดยมองจากจุดยืน มองจากทรรศนะ
และมองจากมรรควิธีของท่านแล้วรู้ได้ทันทีว่าเป็นเรื่อง
อัตวิสัยล้วนๆครับ ปัญหาวิชาการไม่ว่าในด้าน
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ หรือด้าน วิทยาศาสตร์สังคม
ไม่อาจตัดสินด้วย อัตวิสัยของบุคคล
และจะตัดสินด้วยการขอประชามติ 6 วัน 63 ล้านความคิด
ก็มิได้ครับ มีแต่ต้องเคารพหลักวิชาเท่านั้น
พระพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า “ทิฏฐิ”
เป็นสิ่งสาคัญสูงสุดในมนุษย์ จึงทรงยกเอา “สัมมาทิฏฐิ”
เป็นข้อแรก ของมรรค มีองค์แปด (มรรค แปลว่า “แนวทาง” )
ความเห็นถูกของพระพุทธศาสนา ก็หมายถึง เห็นลูกในภววิสัย
หรือเห็นตามหลักวิชาการนั่นเอง จะเรียกว่าความเข้าใจถูกก็ได้
ซึ่งตรงข้ามกับความเข้าใจผิด ซึ่งมีความหมายตรงกับคาว่า
“ความเห็นผิด” เป็นคาธรรมดา ถ้าเป็นคาพระเรียกว่า “มิจฉาทิฏฐิ”
ถ้าเป็นศัพท์วิชาการเรียกว่า “ทฤษฎีผิด” และปัญหา
ความเห็นนั้นเป็นปัญหา เป็นตายของประเทศไทย
ซึ่งเรียกเป็นคาอังกฤษว่า Theoretical Problem
การแก้ปัญหาของชาติได้ และถ้าแก้ปัญหาผิด
ก็มิใช่ว่าผู้แก้จะเสียหายเพียงฝ่ายเดียว
แต่จะเสียหานไปถึงประเทศชาติ และรวมถึงประชาชนทุกคนด้วย
จึงต้องว่ากันหน่อย ครับ
การทางานการเมืองไม่เหมือนการค้าขาย
ซึ่งลงทุนผิดก็ล้มละลายแต่ตัวเองเท่านั้น
แต่ทาการเมืองผิดหรือทาโดยปราศจากความรู้ทางวิชาการนั้น
ไม่เพียงแต่ตัวเองจะล่มจมคนเดียว
ยังทาให้ประเทศชาติและประชาชนล่มจมตามไปอีกด้วย
เรื่องของการเมืองเป็นเรื่องส่วนรวม หรือ เป็นเรื่องของคนทุกคน
ไม่ใช่เรื่องส่วนตัว ทุกคนจึงมีสิทธิตาหนิรัฐบาลได้
มีสิทธิตาหนิผู้ที่มาทางานการเมืองได้
ผู้ทางานการเมืองจึงไม่มีสิทธิฟ้องร้องประชาชนแต่ประการใด
แต่ดูเหมือนคุณอภิสิทธิ์จะไม่เข้าใจ
ความเห็นถูกนั้นต้องเริ่มจากการใช้ภาษาถูกเป็นอันดับแรกดังคาพู
ดของท่าน “ขงจื้อ” ที่กราบทูลฮ่องเต้ว่า
“สิ่งที่ผู้ปกครองต้องทาก่อนอื่นใด คือการแก้ไขภาษาให้ถูกต้อง
ถ้าภาษาไม่ถูกต้องย่อมหมายความว่า
สิ่งที่พูดไม่สอดคล้องกับความหมายของคาพูดนั้น
เมื่อสิ่งที่พูดไปตรงกับความหมายของคาพูด ก็หมายความว่า
สิ่งที่ควรกระทาจะไม่เกิดขึ้น
แม้ว่าจะมีกฎหมายออกบังคับใช้ก็บังคับไม่ได้”
การศึกษาวิชาการต่างๆ นั้น
มีความหมายสาคัญอยู่ที่จินตภาพ (Concept) ของคา เช่น
สัจธรรม (Truth) ความจริงแท้ (Reality) และข้อเท็จจริง (Fact)
ว่าต่างกันอย่างไร โดยพื้นฐาน (Basically) หมายความว่าอะไร
พระพุทธเจ้าทรงเป็นตัวอย่างยอดเยี่ยม ในความเคร่งครัด
จินตภาพของคา
ดังจะเห็นได้จากพระพุทธโอวาทประทานแก่พระสาวก
ที่จารึกไปประกาศพระศาสนาตอนหนึ่งว่า
“อาฑิกลยาณ ปริโยสานกลยาณ สาตถ สพพ พยญชน เกวล
ปริปุณณ”
แสดงธรรมให้ไพเราะในเบื้องต้น ไพเราะในท่ามกลาง
ไพเราะในปริโยสาน ให้ถูกต้อง
บริบูรณ์โดยสิ้นเชิงทั้งอรรถและ พยัญชนะ “อรรถ” คือ ความ
“พยัญชนะ” คือ คา ก็คือให้ บริบูรณ์โดยสิ้นเชิงทั้ง Concept และ
คา นั่นเอง
นักวิชาการและนักการเมืองในบ้านเรา อย่าว่าแต่ไม่รู้
“หลักวิชา” เลย แม้แต่ จิตภาพของคาก็ยังไม่เข้าใจ เช่น คาว่า
“ปฏิรูปการเมือง” ก็ดี คาว่า “ปฏิรูปประเทศไทย” ก็ดี
คาเหล่านี้เป็นคาประดิษฐ์ขึ้นเอง ไม่มีในภาษาวิชาการ เพราะคาว่า
“ปฏิรูป”เอามาใช้กับคาว่า “การเมือง”ไม่ได้
และจะเอามาใช้กับประเทศก็ไม่ได้เหมือนกัน เริ่มต้นก็ผิดแล้ว
เช่นคาว่าการเมือ(Political)
เป็น “นาม” ไม่ใช้ “รูป”
นอกจากเป็นนามธรรมแล้วยังเป็นสิ่งดารงอยู่จริง (Reality)
อีกด้วยคือจิตภาพวัตถุ
ที่กว้างที่สุดครอบคลุมไปทุกมิติของดารงอยู่ของมนุษย์
ต่างกับคาว่า การปกครอง (Government) ซึ่งเป็น “รูป”
และเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของคาว่าการเมือง เท่านั้น
การเมืองเป็นนามจึงปฏิรูปไม่ได้
แต่การปกครองเป็นรูปคือเป็นรูปปกครองด้วยจึงปฏิรูปได้ ดังเช่น
พระราชกรณียกิจเปลี่ยนแปลงการปกครองของพระบาทสมเด็จพร
ะจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่5
ทรงเรียกการเปลี่ยนแปลงระบบจตุสดมภ์มาเป็นระบบ 12
กระทรวงว่า “คอนเวินเม้นท์รีฟอร์ม”
โดยขณะนั้นยังไม่มีศัพท์ภาไทยจึงทรงเรียกทับศัพท์อังกฤษคาว่า
“Government Reform” หมายถึง ปฏิรูปการปกครอง
ซึ่งทรงใช้ศัพท์ถูกต้องตามหลักวิชาการเป็นอย่างดี
แต่สมัยนี้นักวิชาการบอกว่าต้อง ปฏิรูปการเมือง จึงตลกสิ้นดี
คาว่า ประเทศ นั้นต้องใช้กับคาว่า “พัฒนา” ไม่ใช่ “ปฏิรูป”
เช่น การพัฒนาประเทศ (Country Development) หรือ
ใช้แบ่งระดับของการพัฒนาประเทศ เช่น ประเทศด้อยพัฒนา
(Under Developed Country) ประเทศกาลังพัฒนา
(Developing Country) ประเทศพัฒนาแล้ว (Developed
Country) ฉะนั้น จึงไม่มีที่ไหนในโลกเขาใช้ศัพท์คาว่า
ปฏิรูปประเทศ แม้แต่มาเลเซียเมื่อเร็วๆนี้ เขาก็ประกาศว่า
จะยกระดับจากประเทศกาลังพัฒนา เป็นประเทศพัฒนาแล้วเป็นต้น
สาหรับระดับการพัฒนาของประเทศไทยของเรา
ถ้าพูดตามหลักวิชาการก็จัดอยู่ในระดับประเทศด้อยพัฒนา หรือ
(Under Developed Country) ไม่ใช่ประเทศกาลังพัฒนา
เพราะทางการเมืองเป็นระบอบเผด็จการ
ทางเศรษฐกิจเป็นระบบผูกขาด ระบอบเผด็จการ
นอกจากจะเป็นการเมืองที่ล้าหลังแล้ว
ยังเป็นตัวถ่วงความเจริญอีกด้วย ภารกิจของประเทศไทยก็คือ
การปฏิวัติประชาธิปไตย ไม่ใช่ปฏิรูปประเทศ
เพราะปฏิวัติประชาธิปไตยเท่านั้นจึงจะเปลี่ยนจากประเทศด้อยพัฒ
นาให้เป็นประเทศกาลังพัฒนาได้ ดังนั้น
การปฏิรูปประเทศไทยโดยไม่ ปฏิวัติประชาธิปไตย
ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ก็คือ
การแหกตาหลอกประชาชนทั้งประเทศ
เพื่อต้องการจะรักษาระบอบเผด็จการให้มั่นคงสถาพรอยู่ต่อไปเท่า
นั้นเอง แต่ขณะนี้ประชาชนไม่เชื่อนักการเมืองแล้ว
จึงต้องเอานักวิชาการมาทาหน้าที่หลอกประชาชนแทน
โดยเฉพาะผู้ที่อ้างตนว่าเป็นนักวิชาการ
ก็ยังไม่ใช่นักวิชาการจริงอีกด้วย
ในทางวิชาการเรียกพวกนักวิชาการเหล่านี้ว่า Counter
Revolutionary Movement
ซึ่งก็คือขบวนการที่เป็นอุปสรรคร้ายแรงที่สุดของการสร้างประชา
ธิปไตยในประเทศไทยนั่นเอง
วันชัย พรหมภา
1 กรกฏาคม 2553
Edit : thongkrm_virut@yahoo.com

More Related Content

What's hot

6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
Tongsamut vorasan
 
บาลี 49 80
บาลี 49 80บาลี 49 80
บาลี 49 80
Rose Banioki
 
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
Tongsamut vorasan
 
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
Tongsamut vorasan
 
บาลี 30 80
บาลี 30 80บาลี 30 80
บาลี 30 80
Rose Banioki
 
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 

What's hot (11)

6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
 
บาลี 49 80
บาลี 49 80บาลี 49 80
บาลี 49 80
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
 
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
 
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
 
คู่มือทำความเข้าใจสิทธิพลเมืองและสิทธิการเมือง
คู่มือทำความเข้าใจสิทธิพลเมืองและสิทธิการเมืองคู่มือทำความเข้าใจสิทธิพลเมืองและสิทธิการเมือง
คู่มือทำความเข้าใจสิทธิพลเมืองและสิทธิการเมือง
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
1
11
1
 
บาลี 30 80
บาลี 30 80บาลี 30 80
บาลี 30 80
 
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 

Viewers also liked

Pitch and Audience Profile
Pitch and Audience ProfilePitch and Audience Profile
Pitch and Audience Profile
lou80
 

Viewers also liked (16)

iShine 10 mins BNi presentation October 2015
iShine 10 mins BNi presentation October 2015iShine 10 mins BNi presentation October 2015
iShine 10 mins BNi presentation October 2015
 
INSURANCE
INSURANCEINSURANCE
INSURANCE
 
Pelatihan Pengobatan Quantum Spiritual Qalbu
Pelatihan Pengobatan Quantum Spiritual QalbuPelatihan Pengobatan Quantum Spiritual Qalbu
Pelatihan Pengobatan Quantum Spiritual Qalbu
 
день захисника україни (1)
день захисника україни (1)день захисника україни (1)
день захисника україни (1)
 
Meta Data and Quality of Data for OGD Platform India
Meta Data and Quality of Data for OGD Platform IndiaMeta Data and Quality of Data for OGD Platform India
Meta Data and Quality of Data for OGD Platform India
 
Gebeurtenis
GebeurtenisGebeurtenis
Gebeurtenis
 
Mis Cantantes Favoritos
Mis Cantantes Favoritos Mis Cantantes Favoritos
Mis Cantantes Favoritos
 
Ay Mairi Behan
Ay Mairi BehanAy Mairi Behan
Ay Mairi Behan
 
Pitch and Audience Profile
Pitch and Audience ProfilePitch and Audience Profile
Pitch and Audience Profile
 
«Новогодние проекты продвижения территорий»
«Новогодние проекты продвижения территорий»«Новогодние проекты продвижения территорий»
«Новогодние проекты продвижения территорий»
 
Операційний план з лібералізації системи валютного регулювання
Операційний план з лібералізації системи валютного регулюванняОпераційний план з лібералізації системи валютного регулювання
Операційний план з лібералізації системи валютного регулювання
 
OSF 2
OSF 2OSF 2
OSF 2
 
пуляев и.с.
пуляев и.с.пуляев и.с.
пуляев и.с.
 
Brosjyre(2)
Brosjyre(2)Brosjyre(2)
Brosjyre(2)
 
NIMH application form
NIMH application formNIMH application form
NIMH application form
 
HTTPS zdarma a pro všechny - LinuxDays 2015
HTTPS zdarma a pro všechny - LinuxDays 2015HTTPS zdarma a pro všechny - LinuxDays 2015
HTTPS zdarma a pro všechny - LinuxDays 2015
 

Similar to นักวิชาการที่แท้จริงเป็นอย่างไร

คำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดคำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
Chor Chang
 

Similar to นักวิชาการที่แท้จริงเป็นอย่างไร (9)

เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวดพื้นฐาน
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวดพื้นฐานเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวดพื้นฐาน
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวดพื้นฐาน
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
 
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดคำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
 
ระบบสุขภาพไทย
ระบบสุขภาพไทยระบบสุขภาพไทย
ระบบสุขภาพไทย
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regime
 
Pw4 5
Pw4 5Pw4 5
Pw4 5
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 

More from Thongkum Virut

ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
Thongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
Thongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

นักวิชาการที่แท้จริงเป็นอย่างไร

  • 1. นักวิชาการที่แท้จริงเป็นอย่างไร ผมได้อ่านคาสัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ จากหนังสือพิมพ์มติชน ซึ่งท่านให้สัมภาษณ์ในฐานะ ประธานคณะกรรมการปฏิรูปการเมือง โดยท่านได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลให้ทาหน้าที่คณะกรรมการแ ก้ไขรัฐธรรมนูญตาม แผนปรองดองแห่งชาติ ของคุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี การเข้ามามีบทบาทแก้วิกฤติชาติของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ ครั้งนี้ เลยทาให้ผมนึกย้อนหลังไปเมื่อประมาณ 30 ปีที่แล้ว
  • 2. ท่านก็เคยเข้ามามีบทบาทแก้ปัญหาร้ายแรงของชาติในปัญหา สงครามกลางเมือง ตามคาสั่งสานักนายกรัฐมนตรีที่ 66 / 2523 เรื่องนโยบายการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ด้วยเช่นกัน ซึ่งสั่งการโดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี ต่างกันแต่ว่าครั้งนี้ท่านทาตาม “แผน” ครั้งก่อน ท่านทาตาม “นโยบาย” ของรัฐบาล ซึ่งผู้รู้ทั้งหลายก็ย่อมรู้ดีว่า นโยบาย (Policy) นั้นแก้ปัญหาของชาติได้ แต่แผน (Map) นั้นไม่ใช่นโยบายแก้ปัญหาไม่ได้แน่นอน ข้อ4.5 ของนโยบาย 66 / 2523 ว่าด้วยการปฏิบัติความว่า “สนับสนุนการจัดตั้ง “ขบวนการประชาธิปไตย” ทั้งสิ้นที่มีอยู่ โดยคานึงถึงสิทธิและผลประโยชน์ของกลุ่มชนนั้นๆ อันพึงจะมี ให้ระมัดระวังและอย่าสับสนระหว่าง “ขบวนการประชาธิปไตย” กับ “ขบวนการคอมมิวนิสต์” ที่แอบแฝงโดยยกประชาธิปไตยนาหน้า” หลังจากคาสั่งสานักนายกฯ ประกาศใช้แล้วไม่นาน ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ ตามนโยบาย 66 / 2523 จึงได้ถือกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการและมีการรวมตัวกันขององค์ก รมวลชนและคณะบุคคลต่างๆ
  • 3. ฝ่ายประชาธิปไตยอย่างกว้างขวางมากมาย ผนึกกาลังขึ้นในรูปของ “ขบวนการเมือง” (Political Movement) หรือกระบวนการทางการเมืองของฝ่ายประชาธิปไตย โดยเฉพาะองค์การหลักของขบวนการประชาธิปไตยในขณะนั้นป ระกอบด้วย 1.ทหารประชาธิปไตย มีพลโทหาญ ลีลานนท์ (ยศในขณะนั้น) และพลตรีระวี วันเพ็ญ เป็นแกนนา รวมทั้งนายทหาร จปร. รุ่นต่างๆ โดยเฉพาะรุ่น 7 2.ชมรมประชาธิปไตย มี ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ เป็นแกนนา 3.พรรคแรงงานประชาธิปไตย มีคุณเสรี สุชาตะประคัลภ์ หัวหน้าพรรคเป็นแกนนา 4.กลุ่มชาตินิยมไทย สมาชิกกลุ่มนี้ส่วนมากมีแนวความคิดลัทธิสังคมนิยมของชนชั้นกล าง (Liberal Bourgeoisie) ในทางการเมืองถือหลัก “ประชาชนต้องเป็นใหญ่ในแผ่นดิน” ซึ่งอันที่จริงแล้วก็ตรงกับลัทธิประชาธิปไตย คือ อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนนั่นเอง
  • 4. 5.กลุ่มประชาธิปไตยเอกภาพ กลุ่มนี้เป็นที่รวมตัวกันของอดีตนักศึกษากรณี 14 ตุลาคม 2516 เช่น คุณสมพงษ์ สระกวี คุณเทียนชัย วงศ์สุวรรณ คุณสนั่น สันติยา คุณทองคา วิรัตน์ เป็นต้น ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ เป็นการรวบรวมกาลังของฝ่ายประชาธิปไตยเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดี ยวกันอย่างใหญ่โต มโหราฬ โดยเฉพาะที่สาคัญที่สุดคือ กรรมกรกับนายทุน ในการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ (มีการอบรมใน กอ.รมน. หลักสูตรประชาธิปไตย) แบ่งการเคลื่อนไหวของขบวนการออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1.เป็นลักษณะเปิดกว้าง โดยจัดให้มีการประชุมกันทุกวันอาทิตย์ ที่โรงแรมรอแยล ถนนราชดาเนิน เปิดให้บุคคลทั่วไปเข้าร่วมประชุมได้ และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นโดยเสรีไม่จากัดเวลา มีคุณสนั่น สันติยา เป็นเลขาธิการทั่วไป ทาหนังสือเชิญบุคคลและคณะบุคคลต่างๆ มาเข้าร่วมประชุม และเผยแพร่เอกสารเกี่ยวกับ ความรู้ประชาธิปไตยอย่างต่อเนื่อง 2.การประชุมของขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ อีกแบบหนึ่งเป็นการประชุมในระดับผู้นาองค์การเป็นลักษณะภายใ
  • 5. น มีการประชุมกันที่ตึกโชคชัย ถนนสุขุมวิท โดยมีดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ เป็นผู้ประสานงาน คุณสวัสดิ์ ลูกโดด และคุณสนั่น สันติยา เป็นผู้ช่วยประสานงาน (ขบวนการหรือกระบวนการ (Procression) ไม่ใช่องค์การ (Organization) จึงไม่ต้องมีประธานและคณะกรรมการ) และมีอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เป็นผู้ให้ความรู้ทางวิชาการ ซึ่งผมก็มีส่วนร่วมในการประชุมด้วยทุกครั้ง มีการวิเคราะห์สรุปสถานการณ์ มีการวางแผนงานการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ รวมทั้งจัดทาเอกสารทางวิชาการเผยแพร่เพื่อให้ความรู้ประชาธิป ไตยแก่ประชาชนทั่วไปทุกครั้งที่มีการประชุม เอกสารเผยแพร่นี้เรียกว่า “สารสัมพันธ์ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ” มีประมาณ 20 กว่าฉบับ ฉบับแรกจัดทาขึ้น เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2524 และต่อมาในปี 2525 กองทัพแห่งชาติก็สามารถยุติสงครามกลางเมืองลงได้สาเร็จ จากการร่วมมือของหลายฝ่าย หลังจากนั้นอีกไม่นาน การประชุมที่ตึกโชคชัยก็ยุติลงด้วย คาว่า “ขบวนการ” กับคาว่า “องค์การ” นั้น มีจินตภาพ ไม่เหมือนกัน แม้ว่าจะมีความหมายคล้ายๆกันว่า หมายถึง หมู่ คณะ หรือ สถาบัน ที่ร่วมกระทาการใดการหนึ่ง แต่ต้องเข้าใจว่า
  • 6. ขบวนการมี จินตภาพ ที่กว้างขวางครอบคลุมไปทุกมิติของผู้มีแนวความคิดอันเดียวกัน เป็นคณะ ใหญ่กว่าคณะอื่นๆ ใหญ่กว่าพรรคการเมือง ใหญ่กว่าองค์การจัดตั้งทั้งปวง และถ้ามีการจัดตั้งรวม ศูนย์เป็นองค์การ (Organization) เมื่อใด ก็ไม่ใช่ขบวนการ (Process) เมื่อผมได้อ่านคาให้สัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ ที่ท่านพูดถึง “หลักการ” โดยเฉพาะคือ “หลักการของระบบรัฐสภา” อย่างผู้รอบรู้ โดยท่านพูดว่า “รัฐธรรมนูญ 2540 เป็นแบบแบ่งแยก” นั้น ก็หมายถึงเป็น “ระบบแยกอานาจ” (Separation of Power) และที่ท่านพูดว่า “รัฐธรรมนูญ 2550 ให้ ส.ส.เป็นนายกฯ หรือเป็นรัฐมนตรีได้ แล้วทาไมให้เป็นเลขาฯ ไม่ได้ นี่ผมพูดตามหลักการ” และท่านยังตาหนินักวิชาการท่านอื่นที่พูด โดยไม่ยึดหลักการอีกด้วย หลักการที่ท่านว่านั้น หมายถึง “หลักการของระบบรัฐสภา” หรือ ระบบรวมอานาจ (Fusion of Power) นั่นเอง ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ ท่านมีความรอบรู้หลักการของระบบรัฐสภาเป็นอย่างดี แต่สาหรับผมแล้วกลับไม่เห็นแปลกเลย
  • 7. ว่าทาไมท่านถึงมีความรอบรู้ หลักการเหล่านี้เป็นอย่างดี เหตุที่ผมไม่แปลกใจก็เพราะว่า หลักการที่ท่านพูดถึงนั้นได้มี คาอธิบายอยู่ใน “สารสัมพันธ์ขบวนการประชาธิปไตย แห่งชาติ” ซึ่งก็คือ เอกสารที่ท่าน ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ ได้มีส่วนร่วมในการจัดทาขึ้นเมื่อประมาณ 30 ปีมาแล้วนั้น ในการให้สัมภาษณ์ ดร.สมบัติ ท่านพูดถึงคาว่า “นักวิชาการ” ไว้มากมาย เช่น “ผมรู้ว่า นักวิชาการ เป็นอย่างไร” “คณะกรรมการชุดนี้ นายกฯ บอกว่าอยากให้เป็นนักวิชาการล้วนๆ” “ผมเห็นว่า ถ้าให้มาปฏิรูปภายใต้กรอบความคิดของนักวิชาการ เราทาได้” “นักวิชาการเรามีความรู้ ความเข้าใจ เราพูดได้” “ผมเป็นนักวิชาการ มาถึงวันนี้ผมรู้ธาตุแท้ของนักวิชาการดี” “นักวิชาการที่เขาเป็นนักวิชาการจริง เขาไม่ชอบให้ใครมาครอบ (งา)”
  • 8. “ผมเชื่อว่าพวกเราจะใช้ความรู้ของเราทางานให้เกิดประโยช น์กับประเทศได้” “ผมเป็นนักวิชาการ หลักการผมต้องพูดอย่างนี้ คุณชอบไม่ชอบเรื่องของคุณ” “ผมเป็นอธิการบดี ผมมาด้วยความสามารถของผม” “นักวิชาการ ก็มีความคิดที่หลากหลาย มีจุดมองที่แตกต่างกันได้” “ผมเป็นนักวิชาการ อยู่บนโต๊ะวิชาการมาตลอดชีวิต ก็รู้ว่าเรื่องไหนเดินหน้าได้” ฯลฯ คาให้สัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ ที่ว่าท่านเป็น นักวิชาการ ดังกล่าวนี้ ทาให้ผมต้องเก็บเอามาคิดเอามาเขียน เพื่อต้องการจะหาคาตอบว่า “นักวิชาการ” จริงๆแล้ว มันควรจะเป็นอย่างไรและมีอะไรเป็นเครื่องวัดความเป็นนักวิชากา ร เพราะผมดูจากคาให้สัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ แล้ว ผมไม่เชื่อว่าท่านเป็นนักวิชาการที่แท้จริง
  • 9. โดยทั่วไปคาว่า “นักวิชาการ” ก็เป็นการให้เกียรติและยอมรับกันว่า ผู้ร่าเรียนมาจนจบปริญญาถือว่าเป็นผู้มีความรู้ เป็นนักวิชาการ เพราะคาว่า “วิชา” แปลว่า ความรู้ ความฉลาด ปัญญา ครูบาอาจารย์ที่อบรมสั่งสอนนิสิตนักศึกษา ท่านก็เป็นบ่อเกิดแห่งความรู้ บ่อเกิดแห่งความฉลาด บ่อเกิดแห่งปัญญา หรือจะเรียกว่า “วิทยากร” เป็นนักวิชาการ ก็น่าจะได้ เพราะคาว่า วิทยากรเป็นรูปศัพท์สันสกฤต คาเดียวกับวิชาซึ่งเป็นรูปศัพท์บาลีและคาว่า “อากร” ซึ่งแปลว่าบ่อเกิด เมื่อเอาวิทยา มาสนธิกับอากร เป็นวิทยากร รวมทั้งผู้ที่อยู่บนโต๊ะวิชาการมาตลอดชีวิต และเคยแต่งตาราเอาไว้มากมาย เราก็เรียกท่านว่า นักวิชาการเหมือนกัน แต่นั่นเป็นเพียงการให้เกียรติและเป็นเพียงการมองนักวิชาการที่ด้ านภายนอกเท่านั้น ไม่ใช่มองจากความเป็นจริงที่ด้านภายในของความเห็นนักวิชากา รที่แท้จริง ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจว่า “วิชา” คือภาพสะท้อนของความสัมพันธ์ภายในของสรรพสิ่ง ซึ่งมาจาก “หลักวิชา” ที่กาหนดขึ้นจาก “กฎของความจริงแท้” (Reality) ที่ดารงอยู่จริง (Existence) ย่อมแน่นอนและถูกต้องตลอดไป
  • 10. จึงเป็น “สัจธรรม” (Truth) ที่มีเพียงหนึ่งเดียว ดังนั้นถ้าเป็นนักวิชาการจริงก็จะไม่มีคาพูดที่ว่า “นักวิชาการก็มีความคิดที่หลากหลาย มีจุดการมองที่แตกต่างกันได้” เพราะที่ว่านั้นคือ คุณสมบัติของนักทฤษฎี ไม่ใช่คุณสมบัติของนักวิชาการ โดยเฉพาะยังเป็นทฤษฎีที่ผิดอีกด้วย ซึ่งเรียกทางภาษาบาลีว่า “มิจฉาทิฏฐิ” เพราะถ้าเป็นนักวิชาการจริงต้องเห็นตรงกันหมด เพราะวิชาหมายถึง ความจริงเพียงหนึ่งเดียว ด้วยเหตุนี้ หลักวิชาจึงเป็นเครื่องตัดสินความถูกผิดของทฤษฎีและนโยบาย ดังนั้นเมื่อทฤษฎีหรือ “ความเห็น” (Theory) หรือนโยบายขัดแย้งกับหลักวิชา จะต้องถือเอาหลักวิชาเป็นหลัก เพราะทฤษฎีและนโยบายนั้นกาหนดขึ้นจากความต้องการของมนุ ษย์ จึงเปลี่ยนแปลงได้และไม่แน่นอนว่าจะถูกต้องเสมอไป แต่หลักวิชากาหนดขึ้นจากกฎของความจริงแท้ จึงถูกต้องและแม่นยาเสมอไป และสามารถนาเอาไปแก้ปัญหาใดๆ ก็ได้ เช่น นโยบาย 66 / 2523 เป็นต้น ผมเห็นผู้ที่อ้างตนเองว่าเป็น “นักวิชาการ” มาแสดงความคิดเห็นทางหน้าจอทีวี ส่วนมากเมื่อตอบคาถามกับพิธีกรมักจะพูดว่า
  • 11. “ในปัญหานี้ผมมีความเห็นว่า ผมคิดว่า ผมเชื่อว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น น่าจะเป็นอย่างนี้ บางครั้งก็เถียงกันเองหน้าจอทีวี หน้าดาหน้าแดง เพื่อจะเอาชนะกัน สิ่งที่ท่านแสดงออกมานั้น แท้จริงแล้วเป็นความเห็นของท่านเองทั้งนั้น หาใช่หลักวิชาไม่ เพราะถ้าเป็นหลักวิชาจริง จะเป็นสิ่งเดียวกันและไม่โต้แย้งกัน บางท่านก็อ้างว่าท่านพูดตาม “ตารา” โดยเข้าใจว่าตารา คือ “วิชา” ซึ่งบางครั้งตาราก็มิใช่หมายความว่าเป็นวิชาด้วยเสมอไป มิฉะนั้น พระพุทธเจ้าก็คงไม่ตรัสแก่ชาวกาลามชนว่า “ปิฎก สัมปทาน” อย่าเชื่อเพราะอ้างว่ามีในตารา หรือ “สมโณโน ครูติ” อย่าเชื่อเพราะเห็นว่าเป็นครู หรือเป็นอาจารย์ของเรา แต่พอพูดถึง “วิชา” แล้วกลับมีพุทธสุภาษิตว่า “สุวิชชา โน ภวังค์ โหติ-ทุวิชชา โน ปรา ภโว” ซึ่งแปลว่า ผู้รู้วิชาเป็นผู้เจริญ ผู้ไม่รู้วิชาเป็นผู้ฉิบหาย ซึ่งตรงกับคาไทยโบราณที่กล่าวไว้ว่า “คุกขังคน ตาราขังปัญญา” ฉะนั้น ผู้ที่เป็นครูบาอาจารย์และเคยแต่งตาราเรียนเอาไว้มากมายมาตลอ ดชีวิตจึงเป็นได้เพียง “นักตาราการ” เท่านั้น ไม่ใช่ “นักวิชาการ” ดังได้กล่าวแล้วว่า หลักวิชา กาหนดขึ้นมาจาก กฎของความจริงแท้ มิใช่กาหนดขึ้นมาจากสิ่งที่ดารงอยู่จริง
  • 12. (Reality) ของธรรมชาติซึ่งเป็น สิ่งสมบูรณ์ หมายถึง สิ่งที่มีอยู่ด้วยตนเอง ไม่ต้องขึ้นกับสิ่งอื่นที่เรียกว่า สัมพันธ์ ไม่มีใครสร้าง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ ดารงอยู่อย่างมีกฎเกณฑ์ มีแต่ผู้ไปค้นพบแล้วนามาเปิดเผย เช่น นักปราชญ์และศาสดาทั้งหลาย เป็นต้น เรียกสิ่งที่ค้นพบนั้นว่า สัจธรรมบ้าง พระธรรมบ้าง หลักการบ้าง หลักวิชาบ้าง หรือจะเรียกว่าอะไร ก็สุดแล้วแต่ กล่าวโดยสรุปก็คือ หมายถึง วิชชา หรือหลักวิชา และหลักวิชาในแต่ละ เรื่องนั้น กว่าโลกจะยอมรับว่าเป็นหลักวิชาได้ บางเรื่องต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องกินเวลาเป็นร้อยเป็นพันปีก็มี อย่างเช่นระบบรัฐสภา เป็นต้น หลักวิชาที่แท้จริงนั้นจีงไม่มีใครเป็นเจ้าของ เพราะสัจธรรมมีเพียงหนึ่งไม่มีใครเป็นเจ้าของ ดังนั้นนักวิชาการที่แท้จริงจะไม่มีจุดมองที่แตกต่างกัน จุดมองที่แตกต่างจึงล้วนเป็น อัตวิสัย ทั้งสิ้น ไม่ใช่ภาวิสัย ไม่ใช่คุณสมบัติของนักวิชาการ และความเห็นผิดย่อมมีเจ้าของ เพราะความผิดก็คือ การบอกถึงความเป็นเจ้าของ ผมดูจากคาให้สัมภาษณ์ของ ดร.สมบัติ ธารงธัญวงศ์ แล้วโดยมองจากจุดยืน มองจากทรรศนะ
  • 13. และมองจากมรรควิธีของท่านแล้วรู้ได้ทันทีว่าเป็นเรื่อง อัตวิสัยล้วนๆครับ ปัญหาวิชาการไม่ว่าในด้าน วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ หรือด้าน วิทยาศาสตร์สังคม ไม่อาจตัดสินด้วย อัตวิสัยของบุคคล และจะตัดสินด้วยการขอประชามติ 6 วัน 63 ล้านความคิด ก็มิได้ครับ มีแต่ต้องเคารพหลักวิชาเท่านั้น พระพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า “ทิฏฐิ” เป็นสิ่งสาคัญสูงสุดในมนุษย์ จึงทรงยกเอา “สัมมาทิฏฐิ” เป็นข้อแรก ของมรรค มีองค์แปด (มรรค แปลว่า “แนวทาง” ) ความเห็นถูกของพระพุทธศาสนา ก็หมายถึง เห็นลูกในภววิสัย หรือเห็นตามหลักวิชาการนั่นเอง จะเรียกว่าความเข้าใจถูกก็ได้ ซึ่งตรงข้ามกับความเข้าใจผิด ซึ่งมีความหมายตรงกับคาว่า “ความเห็นผิด” เป็นคาธรรมดา ถ้าเป็นคาพระเรียกว่า “มิจฉาทิฏฐิ” ถ้าเป็นศัพท์วิชาการเรียกว่า “ทฤษฎีผิด” และปัญหา ความเห็นนั้นเป็นปัญหา เป็นตายของประเทศไทย ซึ่งเรียกเป็นคาอังกฤษว่า Theoretical Problem การแก้ปัญหาของชาติได้ และถ้าแก้ปัญหาผิด ก็มิใช่ว่าผู้แก้จะเสียหายเพียงฝ่ายเดียว แต่จะเสียหานไปถึงประเทศชาติ และรวมถึงประชาชนทุกคนด้วย จึงต้องว่ากันหน่อย ครับ
  • 14. การทางานการเมืองไม่เหมือนการค้าขาย ซึ่งลงทุนผิดก็ล้มละลายแต่ตัวเองเท่านั้น แต่ทาการเมืองผิดหรือทาโดยปราศจากความรู้ทางวิชาการนั้น ไม่เพียงแต่ตัวเองจะล่มจมคนเดียว ยังทาให้ประเทศชาติและประชาชนล่มจมตามไปอีกด้วย เรื่องของการเมืองเป็นเรื่องส่วนรวม หรือ เป็นเรื่องของคนทุกคน ไม่ใช่เรื่องส่วนตัว ทุกคนจึงมีสิทธิตาหนิรัฐบาลได้ มีสิทธิตาหนิผู้ที่มาทางานการเมืองได้ ผู้ทางานการเมืองจึงไม่มีสิทธิฟ้องร้องประชาชนแต่ประการใด แต่ดูเหมือนคุณอภิสิทธิ์จะไม่เข้าใจ ความเห็นถูกนั้นต้องเริ่มจากการใช้ภาษาถูกเป็นอันดับแรกดังคาพู ดของท่าน “ขงจื้อ” ที่กราบทูลฮ่องเต้ว่า “สิ่งที่ผู้ปกครองต้องทาก่อนอื่นใด คือการแก้ไขภาษาให้ถูกต้อง ถ้าภาษาไม่ถูกต้องย่อมหมายความว่า สิ่งที่พูดไม่สอดคล้องกับความหมายของคาพูดนั้น เมื่อสิ่งที่พูดไปตรงกับความหมายของคาพูด ก็หมายความว่า สิ่งที่ควรกระทาจะไม่เกิดขึ้น แม้ว่าจะมีกฎหมายออกบังคับใช้ก็บังคับไม่ได้” การศึกษาวิชาการต่างๆ นั้น มีความหมายสาคัญอยู่ที่จินตภาพ (Concept) ของคา เช่น
  • 15. สัจธรรม (Truth) ความจริงแท้ (Reality) และข้อเท็จจริง (Fact) ว่าต่างกันอย่างไร โดยพื้นฐาน (Basically) หมายความว่าอะไร พระพุทธเจ้าทรงเป็นตัวอย่างยอดเยี่ยม ในความเคร่งครัด จินตภาพของคา ดังจะเห็นได้จากพระพุทธโอวาทประทานแก่พระสาวก ที่จารึกไปประกาศพระศาสนาตอนหนึ่งว่า “อาฑิกลยาณ ปริโยสานกลยาณ สาตถ สพพ พยญชน เกวล ปริปุณณ” แสดงธรรมให้ไพเราะในเบื้องต้น ไพเราะในท่ามกลาง ไพเราะในปริโยสาน ให้ถูกต้อง บริบูรณ์โดยสิ้นเชิงทั้งอรรถและ พยัญชนะ “อรรถ” คือ ความ “พยัญชนะ” คือ คา ก็คือให้ บริบูรณ์โดยสิ้นเชิงทั้ง Concept และ คา นั่นเอง นักวิชาการและนักการเมืองในบ้านเรา อย่าว่าแต่ไม่รู้ “หลักวิชา” เลย แม้แต่ จิตภาพของคาก็ยังไม่เข้าใจ เช่น คาว่า “ปฏิรูปการเมือง” ก็ดี คาว่า “ปฏิรูปประเทศไทย” ก็ดี คาเหล่านี้เป็นคาประดิษฐ์ขึ้นเอง ไม่มีในภาษาวิชาการ เพราะคาว่า “ปฏิรูป”เอามาใช้กับคาว่า “การเมือง”ไม่ได้
  • 16. และจะเอามาใช้กับประเทศก็ไม่ได้เหมือนกัน เริ่มต้นก็ผิดแล้ว เช่นคาว่าการเมือ(Political) เป็น “นาม” ไม่ใช้ “รูป” นอกจากเป็นนามธรรมแล้วยังเป็นสิ่งดารงอยู่จริง (Reality) อีกด้วยคือจิตภาพวัตถุ ที่กว้างที่สุดครอบคลุมไปทุกมิติของดารงอยู่ของมนุษย์ ต่างกับคาว่า การปกครอง (Government) ซึ่งเป็น “รูป” และเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของคาว่าการเมือง เท่านั้น การเมืองเป็นนามจึงปฏิรูปไม่ได้ แต่การปกครองเป็นรูปคือเป็นรูปปกครองด้วยจึงปฏิรูปได้ ดังเช่น พระราชกรณียกิจเปลี่ยนแปลงการปกครองของพระบาทสมเด็จพร ะจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่5 ทรงเรียกการเปลี่ยนแปลงระบบจตุสดมภ์มาเป็นระบบ 12 กระทรวงว่า “คอนเวินเม้นท์รีฟอร์ม” โดยขณะนั้นยังไม่มีศัพท์ภาไทยจึงทรงเรียกทับศัพท์อังกฤษคาว่า “Government Reform” หมายถึง ปฏิรูปการปกครอง ซึ่งทรงใช้ศัพท์ถูกต้องตามหลักวิชาการเป็นอย่างดี แต่สมัยนี้นักวิชาการบอกว่าต้อง ปฏิรูปการเมือง จึงตลกสิ้นดี
  • 17. คาว่า ประเทศ นั้นต้องใช้กับคาว่า “พัฒนา” ไม่ใช่ “ปฏิรูป” เช่น การพัฒนาประเทศ (Country Development) หรือ ใช้แบ่งระดับของการพัฒนาประเทศ เช่น ประเทศด้อยพัฒนา (Under Developed Country) ประเทศกาลังพัฒนา (Developing Country) ประเทศพัฒนาแล้ว (Developed Country) ฉะนั้น จึงไม่มีที่ไหนในโลกเขาใช้ศัพท์คาว่า ปฏิรูปประเทศ แม้แต่มาเลเซียเมื่อเร็วๆนี้ เขาก็ประกาศว่า จะยกระดับจากประเทศกาลังพัฒนา เป็นประเทศพัฒนาแล้วเป็นต้น สาหรับระดับการพัฒนาของประเทศไทยของเรา ถ้าพูดตามหลักวิชาการก็จัดอยู่ในระดับประเทศด้อยพัฒนา หรือ (Under Developed Country) ไม่ใช่ประเทศกาลังพัฒนา เพราะทางการเมืองเป็นระบอบเผด็จการ ทางเศรษฐกิจเป็นระบบผูกขาด ระบอบเผด็จการ นอกจากจะเป็นการเมืองที่ล้าหลังแล้ว ยังเป็นตัวถ่วงความเจริญอีกด้วย ภารกิจของประเทศไทยก็คือ การปฏิวัติประชาธิปไตย ไม่ใช่ปฏิรูปประเทศ เพราะปฏิวัติประชาธิปไตยเท่านั้นจึงจะเปลี่ยนจากประเทศด้อยพัฒ นาให้เป็นประเทศกาลังพัฒนาได้ ดังนั้น การปฏิรูปประเทศไทยโดยไม่ ปฏิวัติประชาธิปไตย ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ก็คือ การแหกตาหลอกประชาชนทั้งประเทศ
  • 18. เพื่อต้องการจะรักษาระบอบเผด็จการให้มั่นคงสถาพรอยู่ต่อไปเท่า นั้นเอง แต่ขณะนี้ประชาชนไม่เชื่อนักการเมืองแล้ว จึงต้องเอานักวิชาการมาทาหน้าที่หลอกประชาชนแทน โดยเฉพาะผู้ที่อ้างตนว่าเป็นนักวิชาการ ก็ยังไม่ใช่นักวิชาการจริงอีกด้วย ในทางวิชาการเรียกพวกนักวิชาการเหล่านี้ว่า Counter Revolutionary Movement ซึ่งก็คือขบวนการที่เป็นอุปสรรคร้ายแรงที่สุดของการสร้างประชา ธิปไตยในประเทศไทยนั่นเอง วันชัย พรหมภา 1 กรกฏาคม 2553 Edit : thongkrm_virut@yahoo.com