SlideShare a Scribd company logo
ทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกา มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ทวีปมืด เป็นทวีปที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่สูง
ทางตอนเหนือและตอนใต้ของทวีปแห้งแล้ง ส่วนภาคกลางเป็นเขตป่าดิบ
สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศดังกล่าวนี้เป็นอุปสรรคต่อการตั้งถิ่นฐานทวีปแอฟริกา
มีเนื้อที่ประมาณ 30,015,147 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก
ความยาววัดจากเหนือสุดไปใต้สุดได้ประมาณ 8,000 กิโลเมตร ความกว้างจากตะวันออกไปตะวันตกได้ประมาณ 7,500
กิโลเมตร มีขนาดเป็นอันดับสองของโลกรองจากทวีปเอเชีย
ขนาดที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ระหว่างลองจิจูดที่ 17 องศาตะวันตก ถึงลองจิจูด 51 องศาตะวันออก ละติจูดที่ 37 องศาเหนือ ถึงละติจูดที่ 34
องศาใต้ เป็นทวีปที่อยู่ทางใต้ของทวีปยุโรปโดยมีทะเลเมดิเตอร์เรนียนเป็นแนวกั้น
แต่มีแผ่นดินเชื่อมต่อกับทวีปเอเชียบริเวณคาบสมุทรไซนาย ทวีปแอฟริกามีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านเกือบถึงกลางทวีป
ทาให้มีพื้นที่อยู่ทั้งซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้
มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ ติดกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ช่องแคบยิบรอลตา
ทิศใต้ ติดกับ มหาสมุทรอินเดีย และ มหาสมุทรแอตแลนติก
ทิศตะวันออก ติดกับ ทวีปเอเชีย ทะเลแดง อ่าวเอเดน และ มหาสมุทรอินเดีย
ทิศตะวันตก ติดกับ อ่าวกินี มหาสมุทรแอตแลนติก
ภูมิภาค
ภูมิภาค ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม.
แอฟริกาเหนือ
ชาด เอ็นจาเมนา 1,284,000
ซูดาน คาร์ทูม 2,505,813
ตูนีเซีย ตูนีส 163,610
ไนเจอร์ นีอาเม 1,267,000
บูร์กินาฟาโซ อูอากาดูกู 274,200
มาลี บามาโก 1,240,000
มอริเตเนีย นูแอกชอต 1,030,700
โมร็อกโค ราบาต 446,550
ลิเบีย ตริโปลี 1,759,540
อียิปต์ ไคโร 1,001,449
แอลจีเรีย แอลเจียร์ 2,381,741
ภูมิภาค ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม.
แอฟริกาตะวันตก
กานา อักกรา 238,537
กินี โคนากรี 245,857
กินีบิสเซา บิสเซา 36,125
แกมเบีย บันจูล 11,295
เคปเวอร์ด ไปรอา 4,031
ซาฮาราตะวันตก เอลอาอิอุน 266,000
เซเนกัล ดาการ์ 196,192
เซียราเลโอน ฟรีเทาน์ 71,740
โตโก โลเม 56,000
ไนจีเรีย ลากอส 923,768
เบนิน ปอร์ตโตโนโว 112,622
ไลบีเรีย มันโรเวีย 111,369
ไอวอรีโคสต์ อาบิดจัน 322,462
แอฟริกากลาง
ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม.
กาบอง ลิเบรอะวิล 267,667
คองโก บราซซาวิล 342,000
แคเมอรูน ยาอุนเด 475,442
ซาอีร์ กินชาชา 2345,409
เซาโตเมและปรินซิเป เซาโตเม 964
แซมเบีย ลูซากา 752,614
อังโกลา ลูอันดา 1,246,700
อิเควตอเรียลกินี มาลาโบ 28,051
แอฟริกากลาง บังกี 622,984
ภูมิภาค ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม.
แอฟริกาตะวันออก
เคนยา ไนโรบี 582,646
คอโมโรส โมโรนี 2,000
จีบูตี จีบูตี 22,000
เซเชลล์ วิกตอเรีย 280
โซมาเลีย โมกาดิสชู 637,657
แทนซาเนีย ดาร์เอสซาลาม 945,087
มอริสเชียส ปอร์ตหลุยส์ 2,000
มาลากาซี ทานานารีฟ 587,041
มาลาวี ลิลองเว 118,484
โมซัมบิก มาปูโต 783,000
ยูกันดา คัมปาลา 236,036
รวันดา คิกาลี 26,338
เรอุนยอง เซนต์เดนิส 2,510
เอธิโอเปีย แอดดิสอาบาบา 1,221,000
ภูมิภาค ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม.
แอฟริกาใต้
ซิมบับเว ซอลสเบอรี 390,580
นามิเบีย วินด์ฮุด 824,292
บอตสวานา กาโบโรน 600,372
เลโซโธ มาเซรู 30,355
สวาซิแลนด์ อึมบาบาน 17,363
แอฟริกาใต้ ปริตอเรีย 1,221,037
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ : มี 4 เขต คือ
1. เขตที่ราบสูง เป็นความกว้างเกือบทั้งหมดของทวีป มีลักษณะเป็นที่ราบสูง
โดยทางภาคตะวันออกและภาคใต้มีระดับสูงสุด คือ มีความสูงอยู่ในช่วง 1,500 – 2,000 เมตร
แล้วพื้นที่ลาดไปทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ซึ่งมีความสูงอยู่ในช่วง 300 – 1,000 เมตร
โดยมีขอบสูงชันอยู่ใกล้ชายฝั่ง ลักษณะพื้นผิวของที่ราบสูงมีทั้งเนินเขาลูกคลื่น และแอ่งที่ราบลุ่ม
2.เขตที่ราบลุ่มแม่น้า มีที่ราบลุ่มแม่น้า 4 แห่ง คือ
2.1 ที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ เป็นแม่น้าที่ยาวที่สุดในทวีปแอฟริกา มีความยาว 6,500 กิโลเมตร
มีต้นน้าอยู่ทางด้านตะวันออกบริเวณทะเลสาบวิกตอเรีย ไหลขึ้นไปทางเหนือผ่านทะเลทราย
ไหลลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เกิดจากภูเขาทางภาคตะวันออก อยู่ในบริเวณประเทศอียิปต์และซูดาน
ปากแม่น้าไนล์มีการทับถมของตะกอนโคลนตมที่แม่น้าพัดพามากลายเป็นที่ราบดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแม่น้า แม่น้าไนล์เป็นแม่น้าที่ไม่เหมาะกับการคมนาคม แต่เหมาะกับการทาพลังงานจากน้า
2.2 ที่ราบลุ่มแม่น้าไนเจอร์ อยู่ทางด้านตะวันตกของทวีป มีความยาว 4,200 กิโลเมตร
ต้นน้าเกิดจากภูเขาทางภาคตะวันตก ไหลผ่านประเทศมาลี ไนเจอร์ และไหลลงอ่าวกินีในประเทศไนเจอร์ ไนจีเรีย
ไหลลงสู่อ่าวกินี ในมหาสมุทรแอตแลนติก
2.3 ที่ราบลุ่มแม่น้าแซมเบซี อยู่ทางภาคใต้เกิดที่ประเทศแองโกลาและแซมเบีย ลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่โมซัมบิก
บริเวณประเทศซิมบับเว มีแม่น้านี้ไหลผ่านเกิดน้าตกที่มีความสวยงามมีชื่อว่า "น้าตกวิกตอเรีย"
2.4 ที่ราบลุ่มแม่น้าคองโก อยู่ในประเทศซาอีร์และคองโก ตามลาน้าจะเป็นเกาะแก่งต่างๆและยังมีน้าตกอยู่มากมาย
3. เขตหุบเขาทรุด อยู่ทางทิศตะวันออกของทวีป เกิดจากการทรุดตัวของเปลือกโลก ทาให้เกิดหุบเขาลึก มีหน้าผาสูงชัน
กลายเป็นทะเลสาบต่อสาบต่อเนื่องกันเป็นแนวยาวจากใต้จรดเหนือ คือ เริ่มจากทะเลสาบไนเอสซา ในประเทศแทนซาเนีย
ต่อเนื่องไปจนถึงทะเลแดง ทะเลสาบเหล่านี้ใช้เป็นเส้นทางคมนาคมภายในทวีป
4. เขตเทือกเขา ในทวีปแอฟริกามีเขตเทือกเขาอยู่ 3 บริเวณ คือ
4.1 ทางภาคตะวันออก มีความสูงมาก
ส่วนใหญ่จะเป็นที่ราบสูงที่มีภูเขาอยู่เป็นแห่งๆที่ราบสูงในบริเวณนี้ก็คือที่ราบสูงเอธิโอเปีย และที่ราบสูงแอฟริกาตะวันออก
ส่วนภูเขาคือภูเขาคิลิมานจาโรอยู่ในแทนซาเนีย สูงที่สุดในแอฟริกา
4.2 ทางภาคใต้ เป็นที่ราบสูงที่เป็นหินแกรนิตอยู่ระหว่างแม่น้าวาลและลิมโปโป
เรียกที่ราบสูงนี้ว่า วิตวอเตอร์สแรนด์เป็นแหล่งผลิตแร่ทองคาของโลก
ในบริเวณนี้มีเทือกเขาดราเกนสเบอร์กเป็นเทือกเขาที่สูงที่สุด
4.3 ทางตะวันตกเฉียงเหนือ วางตัวในแนวตะวันตก – ตะวันออกขนานไปกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ครอบคลุมพื้นที่โมรอกโก แอลจีเรีย และตูเนียเซีย ได้แก่ เทือกเขาแอตลาส โดยมียอดเขาชื่อทูบคาลอยู่ในโมร็อกโก
เขตภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา มี 6 เขต ดังนี้
1. ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น เป็นเขตที่มีอุณหภูมิสูงและฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝนทั้งปีมากกว่า 2,000 มิลลิเมตร
พืชพรรณเป็นป่าดงดิบ ลาต้นสูงใหญ่ มีพรรณไม้เลื้อยนานาชนิด ใกล้พื้นดินมีพืชชนิดต่างๆอย่างหนาแน่น
พบบริเวณที่มีเส้นศูนย์สูตรลากผ่าน คือทางใต้ของอัฟริกาตะวันตกบางส่วนของชายฝั่งอ่าวกินี ลุ่มแม่น้าคองโก
และตะวันออกของเกาะมาดากัสการ์
2. ภูมิอากศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา มีฝนตกมากในฤดูร้อน แห้งแล้งในฤดูหนาว นานประมาณ 6 เดือน
ปริมาณฝนทั้งปีอยู่ระหว่าง 750 - 2,000 มิลลิเมตรต่อปี มีอาณาเขตถัดจากเส้นศูนย์สูตรคืออยู่รอบๆป่าดงดิบ
และทางตะวันตกของเกาะมาดากัสการ์ พืชพรรณธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าที่ต้นไม้ขึ้นสลับแซมเป็นบางตอน
3. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย เป็นเขตที่ร้อนแห้งแล้งมาก ไม่มีฝนตกมาก คือ ต่ากว่า 250 มิลลิเมตรต่อปี
พืชพรรณจะเป็นหญ้าบางชนิดและต้นกระบองเพชรขึ้นอยู่ประปราย พื้นที่ส่วนใหญ่เต็มไปด้วยสันทรายและกรวด
ส่วนมากจะอยู่ทางภาคเหนือของทวีป
คือทะเลทรายสะฮาราและลิเบีย ส่วนทางตอนใต้มีทะเลทรายคาลาฮารีและนามิบ
4.
ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย เป็นเขตที่อยู่รอบๆทะเลทรายและเชื่อมต่อกับภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา
ไม่แห้งแล้งเท่าทะเลทราย แต่ก็มีฝนตกน้อย ปริมาณน้าฝนทั้งปีอยู่ระหว่าง 250 - 500 มิลลิเมตร
พืชพรรณเป็นหญ้าสั้นๆ เรียกว่า ทุ่งหญ้าสเตปส์
5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน มีอยู่ 2 บริเวณเล็กๆ คือชายฝั่งตอนเหนือในเขตประเทศโมร็อกโก แอลจีเรีย
และตูนีเซีย (ชายฝั่งบาร์บารี)กับชายฝั่งตอนใต้สุดของทวีปแถบเมืองเคปทาวน์ประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
พืชพรรณธรรมชาติของภูมิอากาศแบบนี้เป็นป่าไม้และไม้ผลเมดิเตอร์เรเนียน
6. ภูมิอากศแบบอบอุ่นชื้น มีฝนตกมากในฤดูร้อนฤดูหนาวอบอุ่น
เพราะบริเวณนี้อยู่ในชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของแอฟริกาใต้ และภาคใต้ของโมซัมบิก
จากลักษณะที่ตั้งสัมพันธ์ ลักษณะทางกายภาพที่ประกอบด้วยลักษณะทางภูมิประเทศ
และลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา พบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตอากาศร้อน
เนื่องด้วยเป็นทวีปที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง อิทธิพลของทะเลมหาสมุทรเข้าไปไม่ถึง
จึงเกิดทะเลทรายหลายแห่งในทวีป เช่น ทะเลทรายสะฮาราทางตอนเหนือ ทะเลทรายคาลาฮารีทางตอนใต้
แต่ทวีปแอฟริกามีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ ทาให้พื้นที่ที่แห้งแล้งมีคุณค่าทางด้านเศรษฐกิจ
จานวนประชากร
ทวีปแอฟริกามีประชากรทั้งสิ้นในปี พ.ศ. 2547 ประมาณ 800 ล้านคน เป็นทวีปที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2
ของโลก รองจากทวีปเอเซีย
การกระจายของประชากร
ประชากรของทวีปแอฟริกาตั้งถิ่นฐานอยู่หนาแน่นตามที่ราบลุ่มแม่น้า ที่ราบชายฝั่งทะเลและที่ราบสูง
ส่วนบริเวณที่มีประชากรเบาบางมากเป็นบริเวณที่แห้งแล้งซึ่งเป็นทะเลทรายของทวีปแอฟริกา
บริเวณที่มีประชากรตั้งถิ่นฐานอยู่หนาแน่นมี 5 เขต ได้แก่
1. ที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ อยู่ในเขตประเทศอียิปต์และซูดาน
2. ที่ราบชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ ในเขตประเทศโมร็อกโก แอลจีเรียและตูนีเซีย
3. ที่ราบชายฝั่งตะวันตก เป็นกลุ่มประเทศตั้งอยู่ทางด้านเหนือของอ่าวกินี ประกอบด้วย ประเทศแกมเบีย กินีบิสเซา
กินี เซียร์ราเลโอน ไลบีเบีย โกดดิรัวร์ กานา โตโก เบนิน และ ไนจีเรีย
4. ที่ราบชายฝั่งทางด้านใต้และตะวันออกเฉียงใต้ในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้และโมซัมบิก
5. ที่ราบสูงและชายฝั่งภาคตะวันออก ตลอดจนบริเวณรอบ ๆ ทะเลสาบวิกตอเรียประกอบด้วย ประเทศยูกันดา
เคนยา ระวันดา บุรุนดี แทนซาเนีย และแซมเบีย
เมืองที่มีประชากรมากกว่าสองล้านคนขึ้นไป ได้แก่ เมืองอเล็กซานเดรีย ในประเทศอียิปต์ เมืองกินซาซา
ในประทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์) เมืองลากอส ในประเทศไนจีเรีย และเมืองไคโร ประเทศอียิปต์
ประชากรส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกาอาศัยอยู่ในชนบท
การเจริญเติบโตของเมืองในทวีปนี้จึงเป็นไปอย่างล่าช้าเมื่อเทียบกับทวีปอื่น ๆ
เชื้อชาติ
ประชากรในทวีปแอฟริกาแบ่งตามเชื้อชาติได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
1. เชื้อชาตินิกรอยด์ หรือแอฟริกันนิโกร
กลุ่มนี้มี ผิวดา เส้มผมดาหยิกขมวดติดหนังศีรษะ ริมฝีปากหนา จมูกแบนและกว้าง เป็นชนกลุ่มใหญ่ที่สุดของทวีป
มีจานวนประมาณร้อยละ 70 ของประชากรทั้งหมด
ตั้งถิ่นฐานตั้งแต่บริเวณตอนใต้ของทะเลทรายสะฮาราลงไปจนถึงใต้สุดของทวีป มีหลายทวีป
- เผ่าวาตูชี มีรูปร่างสูง
- เผ่าปิกมี มีตัวเตี้ยที่สุด อยู่ตอนกลางของทวีปบริเวณลุ่มแม่น้าคองโก
- เผ่าบุชแมน และฮอทเทนทอดมีรูปร่างเล็ก อาศัยอยู่ในแอฟริกากลางและแอฟริกาใต้บริเวณทะเลทรายกาลาฮารี
- บันตูเป็นชนเผ่าใหญ่ที่สุดในทวีปอยู่ทางตะวันออกแอฟริกากลางและแอฟริกาใต้
- ซูดาน นิโกรอยู่ทางตะวันตกของทวีปชายฝั่งอ่าวกินี
ซูดานนิโกร มาไซ
2. เชื้อชาติ คอเคซอยด์
เป็นพวกผิวขาวส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของทวีป เชื้อชาติคอเคชอยด์กลุ่มนี้มีผิวค่อนข้างขาว ผมหยิกเป็นลอน
ริมฝีปากบาง จมูกค่อนข้างโด่ง เป็นชนเชื้อชาติเดียวกันประชากรในคาบสมุทรอาหรับมีถิ่นฐานอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้าไนล์
แอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือและในแอฟริกาตะวันออก ได้แก่ พวกอาหรับ พวก
เบอร์เบอร์ และยังมีพวกสืบเชื้อสายมาจากชาวยุโรป
ที่สืบเชื้อสายฮอลันดาทีเรียกว่าพวกบัวร์ และอังกฤษในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ และมีคนเชื้อสายมลายู -
อินโดนีเซียในเกาะมาดากัสการ์
ภาษา
มีภาษาพูดอยู่มากเพราะมีประชากรหลายเผ่า มี 5 กลุ่มภาษาด้วยกัน คือ
1. กลุ่มภาษาเซมิติก คือ ภาษาอาหรับพูดกันมากในแอฟริกาเหนือ
2. กลุ่มภาษาซูดาน ภาษาในประเทศที่อยู่ทางตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา ในอัฟริกาตะวันตก
3. กลุ่มภาษาบันตู เป็นภาษาที่ใช้ทางภาคกลางและภาคตะวันออกของทวีป
4. กลุ่มภาษาเฮาซา เป็นกลุ่มภาษาของประชากรที่ทาการค้าขาย
5. กลุ่มภาษายุโรปเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลาย ขึ้นอยู่ว่าดินแดนในทวีปอัฟริกาจะตกเป็นอาณานิคมของชาติใด
หลังได้รับเอกราชแล้ว ก็ยังคงใช้ภาษาของชาวยุโรปอยู่หรือใช้ควบคู่กับภาษาถิ่นของตน
ประเทศที่ใช้ภาษาของชาวยุโรปเป็นภาษาทางการมีดังนี้
5.1 ภาษาอังกฤษ ใช้ในประเทศ กานา แกมเบีย แซมเบีย เซียร์ราเลโอน แทนซาเนีย บอตสวานา ไนจีเรีย มาลาว มอริเชียส
ยูกันดา ไลบีเรีย สวาซิแลนด์
5.2 ภาษาฝรั่งเศส ใช้ในประเทศกินี โกตดิวัวร ์คองโก โคโมโรส จิบูตี ชาด เซเนกัล ซาอีร์ โตโก เบนิน บุรุนดี บูร์กินาฟาโซ
ไนเจอร์ มาลี มอริเตเนีย รวันดา และสาธารณรัฐอัฟริกากลาง
5.3 ภาษาสเปน ใช้ในประเทศ อิเควทอเรียลกินี
5.4 ภาษาโปรตุเกส ใช้ในประเทศ กินีบิสเซา เคปเวิร์ด และโมซัมบิก
5.5 ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ใช้ร่วมกันในประเทศแคเมอรูน
5.6 ภาษาอังกฤษและภาษาอาฟริกานส์ (มาจากพวกบัวร์ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวฮอลันดาที่พูดภาษาดัชต์)
ใช้กันในสาธารณรัฐอัฟริกาใต้
ทวีปแอฟริกามีผูนับถือศาสนาพอที่จะจาแนกได้ดังนี้
ศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดคือ ศาสนาคริสต์ ประมาณร้อยละ 46 รองลงมาคือศาสนาอิสลาม ประมาณร้อยละ 42
ที่เหลือนับถือศาสนาอื่นอื่น ๆ และผีสางเทวดา ร้อยละ 12
ศาสนาคริสต์มีประชากรนับถือทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และนิกายโรมันคาทอลิก ในแอฟริกาตะวันตก แอฟริกากลาง
และแอฟริกาใต้ อันเนื่องมาจากชาวยุโรปได้เข้าไปยึดครองและเผยแผ่ศาสนา ทาให้ประเทศต่าง ๆ
ในทวีปแอฟริกามีประชากรนับถือศาสนาคริสต์จานวนมาก ได้แก่ เคปเวิร์ด อิเควทอเรียลกินี เซาโตเมและปรินซิเป ยูกันดา
มาลาวี เคนยา เลโซโท สวาซิแลนด์และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
ศาสนาอิสลามมีประชากรนับถือศาสนาอิสลามกันอย่างแผ่หลายบริเวณตอนเหนือของทวีปอันเนื่องจากได้รับอิทธิพล
จากชาวอาหรับที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา ทาให้ประเทศต่าง ๆ
ทางตอนเหนือของทวีปมีประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามจานวนมาก ได้แก่ประเทศ โมร็อกโค แอลจีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์
ลิเบีย ซูดาน มอริเตเนีย มาลี ไนเจอร์ เซเนกัลและโซมาเรีย
ศาสนาอื่น ๆ และการนับถือผีสางเทวดา
มีประชากรที่นับถือศาสนาฮินดู ได้แก่ประชากรในประเทศ มอริเชียส ประชากรบางส่วนในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
นอกจากนี้ยังมีประชากรที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ซึ่งมีอยู่จานวนมากยังนับถือผีสางเทวดาอยู่ ตามความเชื่อของเผ่าต่าง ๆ
การเมืองการปกครอง
รูปแบบการปกครอง
ส่วนใหญ่เอามาจากประเทศเมืองแม่ ได้แก่
1. การปกครองแบบรัฐสภา ประมุขของรัฐสภาเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี
ทาหน้าที่เป็นฝ่ายบริหารประเทศ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดพรรคที่มีเสียงข้างมากในสภา
รัฐสภาเป็นผู้เลือกนายกรัฐมนตรี ถ้าสภาไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหารต้องลาออก
ประเทศที่มีการปกครองแบบรัฐสภา คือ สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ แกมเบีย ฯลฯ
2. การปกครองแบบประธานาธิบดี แยกอานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการออกจากกันอย่างเด็ดขาด
ประชาชนเลือกตั้งประธานาธิบดี สมาชิกสภาสูง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐและหัวหน้าฝ่ายบริหาร
ประเทศที่มีการปกครองแบบประธานาธิบดี คือ ไลบีเรีย ฯลฯ
3. การปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งสภา ประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ ประชาชนเลือกประธานาธิบดี
และประธานาธิบดีแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี
และคณะรัฐมนตรีมีส่วนร่วมใช้อานาจบริหารโดยนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีรับผิดชอบฝ่ายสภานิติบัญญัติ
ส่านประธานาธิบดีมีอานาจบริหารอย่างแท้จริง
ประเทศที่มีการปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งสภา คือ จีบูตี กาบอง ฯลฯ
4. การปกครองกึ่งเผด็จการ อาจมีการเลือกตั้ง และใช้ระบบรัฐสภา
แต่อานาจบริหารจะตกอยู่ที่บุคลเพียงคนเดียวหรือคณะบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
ประเทศที่มีการปกครองแบบกึ่งเผด็จการ คือ กินีบิสเซา ฯลฯ
ตาแหน่งประมุขประเทศ
ประเทศส่วนใหญ่มีการปกครองแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ได้แก่ โมร็อกโค เลโซโธ มาริเซียส ฯลฯ
ประวัติความเป็นมาของทวีปแอฟริกา
ถึงแม้ว่าทวีปแอฟริกาจะเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมาก่อนในกลุ่มชาวยุโรปว่าเป็น ทวีปมืด หรือ กาฬทวีป (Dark Continent)
ก็ตามแต่บริเวณตอนเหนือของทวีป เคยเป็นดินแดนที่ยอมรับกัน ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่เก่าที่สุด
บริเวณดังกล่าวได้แก่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศยิอิปต์
อารยธรรมอียิปต์ เริ่มต้นเมื่อประมาณ 3,500 ปี ก่อนคริสต์กาล ความเจริญของอียิปต์บางอย่าง มีส่วน
เสริมสร้างและเป็นรากฐานความเจริญของอารยธรรมยุโรปด้วย ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม
ของชาวอียิปต์นับว่าเด่นกว่าของชนชาติใด ๆ ในสมัยเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นด้านศิลปะหรือวัฒธรรม วิวัฒนาการ
ของปกครองของชาวอียิปต์ ที่เริ่มต้นจากการรวมตัวเป็นหมู่บ้าน
ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มาเป็นสองอาณาจักรและรวมเป็นประเทศ
รวมทั้งความสามารถในการจัดระบบการปกครองของกษัตริย์ ที่เน้นการดึงอานาจมาสู่ศูนย์กลาง
มีผลทาให้อียิปต์มีระบบการปกครองที่มั่นคงอย่างยิ่งในสมัยโบราณชาวอียิปต์ เป็นชนชาติแรกที่ให้มรดกแก่โลกทางด้านวั
ฒนธรรมภาษา กล่าวคือ เป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตัวอักษร
ตัวอักษรอียิปต์รุ่นแรก คืออักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) มีลักษณะเป็นอักษรภาพ ความเชื่อ
ในศาสนาโดยเฉพาะความเชื่อในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ซักนาให้ ชาวอียิปต์ค้นคว้าการทามัมมี่
เพื่อเก็บรักษาศพมิให้เน่าเปื่อย เพื่อรอการกลับคืนมาของวิญญาณ
และยังเชื่อมโยงไปสู่ผลงานที่เด่นที่สุดทางด้านสถาปัตยกรรม คือการสร้างพีระมิด ซึ่งใช้เป็นสถานที่เก็บศพของฟาโรห์
นอกจากนี้ชาวอียิปต์ยังมีความสามารถทางด้านการชลประทาน เลขคณิต เรขาคณิตและการแพทย์อีกด้วย
อาณาจักรอียิปต์โบราณมีความเจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมานานหลายพันปี
จนกระทั่งระยะหลังได้ถูกต่างชาติสับเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครอง อาทิเช่น อัลซีเรียน เปอร์เซียน กรีก
โรมันโดยเฉพาะอาหรับที่เข้ามาครอบแทนที่โรมัน ใน ค.ศ. 1185
ซึ่งมีผลทาให้ดินแดนตอนเหนือของทวีปแอฟริการับถ่ายทอดวัฒนธรรมมุสลิมไว้ทั้งหมด
ส่วนการสารวจภายในทวีปแอฟริกา เริ่มมีอย่าจริงจัง ในคริสต์ศตวรรษที่ 19
ภายหลังการปฎิวัติอุตสาหกรรมทาให้เกิดความต้องการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบใหม่มาป้อนโรงงานอุตสาหกรรมแหล่งเชื้อเพ
ลิงใหม่คือน้ามัน แหล่งแร่ ทองคา รวมทั้งแหล่งระบายพลเมืองที่เพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว
ชาวยุโรปจึงมีความเห็นว่าทวีปแอฟริกาน่าจะเป็นดินแดนที่ช่วยแก้ปัญหาเหล่านั้นได้
จึงเริ่มให้ความสนใจที่จะเดินทางเข้าไปสารวจภายในทวีปเพื่อจับจองไว้เป็นอาณานิคม
แทนที่จะเดินทางสารวจชายฝั่งทะเลอย่างที่เคยกระทามาเมื่อครั้งเริ่มแสวงหาเส้นทางเดินเรือไปยังทวีปเอเซีย
คริสต์ศตวรรษที่ 15 - 16 เบลเยียมเป็นชนชาติแรก ที่เริ่มเข้าไปบุกเบิก และได้ทาการจับจองบริเวณสองฝั่งแม่น้าซาอีร์
(คองโก) ไว้ใน ค.ศ. 1876 บรรดาประเทศในยุโรปทั้งหลาย อังกฤษและฝรั่งเศสนับว่าเป็นคู่แข่งขันสาคัญในการยึดครอง
ดินแดนในทวีปแอฟริกา ดินแดนของฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ไปจนถึงทะเลทรายและฮารา ส่วนอังกฤษได้เข้าครอบครองบริเวณแอฟริกาทางเหนือ
ตะวันตก ตะวันออก และตอนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรมีค่า
นอกจากนี้ประเทศอื่น ๆ เช่น อิตาลี สเปน เยอรมัน โปรตุเกส ได้พากันยึดครองดินแดนต่าง ๆ
จนในที่สุดเหลือประเทศที่เป็นอิสระเพียง 2 แห่ง คือ ไลบีเรีย และเอธิโอเปีย เท่านั้น
การแข่งขันในการแสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริการดังกล่าวนาไปสู่ความขัดแย้งกันระหว่างประเทศมหาอานาจ
และเป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914 - 1918)
นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939 - 1945 ) เป็นต้นมา ประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริกาต่างก็ดิ้นรน
ในการเรียกร้องเอกราชกันเรื่อยมา และต่างก็ประสบความสาเร็จในการปกครองตนเอง อย่างไรก็ตาม
การที่แอฟริกาเป็นทวีปใหญ่ที่ประกอบด้วยประเทศใหญ่เล็กมากมาย
จึงเป็นดินแดนที่ต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปัญหาสาคัญที่สุดคือปัญหา ทางเศรษฐกิจ สังคม
ที่นาไปสู่การขาดความมั่นคง ทางการเมืองในหลายประเทศ นอกจากนี้ยังมีปัญหาอันเกิดจากนโยบายการแบ่งแยกผิว
คือนโยบายอะพาร์ดไฮต์ (Apartheid) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
การแบ่งแยกกลุ่มคนต่างเชื้อชาติในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ออกจากกัน
บังคับใช้โดยรัฐบาลของพรรคNational Party ในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ระหว่างปี ค.ศ. 1948-
1994 การแบ่งแยกคนต่างเชื้อชาติในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
เริ่มต้นตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม แต่การกาหนดเป็นนโยบายแยกคนต่างผิวออกจากกันนี้ได้เป็นนโยบายของรัฐหลังจากการเ
ลือกตั้งในปี ค.ศ. 1948 โดยแบ่งแยกพลเมืองเป็นกลุ่มต่างๆ ได้แก่ พวกผิวดา ผิวขาว ผิวสี และพวกอินเดีย
ชนผิวดาถูกกีดกันออกจากสถานะความเป็นพลเมือง กลายเป็นพลเมืองชั้นต่า รวมไปถึงการกาหนดการศึกษา
การรักษาพยาบาล บริการสาธารณะต่างๆ
โดยที่คนผิวดาจะได้รับบริการที่ด้อยกว่าคนผิวขาว การแบ่งแยกผิวนี้ทาให้เกิดความขัดแย้งภายในประเทศอย่างรุนแรง ก
ลายเป็นการลุกฮือ ประท้วง ต่อต้านรัฐบาล
จึงถูกรัฐบาลสั่งปราบปรามและจาคุกบรรดาผู้นาขบวนการต่อต้านการแบ่งแยกผิวนี้เป็นจานวนมาก
ยิ่งการต่อต้านแผ่กระจายวงกว้างออกไป ฝ่ายปกครองก็ยิ่งตอบโต้ด้วยการกดดันและใช้กาลังรุนแรงมากขึ้น
การปราบปรามการต่อต้านการเหยียดผิวเริ่มอ่อนแรงลงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 จนกระทั่งปี ค.ศ.
1990ประธานาธิบดี เฟรเดอริก วิลเลม เดอ เคลิร์ก จึงได้เริ่มการเจรจาเพื่อยุติปัญหาการเหยียดผิว
ต่อมาได้มีการเลือกตั้งแบบหลากชนชาติภายใต้ระบบประชาธิปไตยเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1994 ซึ่งผู้ชนะการเลือกตั้งคือ
พรรค African National Congress โดยการนาของ เนลสัน
มันเดลา แต่ร่องรอยของการเหยียดผิวยังคงส่งผลต่อนโยบายทางการเมืองและสังคมของประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
ทวีปแอฟริก่า

More Related Content

What's hot

ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
KruNistha Akkho
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
Srinthip Chaiya
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
PariwanButsat
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
Parich Suriya
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
Paew Tongpanya
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ssuser66968f
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
Taraya Srivilas
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 

What's hot (20)

ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 

Viewers also liked

классным руководителям
классным руководителямклассным руководителям
классным руководителям
AngryClown
 
The dysfunctional church summary
The dysfunctional church   summaryThe dysfunctional church   summary
The dysfunctional church summaryLowenfield Alleyne
 
TE Multi-StackAirstack Factory Trained
TE Multi-StackAirstack Factory Trained TE Multi-StackAirstack Factory Trained
TE Multi-StackAirstack Factory Trained Tim England
 
Avaya Leadership
Avaya LeadershipAvaya Leadership
Avaya Leadership
Avaya
 
Ven a los lugares turísticos del beni
Ven a los lugares turísticos del beniVen a los lugares turísticos del beni
Ven a los lugares turísticos del beni
sheyla erika soliz guzman
 
Docu
DocuDocu
Muestras de marcos
Muestras de marcosMuestras de marcos
Muestras de marcosAdrianyuc
 
안전놀이터추천▽○◇kid85.com▽△○ 토토사이트 스마트폰스포츠게임
안전놀이터추천▽○◇kid85.com▽△○ 토토사이트 스마트폰스포츠게임안전놀이터추천▽○◇kid85.com▽△○ 토토사이트 스마트폰스포츠게임
안전놀이터추천▽○◇kid85.com▽△○ 토토사이트 스마트폰스포츠게임
fghngjmhkh
 
Mercedes – benz
Mercedes – benzMercedes – benz
Mercedes – benz
Gladis Chusho Chavez
 
Managing Personal Finance for Teachers
Managing Personal Finance for TeachersManaging Personal Finance for Teachers
Managing Personal Finance for Teachersakinwunmi adelanwa
 
DOCENTES SEDE CUCUTA 75
DOCENTES SEDE CUCUTA 75DOCENTES SEDE CUCUTA 75
DOCENTES SEDE CUCUTA 75
projavier
 
DOCENTES SEDE TUCUNARE
DOCENTES SEDE TUCUNAREDOCENTES SEDE TUCUNARE
DOCENTES SEDE TUCUNARE
projavier
 

Viewers also liked (15)

классным руководителям
классным руководителямклассным руководителям
классным руководителям
 
Ronel D'silva
Ronel D'silvaRonel D'silva
Ronel D'silva
 
The dysfunctional church summary
The dysfunctional church   summaryThe dysfunctional church   summary
The dysfunctional church summary
 
TE Multi-StackAirstack Factory Trained
TE Multi-StackAirstack Factory Trained TE Multi-StackAirstack Factory Trained
TE Multi-StackAirstack Factory Trained
 
Avaya Leadership
Avaya LeadershipAvaya Leadership
Avaya Leadership
 
Ven a los lugares turísticos del beni
Ven a los lugares turísticos del beniVen a los lugares turísticos del beni
Ven a los lugares turísticos del beni
 
Docu
DocuDocu
Docu
 
Muestras de marcos
Muestras de marcosMuestras de marcos
Muestras de marcos
 
Red social
Red socialRed social
Red social
 
Top 5
Top 5Top 5
Top 5
 
안전놀이터추천▽○◇kid85.com▽△○ 토토사이트 스마트폰스포츠게임
안전놀이터추천▽○◇kid85.com▽△○ 토토사이트 스마트폰스포츠게임안전놀이터추천▽○◇kid85.com▽△○ 토토사이트 스마트폰스포츠게임
안전놀이터추천▽○◇kid85.com▽△○ 토토사이트 스마트폰스포츠게임
 
Mercedes – benz
Mercedes – benzMercedes – benz
Mercedes – benz
 
Managing Personal Finance for Teachers
Managing Personal Finance for TeachersManaging Personal Finance for Teachers
Managing Personal Finance for Teachers
 
DOCENTES SEDE CUCUTA 75
DOCENTES SEDE CUCUTA 75DOCENTES SEDE CUCUTA 75
DOCENTES SEDE CUCUTA 75
 
DOCENTES SEDE TUCUNARE
DOCENTES SEDE TUCUNAREDOCENTES SEDE TUCUNARE
DOCENTES SEDE TUCUNARE
 

Similar to ทวีปแอฟริก่า

ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่า
sangkeetwittaya stourajini
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่า
leemeanshun minzstar
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
Mod Haha
 
Bdc412 Africa
Bdc412 AfricaBdc412 Africa
Bdc412 Africa
Bangkok University
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
Artit Boonket
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2sudchaleom
 
ทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddNunoiy Siriporn Sena
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Namphon Srikham
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
leemeanshun minzstar
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
Aus
AusAus
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้krunimsocial
 

Similar to ทวีปแอฟริก่า (20)

ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่า
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่า
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
Bdc412 Africa
Bdc412 AfricaBdc412 Africa
Bdc412 Africa
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
 
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกาลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
 
ทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDddd
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
Aus
AusAus
Aus
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
 
South america
South americaSouth america
South america
 
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
 

More from leemeanxun

Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
leemeanxun
 
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
leemeanxun
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
leemeanxun
 
สำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธสำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธ
leemeanxun
 
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทยกรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
leemeanxun
 
หอเกียรติยศ
หอเกียรติยศหอเกียรติยศ
หอเกียรติยศ
leemeanxun
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
leemeanxun
 
Thai music14
Thai music14Thai music14
Thai music14
leemeanxun
 
Thai music13
Thai music13Thai music13
Thai music13
leemeanxun
 

More from leemeanxun (20)

Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
 
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขนห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน
 
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนาการจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
การจัดการความรู้ ห้องสมุด นิด้า สำนักบรรณสารการพัฒนา
 
สำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธสำนักบรรณสาร มสธ
สำนักบรรณสาร มสธ
 
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทยกรมที่ดิน  กระทรวงมหาดไทย
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
 
หอเกียรติยศ
หอเกียรติยศหอเกียรติยศ
หอเกียรติยศ
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
Thai music14
Thai music14Thai music14
Thai music14
 
Thai music13
Thai music13Thai music13
Thai music13
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

ทวีปแอฟริก่า

  • 1. ทวีปแอฟริกา ทวีปแอฟริกา มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ทวีปมืด เป็นทวีปที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่สูง ทางตอนเหนือและตอนใต้ของทวีปแห้งแล้ง ส่วนภาคกลางเป็นเขตป่าดิบ สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศดังกล่าวนี้เป็นอุปสรรคต่อการตั้งถิ่นฐานทวีปแอฟริกา มีเนื้อที่ประมาณ 30,015,147 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ความยาววัดจากเหนือสุดไปใต้สุดได้ประมาณ 8,000 กิโลเมตร ความกว้างจากตะวันออกไปตะวันตกได้ประมาณ 7,500 กิโลเมตร มีขนาดเป็นอันดับสองของโลกรองจากทวีปเอเชีย ขนาดที่ตั้งและอาณาเขต ตั้งอยู่ระหว่างลองจิจูดที่ 17 องศาตะวันตก ถึงลองจิจูด 51 องศาตะวันออก ละติจูดที่ 37 องศาเหนือ ถึงละติจูดที่ 34 องศาใต้ เป็นทวีปที่อยู่ทางใต้ของทวีปยุโรปโดยมีทะเลเมดิเตอร์เรนียนเป็นแนวกั้น แต่มีแผ่นดินเชื่อมต่อกับทวีปเอเชียบริเวณคาบสมุทรไซนาย ทวีปแอฟริกามีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านเกือบถึงกลางทวีป ทาให้มีพื้นที่อยู่ทั้งซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ช่องแคบยิบรอลตา ทิศใต้ ติดกับ มหาสมุทรอินเดีย และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออก ติดกับ ทวีปเอเชีย ทะเลแดง อ่าวเอเดน และ มหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตก ติดกับ อ่าวกินี มหาสมุทรแอตแลนติก
  • 2. ภูมิภาค ภูมิภาค ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม. แอฟริกาเหนือ ชาด เอ็นจาเมนา 1,284,000 ซูดาน คาร์ทูม 2,505,813 ตูนีเซีย ตูนีส 163,610 ไนเจอร์ นีอาเม 1,267,000 บูร์กินาฟาโซ อูอากาดูกู 274,200 มาลี บามาโก 1,240,000 มอริเตเนีย นูแอกชอต 1,030,700 โมร็อกโค ราบาต 446,550 ลิเบีย ตริโปลี 1,759,540 อียิปต์ ไคโร 1,001,449 แอลจีเรีย แอลเจียร์ 2,381,741 ภูมิภาค ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม. แอฟริกาตะวันตก กานา อักกรา 238,537 กินี โคนากรี 245,857 กินีบิสเซา บิสเซา 36,125 แกมเบีย บันจูล 11,295 เคปเวอร์ด ไปรอา 4,031 ซาฮาราตะวันตก เอลอาอิอุน 266,000
  • 3. เซเนกัล ดาการ์ 196,192 เซียราเลโอน ฟรีเทาน์ 71,740 โตโก โลเม 56,000 ไนจีเรีย ลากอส 923,768 เบนิน ปอร์ตโตโนโว 112,622 ไลบีเรีย มันโรเวีย 111,369 ไอวอรีโคสต์ อาบิดจัน 322,462 แอฟริกากลาง ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม. กาบอง ลิเบรอะวิล 267,667 คองโก บราซซาวิล 342,000 แคเมอรูน ยาอุนเด 475,442 ซาอีร์ กินชาชา 2345,409 เซาโตเมและปรินซิเป เซาโตเม 964 แซมเบีย ลูซากา 752,614 อังโกลา ลูอันดา 1,246,700 อิเควตอเรียลกินี มาลาโบ 28,051 แอฟริกากลาง บังกี 622,984 ภูมิภาค ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม. แอฟริกาตะวันออก เคนยา ไนโรบี 582,646 คอโมโรส โมโรนี 2,000 จีบูตี จีบูตี 22,000 เซเชลล์ วิกตอเรีย 280 โซมาเลีย โมกาดิสชู 637,657 แทนซาเนีย ดาร์เอสซาลาม 945,087 มอริสเชียส ปอร์ตหลุยส์ 2,000 มาลากาซี ทานานารีฟ 587,041 มาลาวี ลิลองเว 118,484 โมซัมบิก มาปูโต 783,000 ยูกันดา คัมปาลา 236,036 รวันดา คิกาลี 26,338
  • 4. เรอุนยอง เซนต์เดนิส 2,510 เอธิโอเปีย แอดดิสอาบาบา 1,221,000 ภูมิภาค ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่-ตร.ก.ม. แอฟริกาใต้ ซิมบับเว ซอลสเบอรี 390,580 นามิเบีย วินด์ฮุด 824,292 บอตสวานา กาโบโรน 600,372 เลโซโธ มาเซรู 30,355 สวาซิแลนด์ อึมบาบาน 17,363 แอฟริกาใต้ ปริตอเรีย 1,221,037 ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศ : มี 4 เขต คือ 1. เขตที่ราบสูง เป็นความกว้างเกือบทั้งหมดของทวีป มีลักษณะเป็นที่ราบสูง โดยทางภาคตะวันออกและภาคใต้มีระดับสูงสุด คือ มีความสูงอยู่ในช่วง 1,500 – 2,000 เมตร แล้วพื้นที่ลาดไปทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ซึ่งมีความสูงอยู่ในช่วง 300 – 1,000 เมตร โดยมีขอบสูงชันอยู่ใกล้ชายฝั่ง ลักษณะพื้นผิวของที่ราบสูงมีทั้งเนินเขาลูกคลื่น และแอ่งที่ราบลุ่ม 2.เขตที่ราบลุ่มแม่น้า มีที่ราบลุ่มแม่น้า 4 แห่ง คือ 2.1 ที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ เป็นแม่น้าที่ยาวที่สุดในทวีปแอฟริกา มีความยาว 6,500 กิโลเมตร มีต้นน้าอยู่ทางด้านตะวันออกบริเวณทะเลสาบวิกตอเรีย ไหลขึ้นไปทางเหนือผ่านทะเลทราย ไหลลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เกิดจากภูเขาทางภาคตะวันออก อยู่ในบริเวณประเทศอียิปต์และซูดาน ปากแม่น้าไนล์มีการทับถมของตะกอนโคลนตมที่แม่น้าพัดพามากลายเป็นที่ราบดินดอนสามเหลี่ยม ปากแม่น้า แม่น้าไนล์เป็นแม่น้าที่ไม่เหมาะกับการคมนาคม แต่เหมาะกับการทาพลังงานจากน้า 2.2 ที่ราบลุ่มแม่น้าไนเจอร์ อยู่ทางด้านตะวันตกของทวีป มีความยาว 4,200 กิโลเมตร
  • 5. ต้นน้าเกิดจากภูเขาทางภาคตะวันตก ไหลผ่านประเทศมาลี ไนเจอร์ และไหลลงอ่าวกินีในประเทศไนเจอร์ ไนจีเรีย ไหลลงสู่อ่าวกินี ในมหาสมุทรแอตแลนติก 2.3 ที่ราบลุ่มแม่น้าแซมเบซี อยู่ทางภาคใต้เกิดที่ประเทศแองโกลาและแซมเบีย ลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่โมซัมบิก บริเวณประเทศซิมบับเว มีแม่น้านี้ไหลผ่านเกิดน้าตกที่มีความสวยงามมีชื่อว่า "น้าตกวิกตอเรีย" 2.4 ที่ราบลุ่มแม่น้าคองโก อยู่ในประเทศซาอีร์และคองโก ตามลาน้าจะเป็นเกาะแก่งต่างๆและยังมีน้าตกอยู่มากมาย 3. เขตหุบเขาทรุด อยู่ทางทิศตะวันออกของทวีป เกิดจากการทรุดตัวของเปลือกโลก ทาให้เกิดหุบเขาลึก มีหน้าผาสูงชัน กลายเป็นทะเลสาบต่อสาบต่อเนื่องกันเป็นแนวยาวจากใต้จรดเหนือ คือ เริ่มจากทะเลสาบไนเอสซา ในประเทศแทนซาเนีย ต่อเนื่องไปจนถึงทะเลแดง ทะเลสาบเหล่านี้ใช้เป็นเส้นทางคมนาคมภายในทวีป 4. เขตเทือกเขา ในทวีปแอฟริกามีเขตเทือกเขาอยู่ 3 บริเวณ คือ 4.1 ทางภาคตะวันออก มีความสูงมาก ส่วนใหญ่จะเป็นที่ราบสูงที่มีภูเขาอยู่เป็นแห่งๆที่ราบสูงในบริเวณนี้ก็คือที่ราบสูงเอธิโอเปีย และที่ราบสูงแอฟริกาตะวันออก ส่วนภูเขาคือภูเขาคิลิมานจาโรอยู่ในแทนซาเนีย สูงที่สุดในแอฟริกา 4.2 ทางภาคใต้ เป็นที่ราบสูงที่เป็นหินแกรนิตอยู่ระหว่างแม่น้าวาลและลิมโปโป เรียกที่ราบสูงนี้ว่า วิตวอเตอร์สแรนด์เป็นแหล่งผลิตแร่ทองคาของโลก ในบริเวณนี้มีเทือกเขาดราเกนสเบอร์กเป็นเทือกเขาที่สูงที่สุด 4.3 ทางตะวันตกเฉียงเหนือ วางตัวในแนวตะวันตก – ตะวันออกขนานไปกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ครอบคลุมพื้นที่โมรอกโก แอลจีเรีย และตูเนียเซีย ได้แก่ เทือกเขาแอตลาส โดยมียอดเขาชื่อทูบคาลอยู่ในโมร็อกโก
  • 6. เขตภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา มี 6 เขต ดังนี้ 1. ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น เป็นเขตที่มีอุณหภูมิสูงและฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝนทั้งปีมากกว่า 2,000 มิลลิเมตร พืชพรรณเป็นป่าดงดิบ ลาต้นสูงใหญ่ มีพรรณไม้เลื้อยนานาชนิด ใกล้พื้นดินมีพืชชนิดต่างๆอย่างหนาแน่น พบบริเวณที่มีเส้นศูนย์สูตรลากผ่าน คือทางใต้ของอัฟริกาตะวันตกบางส่วนของชายฝั่งอ่าวกินี ลุ่มแม่น้าคองโก และตะวันออกของเกาะมาดากัสการ์ 2. ภูมิอากศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา มีฝนตกมากในฤดูร้อน แห้งแล้งในฤดูหนาว นานประมาณ 6 เดือน ปริมาณฝนทั้งปีอยู่ระหว่าง 750 - 2,000 มิลลิเมตรต่อปี มีอาณาเขตถัดจากเส้นศูนย์สูตรคืออยู่รอบๆป่าดงดิบ และทางตะวันตกของเกาะมาดากัสการ์ พืชพรรณธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าที่ต้นไม้ขึ้นสลับแซมเป็นบางตอน 3. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย เป็นเขตที่ร้อนแห้งแล้งมาก ไม่มีฝนตกมาก คือ ต่ากว่า 250 มิลลิเมตรต่อปี พืชพรรณจะเป็นหญ้าบางชนิดและต้นกระบองเพชรขึ้นอยู่ประปราย พื้นที่ส่วนใหญ่เต็มไปด้วยสันทรายและกรวด ส่วนมากจะอยู่ทางภาคเหนือของทวีป คือทะเลทรายสะฮาราและลิเบีย ส่วนทางตอนใต้มีทะเลทรายคาลาฮารีและนามิบ 4. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย เป็นเขตที่อยู่รอบๆทะเลทรายและเชื่อมต่อกับภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา ไม่แห้งแล้งเท่าทะเลทราย แต่ก็มีฝนตกน้อย ปริมาณน้าฝนทั้งปีอยู่ระหว่าง 250 - 500 มิลลิเมตร พืชพรรณเป็นหญ้าสั้นๆ เรียกว่า ทุ่งหญ้าสเตปส์ 5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน มีอยู่ 2 บริเวณเล็กๆ คือชายฝั่งตอนเหนือในเขตประเทศโมร็อกโก แอลจีเรีย และตูนีเซีย (ชายฝั่งบาร์บารี)กับชายฝั่งตอนใต้สุดของทวีปแถบเมืองเคปทาวน์ประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ พืชพรรณธรรมชาติของภูมิอากาศแบบนี้เป็นป่าไม้และไม้ผลเมดิเตอร์เรเนียน 6. ภูมิอากศแบบอบอุ่นชื้น มีฝนตกมากในฤดูร้อนฤดูหนาวอบอุ่น เพราะบริเวณนี้อยู่ในชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของแอฟริกาใต้ และภาคใต้ของโมซัมบิก
  • 7. จากลักษณะที่ตั้งสัมพันธ์ ลักษณะทางกายภาพที่ประกอบด้วยลักษณะทางภูมิประเทศ และลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา พบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตอากาศร้อน เนื่องด้วยเป็นทวีปที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภูมิประเทศเป็นที่ราบสูง อิทธิพลของทะเลมหาสมุทรเข้าไปไม่ถึง จึงเกิดทะเลทรายหลายแห่งในทวีป เช่น ทะเลทรายสะฮาราทางตอนเหนือ ทะเลทรายคาลาฮารีทางตอนใต้ แต่ทวีปแอฟริกามีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ ทาให้พื้นที่ที่แห้งแล้งมีคุณค่าทางด้านเศรษฐกิจ จานวนประชากร ทวีปแอฟริกามีประชากรทั้งสิ้นในปี พ.ศ. 2547 ประมาณ 800 ล้านคน เป็นทวีปที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากทวีปเอเซีย การกระจายของประชากร ประชากรของทวีปแอฟริกาตั้งถิ่นฐานอยู่หนาแน่นตามที่ราบลุ่มแม่น้า ที่ราบชายฝั่งทะเลและที่ราบสูง ส่วนบริเวณที่มีประชากรเบาบางมากเป็นบริเวณที่แห้งแล้งซึ่งเป็นทะเลทรายของทวีปแอฟริกา บริเวณที่มีประชากรตั้งถิ่นฐานอยู่หนาแน่นมี 5 เขต ได้แก่ 1. ที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ อยู่ในเขตประเทศอียิปต์และซูดาน 2. ที่ราบชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ ในเขตประเทศโมร็อกโก แอลจีเรียและตูนีเซีย 3. ที่ราบชายฝั่งตะวันตก เป็นกลุ่มประเทศตั้งอยู่ทางด้านเหนือของอ่าวกินี ประกอบด้วย ประเทศแกมเบีย กินีบิสเซา กินี เซียร์ราเลโอน ไลบีเบีย โกดดิรัวร์ กานา โตโก เบนิน และ ไนจีเรีย 4. ที่ราบชายฝั่งทางด้านใต้และตะวันออกเฉียงใต้ในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้และโมซัมบิก 5. ที่ราบสูงและชายฝั่งภาคตะวันออก ตลอดจนบริเวณรอบ ๆ ทะเลสาบวิกตอเรียประกอบด้วย ประเทศยูกันดา เคนยา ระวันดา บุรุนดี แทนซาเนีย และแซมเบีย เมืองที่มีประชากรมากกว่าสองล้านคนขึ้นไป ได้แก่ เมืองอเล็กซานเดรีย ในประเทศอียิปต์ เมืองกินซาซา ในประทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์) เมืองลากอส ในประเทศไนจีเรีย และเมืองไคโร ประเทศอียิปต์ ประชากรส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกาอาศัยอยู่ในชนบท การเจริญเติบโตของเมืองในทวีปนี้จึงเป็นไปอย่างล่าช้าเมื่อเทียบกับทวีปอื่น ๆ เชื้อชาติ ประชากรในทวีปแอฟริกาแบ่งตามเชื้อชาติได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ 1. เชื้อชาตินิกรอยด์ หรือแอฟริกันนิโกร กลุ่มนี้มี ผิวดา เส้มผมดาหยิกขมวดติดหนังศีรษะ ริมฝีปากหนา จมูกแบนและกว้าง เป็นชนกลุ่มใหญ่ที่สุดของทวีป มีจานวนประมาณร้อยละ 70 ของประชากรทั้งหมด
  • 8. ตั้งถิ่นฐานตั้งแต่บริเวณตอนใต้ของทะเลทรายสะฮาราลงไปจนถึงใต้สุดของทวีป มีหลายทวีป - เผ่าวาตูชี มีรูปร่างสูง - เผ่าปิกมี มีตัวเตี้ยที่สุด อยู่ตอนกลางของทวีปบริเวณลุ่มแม่น้าคองโก - เผ่าบุชแมน และฮอทเทนทอดมีรูปร่างเล็ก อาศัยอยู่ในแอฟริกากลางและแอฟริกาใต้บริเวณทะเลทรายกาลาฮารี - บันตูเป็นชนเผ่าใหญ่ที่สุดในทวีปอยู่ทางตะวันออกแอฟริกากลางและแอฟริกาใต้ - ซูดาน นิโกรอยู่ทางตะวันตกของทวีปชายฝั่งอ่าวกินี ซูดานนิโกร มาไซ 2. เชื้อชาติ คอเคซอยด์ เป็นพวกผิวขาวส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของทวีป เชื้อชาติคอเคชอยด์กลุ่มนี้มีผิวค่อนข้างขาว ผมหยิกเป็นลอน ริมฝีปากบาง จมูกค่อนข้างโด่ง เป็นชนเชื้อชาติเดียวกันประชากรในคาบสมุทรอาหรับมีถิ่นฐานอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้าไนล์ แอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือและในแอฟริกาตะวันออก ได้แก่ พวกอาหรับ พวก เบอร์เบอร์ และยังมีพวกสืบเชื้อสายมาจากชาวยุโรป ที่สืบเชื้อสายฮอลันดาทีเรียกว่าพวกบัวร์ และอังกฤษในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ และมีคนเชื้อสายมลายู - อินโดนีเซียในเกาะมาดากัสการ์ ภาษา มีภาษาพูดอยู่มากเพราะมีประชากรหลายเผ่า มี 5 กลุ่มภาษาด้วยกัน คือ 1. กลุ่มภาษาเซมิติก คือ ภาษาอาหรับพูดกันมากในแอฟริกาเหนือ 2. กลุ่มภาษาซูดาน ภาษาในประเทศที่อยู่ทางตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา ในอัฟริกาตะวันตก 3. กลุ่มภาษาบันตู เป็นภาษาที่ใช้ทางภาคกลางและภาคตะวันออกของทวีป 4. กลุ่มภาษาเฮาซา เป็นกลุ่มภาษาของประชากรที่ทาการค้าขาย 5. กลุ่มภาษายุโรปเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลาย ขึ้นอยู่ว่าดินแดนในทวีปอัฟริกาจะตกเป็นอาณานิคมของชาติใด หลังได้รับเอกราชแล้ว ก็ยังคงใช้ภาษาของชาวยุโรปอยู่หรือใช้ควบคู่กับภาษาถิ่นของตน ประเทศที่ใช้ภาษาของชาวยุโรปเป็นภาษาทางการมีดังนี้ 5.1 ภาษาอังกฤษ ใช้ในประเทศ กานา แกมเบีย แซมเบีย เซียร์ราเลโอน แทนซาเนีย บอตสวานา ไนจีเรีย มาลาว มอริเชียส ยูกันดา ไลบีเรีย สวาซิแลนด์ 5.2 ภาษาฝรั่งเศส ใช้ในประเทศกินี โกตดิวัวร ์คองโก โคโมโรส จิบูตี ชาด เซเนกัล ซาอีร์ โตโก เบนิน บุรุนดี บูร์กินาฟาโซ
  • 9. ไนเจอร์ มาลี มอริเตเนีย รวันดา และสาธารณรัฐอัฟริกากลาง 5.3 ภาษาสเปน ใช้ในประเทศ อิเควทอเรียลกินี 5.4 ภาษาโปรตุเกส ใช้ในประเทศ กินีบิสเซา เคปเวิร์ด และโมซัมบิก 5.5 ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ใช้ร่วมกันในประเทศแคเมอรูน 5.6 ภาษาอังกฤษและภาษาอาฟริกานส์ (มาจากพวกบัวร์ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวฮอลันดาที่พูดภาษาดัชต์) ใช้กันในสาธารณรัฐอัฟริกาใต้ ทวีปแอฟริกามีผูนับถือศาสนาพอที่จะจาแนกได้ดังนี้ ศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดคือ ศาสนาคริสต์ ประมาณร้อยละ 46 รองลงมาคือศาสนาอิสลาม ประมาณร้อยละ 42 ที่เหลือนับถือศาสนาอื่นอื่น ๆ และผีสางเทวดา ร้อยละ 12 ศาสนาคริสต์มีประชากรนับถือทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และนิกายโรมันคาทอลิก ในแอฟริกาตะวันตก แอฟริกากลาง และแอฟริกาใต้ อันเนื่องมาจากชาวยุโรปได้เข้าไปยึดครองและเผยแผ่ศาสนา ทาให้ประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริกามีประชากรนับถือศาสนาคริสต์จานวนมาก ได้แก่ เคปเวิร์ด อิเควทอเรียลกินี เซาโตเมและปรินซิเป ยูกันดา มาลาวี เคนยา เลโซโท สวาซิแลนด์และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ศาสนาอิสลามมีประชากรนับถือศาสนาอิสลามกันอย่างแผ่หลายบริเวณตอนเหนือของทวีปอันเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากชาวอาหรับที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา ทาให้ประเทศต่าง ๆ ทางตอนเหนือของทวีปมีประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามจานวนมาก ได้แก่ประเทศ โมร็อกโค แอลจีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ ลิเบีย ซูดาน มอริเตเนีย มาลี ไนเจอร์ เซเนกัลและโซมาเรีย ศาสนาอื่น ๆ และการนับถือผีสางเทวดา มีประชากรที่นับถือศาสนาฮินดู ได้แก่ประชากรในประเทศ มอริเชียส ประชากรบางส่วนในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ นอกจากนี้ยังมีประชากรที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ซึ่งมีอยู่จานวนมากยังนับถือผีสางเทวดาอยู่ ตามความเชื่อของเผ่าต่าง ๆ การเมืองการปกครอง รูปแบบการปกครอง ส่วนใหญ่เอามาจากประเทศเมืองแม่ ได้แก่ 1. การปกครองแบบรัฐสภา ประมุขของรัฐสภาเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี ทาหน้าที่เป็นฝ่ายบริหารประเทศ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดพรรคที่มีเสียงข้างมากในสภา รัฐสภาเป็นผู้เลือกนายกรัฐมนตรี ถ้าสภาไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหารต้องลาออก ประเทศที่มีการปกครองแบบรัฐสภา คือ สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ แกมเบีย ฯลฯ
  • 10. 2. การปกครองแบบประธานาธิบดี แยกอานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการออกจากกันอย่างเด็ดขาด ประชาชนเลือกตั้งประธานาธิบดี สมาชิกสภาสูง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐและหัวหน้าฝ่ายบริหาร ประเทศที่มีการปกครองแบบประธานาธิบดี คือ ไลบีเรีย ฯลฯ 3. การปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งสภา ประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ ประชาชนเลือกประธานาธิบดี และประธานาธิบดีแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีมีส่วนร่วมใช้อานาจบริหารโดยนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีรับผิดชอบฝ่ายสภานิติบัญญัติ ส่านประธานาธิบดีมีอานาจบริหารอย่างแท้จริง ประเทศที่มีการปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งสภา คือ จีบูตี กาบอง ฯลฯ 4. การปกครองกึ่งเผด็จการ อาจมีการเลือกตั้ง และใช้ระบบรัฐสภา แต่อานาจบริหารจะตกอยู่ที่บุคลเพียงคนเดียวหรือคณะบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ประเทศที่มีการปกครองแบบกึ่งเผด็จการ คือ กินีบิสเซา ฯลฯ ตาแหน่งประมุขประเทศ ประเทศส่วนใหญ่มีการปกครองแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้แก่ โมร็อกโค เลโซโธ มาริเซียส ฯลฯ ประวัติความเป็นมาของทวีปแอฟริกา ถึงแม้ว่าทวีปแอฟริกาจะเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมาก่อนในกลุ่มชาวยุโรปว่าเป็น ทวีปมืด หรือ กาฬทวีป (Dark Continent) ก็ตามแต่บริเวณตอนเหนือของทวีป เคยเป็นดินแดนที่ยอมรับกัน ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่เก่าที่สุด บริเวณดังกล่าวได้แก่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศยิอิปต์ อารยธรรมอียิปต์ เริ่มต้นเมื่อประมาณ 3,500 ปี ก่อนคริสต์กาล ความเจริญของอียิปต์บางอย่าง มีส่วน เสริมสร้างและเป็นรากฐานความเจริญของอารยธรรมยุโรปด้วย ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม ของชาวอียิปต์นับว่าเด่นกว่าของชนชาติใด ๆ ในสมัยเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นด้านศิลปะหรือวัฒธรรม วิวัฒนาการ ของปกครองของชาวอียิปต์ ที่เริ่มต้นจากการรวมตัวเป็นหมู่บ้าน ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มาเป็นสองอาณาจักรและรวมเป็นประเทศ รวมทั้งความสามารถในการจัดระบบการปกครองของกษัตริย์ ที่เน้นการดึงอานาจมาสู่ศูนย์กลาง มีผลทาให้อียิปต์มีระบบการปกครองที่มั่นคงอย่างยิ่งในสมัยโบราณชาวอียิปต์ เป็นชนชาติแรกที่ให้มรดกแก่โลกทางด้านวั ฒนธรรมภาษา กล่าวคือ เป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตัวอักษร
  • 11. ตัวอักษรอียิปต์รุ่นแรก คืออักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) มีลักษณะเป็นอักษรภาพ ความเชื่อ ในศาสนาโดยเฉพาะความเชื่อในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ซักนาให้ ชาวอียิปต์ค้นคว้าการทามัมมี่ เพื่อเก็บรักษาศพมิให้เน่าเปื่อย เพื่อรอการกลับคืนมาของวิญญาณ และยังเชื่อมโยงไปสู่ผลงานที่เด่นที่สุดทางด้านสถาปัตยกรรม คือการสร้างพีระมิด ซึ่งใช้เป็นสถานที่เก็บศพของฟาโรห์ นอกจากนี้ชาวอียิปต์ยังมีความสามารถทางด้านการชลประทาน เลขคณิต เรขาคณิตและการแพทย์อีกด้วย อาณาจักรอียิปต์โบราณมีความเจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมานานหลายพันปี จนกระทั่งระยะหลังได้ถูกต่างชาติสับเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครอง อาทิเช่น อัลซีเรียน เปอร์เซียน กรีก โรมันโดยเฉพาะอาหรับที่เข้ามาครอบแทนที่โรมัน ใน ค.ศ. 1185 ซึ่งมีผลทาให้ดินแดนตอนเหนือของทวีปแอฟริการับถ่ายทอดวัฒนธรรมมุสลิมไว้ทั้งหมด
  • 12. ส่วนการสารวจภายในทวีปแอฟริกา เริ่มมีอย่าจริงจัง ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายหลังการปฎิวัติอุตสาหกรรมทาให้เกิดความต้องการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบใหม่มาป้อนโรงงานอุตสาหกรรมแหล่งเชื้อเพ ลิงใหม่คือน้ามัน แหล่งแร่ ทองคา รวมทั้งแหล่งระบายพลเมืองที่เพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวยุโรปจึงมีความเห็นว่าทวีปแอฟริกาน่าจะเป็นดินแดนที่ช่วยแก้ปัญหาเหล่านั้นได้ จึงเริ่มให้ความสนใจที่จะเดินทางเข้าไปสารวจภายในทวีปเพื่อจับจองไว้เป็นอาณานิคม แทนที่จะเดินทางสารวจชายฝั่งทะเลอย่างที่เคยกระทามาเมื่อครั้งเริ่มแสวงหาเส้นทางเดินเรือไปยังทวีปเอเซีย คริสต์ศตวรรษที่ 15 - 16 เบลเยียมเป็นชนชาติแรก ที่เริ่มเข้าไปบุกเบิก และได้ทาการจับจองบริเวณสองฝั่งแม่น้าซาอีร์ (คองโก) ไว้ใน ค.ศ. 1876 บรรดาประเทศในยุโรปทั้งหลาย อังกฤษและฝรั่งเศสนับว่าเป็นคู่แข่งขันสาคัญในการยึดครอง ดินแดนในทวีปแอฟริกา ดินแดนของฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถึงทะเลทรายและฮารา ส่วนอังกฤษได้เข้าครอบครองบริเวณแอฟริกาทางเหนือ ตะวันตก ตะวันออก และตอนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรมีค่า นอกจากนี้ประเทศอื่น ๆ เช่น อิตาลี สเปน เยอรมัน โปรตุเกส ได้พากันยึดครองดินแดนต่าง ๆ จนในที่สุดเหลือประเทศที่เป็นอิสระเพียง 2 แห่ง คือ ไลบีเรีย และเอธิโอเปีย เท่านั้น การแข่งขันในการแสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริการดังกล่าวนาไปสู่ความขัดแย้งกันระหว่างประเทศมหาอานาจ และเป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914 - 1918) นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939 - 1945 ) เป็นต้นมา ประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริกาต่างก็ดิ้นรน ในการเรียกร้องเอกราชกันเรื่อยมา และต่างก็ประสบความสาเร็จในการปกครองตนเอง อย่างไรก็ตาม การที่แอฟริกาเป็นทวีปใหญ่ที่ประกอบด้วยประเทศใหญ่เล็กมากมาย จึงเป็นดินแดนที่ต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปัญหาสาคัญที่สุดคือปัญหา ทางเศรษฐกิจ สังคม ที่นาไปสู่การขาดความมั่นคง ทางการเมืองในหลายประเทศ นอกจากนี้ยังมีปัญหาอันเกิดจากนโยบายการแบ่งแยกผิว
  • 13. คือนโยบายอะพาร์ดไฮต์ (Apartheid) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ การแบ่งแยกกลุ่มคนต่างเชื้อชาติในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ออกจากกัน บังคับใช้โดยรัฐบาลของพรรคNational Party ในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ระหว่างปี ค.ศ. 1948- 1994 การแบ่งแยกคนต่างเชื้อชาติในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ เริ่มต้นตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม แต่การกาหนดเป็นนโยบายแยกคนต่างผิวออกจากกันนี้ได้เป็นนโยบายของรัฐหลังจากการเ ลือกตั้งในปี ค.ศ. 1948 โดยแบ่งแยกพลเมืองเป็นกลุ่มต่างๆ ได้แก่ พวกผิวดา ผิวขาว ผิวสี และพวกอินเดีย ชนผิวดาถูกกีดกันออกจากสถานะความเป็นพลเมือง กลายเป็นพลเมืองชั้นต่า รวมไปถึงการกาหนดการศึกษา การรักษาพยาบาล บริการสาธารณะต่างๆ โดยที่คนผิวดาจะได้รับบริการที่ด้อยกว่าคนผิวขาว การแบ่งแยกผิวนี้ทาให้เกิดความขัดแย้งภายในประเทศอย่างรุนแรง ก ลายเป็นการลุกฮือ ประท้วง ต่อต้านรัฐบาล จึงถูกรัฐบาลสั่งปราบปรามและจาคุกบรรดาผู้นาขบวนการต่อต้านการแบ่งแยกผิวนี้เป็นจานวนมาก ยิ่งการต่อต้านแผ่กระจายวงกว้างออกไป ฝ่ายปกครองก็ยิ่งตอบโต้ด้วยการกดดันและใช้กาลังรุนแรงมากขึ้น การปราบปรามการต่อต้านการเหยียดผิวเริ่มอ่อนแรงลงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 จนกระทั่งปี ค.ศ. 1990ประธานาธิบดี เฟรเดอริก วิลเลม เดอ เคลิร์ก จึงได้เริ่มการเจรจาเพื่อยุติปัญหาการเหยียดผิว ต่อมาได้มีการเลือกตั้งแบบหลากชนชาติภายใต้ระบบประชาธิปไตยเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1994 ซึ่งผู้ชนะการเลือกตั้งคือ พรรค African National Congress โดยการนาของ เนลสัน มันเดลา แต่ร่องรอยของการเหยียดผิวยังคงส่งผลต่อนโยบายทางการเมืองและสังคมของประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้