SlideShare a Scribd company logo
๕. กริยาสภาวมาลา กริยาที่แสดงลักษณะได้อย่างนาม
คือ เป็นบทประธาน บทกรรม หรือเป็นบทขยายส่วน
ใดส่วนหนึ่งของประโยค โดยไม่ต้องใช้นามหรือสรรพ
นาม
ตัวอย่างเช่น
เป็นคนต้องมีความพยายาม (ทาหน้าที่
ประธาน)
ฉันเก็บเงินไว้สาหรับซื้อเสื้อกีฬา (ขยายนาม)
๔.กริยานุเคราะห์ กริยาที่ทาหน้าที่ช่วยกริยาชนิดอื่น
ให้รู้ว่าเป็นกาล มาลา หรือวาจก
กริยานุเคราะห์ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท
ก. ประกอบข้างหน้าคากริยา เช่น จะ คง ต้อง ถูก
กาลัง ให้ เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น พ่อกาลังพูดโทรศัพท์, เขาจะเดินทาง
พรุ่งนี้ –บอกกาลปัจจุบัน อนาคต
แม่ให้น้องนอน, น้องถูกแม่ตี – บอก
วาจก : การิตวาจก, กรรมวาจก
ข.ประกอบข้างหลังคากริยา เช่น ซิ เถิด แล้ว อยู่ น่ะ
เทอญ
ตัวอย่างเช่น เขาไปแล้ว เขากินข้าวอยู่ – บอก
นางสาวมัธญา แสงฤทธิ์
รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๒๗
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
๑. อกรรมกริยา กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับก็ได้
ความครบถ้วนในตัว
เช่น ทุกคนนอน
หลับ
เด็กร้องไห้
น้องวิ่ง
นอกจากนี้ภาษาไทยยังสามารถใช้คา
วิเศษณ์บางพวกเป็นอกรรมกริยาได้เช่น เธอสวย
เขาสูงกว่าฉัน ห้องนี้ใหญ่
๒. สกรรมกริยา กริยา ที่ต้อง
มีกรรมมารับจึงจะได้
ใจความสมบูรณ์
เช่น เด็กๆกินขนม
แม่ซักผ้า
ข้อสังเกต คากริยาบางคาเป็นได้ทั้งอกรรมกริยา
และสกรรมกริยา
ก.มีผู้กระทาและเกิดสภาพที่กระทา
ตามมา
สกรรมกริยา อกรรมกริยา
เขาเปิดหน้าต่าง หน้าต่างเปิด
ข. คากริยาที่แสดงสภาพการณ์บางอย่าง อาจมี
กรรมมารับหรือไม่มีก็ได้
สกรรมกริยา อกรรมกริยา
ฉันหิวข้าว ฉันหิว
ลมพัดใบไม้ ลมพัด
หมาเห่าคนแปลกหน้า หมาเห่า
๓. วิกตรรถกริยา ( วิ-กะ-ตัด-ถะ-กริ-ยา ) กริยาที่ไม่มี
ความหมายในตัวเอง
บทวิกัติการกที่ตามหลังบทวิกตรรถกริยา มี ๓
ประเภท
ก. บทวิกัติการกที่เป็นคานาม ซึ่งอาจจะมีบุพ
บท “กับ” นาหน้าก็ได้ เช่น เขาเป็นหมอ เขาเหมือนกับ
เด็ก เขาคล้ายสรพงษ์ เขาเป็นคนดี
ข. บทวิกัติการกที่เป็นสรรพนาม ซึ่งอาจจะมี
บุพบท “กับ” นาหน้าก็ได้เช่น เขาเท่ากับฉัน ถ้าฉัน
เป็นเธอ ฉันก็คือฉัน ฉันอยู่กับเขา
ค. บทวิกัติการกที่เป็นคาวิเศษณ์ เช่น เขาเป็น
ใหญ่ เขาเป็นบ้า เขาเป็นใบ้
คากริยา คือ คาที่แสดงอาการของคานามหรือ
สรรนาม เพื่อให้รู้ว่านามหรือสรรพนามนั้นๆ ทา
อะไร หรือเป็นอย่างไร เช่น เดิน วิ่ง กิน นั่ง
นอน เป็นต้น
คากริยา แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ
อกรรมกริยา
สกรรมกริยา
วิกตรรถกริยา
กริยานุเคราะห์
กริยาสภามาลา

More Related Content

What's hot

บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
kasocute
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
Ku'kab Ratthakiat
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
รายงานโครงงานสบู่สมุนไพร
รายงานโครงงานสบู่สมุนไพรรายงานโครงงานสบู่สมุนไพร
รายงานโครงงานสบู่สมุนไพรpomngam
 
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
Prachyanun Nilsook
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
พัน พัน
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
Preeyapat Lengrabam
 
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบkrutitirut
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
leemeanshun minzstar
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
พัน พัน
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าkrupornpana55
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
niralai
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 

What's hot (20)

1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
รายงานโครงงานสบู่สมุนไพร
รายงานโครงงานสบู่สมุนไพรรายงานโครงงานสบู่สมุนไพร
รายงานโครงงานสบู่สมุนไพร
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 

Viewers also liked

คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
Ku'kab Ratthakiat
 
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
Minny Min Min
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
saisrita
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
แอ๋ม นันทิยา
 
แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒
แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒
แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒
Katesuda Fon
 
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนามแผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
ตัน' หยง
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
annworalak
 
แผ่นพับคำวิเศษณ์
แผ่นพับคำวิเศษณ์แผ่นพับคำวิเศษณ์
แผ่นพับคำวิเศษณ์
Bew Arthittaya
 
พิชญานิน แผ่นพับ
พิชญานิน แผ่นพับพิชญานิน แผ่นพับ
พิชญานิน แผ่นพับ
chisuminho
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 

Viewers also liked (10)

คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒
แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒
แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒
 
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนามแผ่นพับ เรื่องคำนาม
แผ่นพับ เรื่องคำนาม
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
 
แผ่นพับคำวิเศษณ์
แผ่นพับคำวิเศษณ์แผ่นพับคำวิเศษณ์
แผ่นพับคำวิเศษณ์
 
พิชญานิน แผ่นพับ
พิชญานิน แผ่นพับพิชญานิน แผ่นพับ
พิชญานิน แผ่นพับ
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 

แผ่นพับ

  • 1. ๕. กริยาสภาวมาลา กริยาที่แสดงลักษณะได้อย่างนาม คือ เป็นบทประธาน บทกรรม หรือเป็นบทขยายส่วน ใดส่วนหนึ่งของประโยค โดยไม่ต้องใช้นามหรือสรรพ นาม ตัวอย่างเช่น เป็นคนต้องมีความพยายาม (ทาหน้าที่ ประธาน) ฉันเก็บเงินไว้สาหรับซื้อเสื้อกีฬา (ขยายนาม) ๔.กริยานุเคราะห์ กริยาที่ทาหน้าที่ช่วยกริยาชนิดอื่น ให้รู้ว่าเป็นกาล มาลา หรือวาจก กริยานุเคราะห์ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ก. ประกอบข้างหน้าคากริยา เช่น จะ คง ต้อง ถูก กาลัง ให้ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น พ่อกาลังพูดโทรศัพท์, เขาจะเดินทาง พรุ่งนี้ –บอกกาลปัจจุบัน อนาคต แม่ให้น้องนอน, น้องถูกแม่ตี – บอก วาจก : การิตวาจก, กรรมวาจก ข.ประกอบข้างหลังคากริยา เช่น ซิ เถิด แล้ว อยู่ น่ะ เทอญ ตัวอย่างเช่น เขาไปแล้ว เขากินข้าวอยู่ – บอก นางสาวมัธญา แสงฤทธิ์ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๒๗ คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
  • 2. ๑. อกรรมกริยา กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับก็ได้ ความครบถ้วนในตัว เช่น ทุกคนนอน หลับ เด็กร้องไห้ น้องวิ่ง นอกจากนี้ภาษาไทยยังสามารถใช้คา วิเศษณ์บางพวกเป็นอกรรมกริยาได้เช่น เธอสวย เขาสูงกว่าฉัน ห้องนี้ใหญ่ ๒. สกรรมกริยา กริยา ที่ต้อง มีกรรมมารับจึงจะได้ ใจความสมบูรณ์ เช่น เด็กๆกินขนม แม่ซักผ้า ข้อสังเกต คากริยาบางคาเป็นได้ทั้งอกรรมกริยา และสกรรมกริยา ก.มีผู้กระทาและเกิดสภาพที่กระทา ตามมา สกรรมกริยา อกรรมกริยา เขาเปิดหน้าต่าง หน้าต่างเปิด ข. คากริยาที่แสดงสภาพการณ์บางอย่าง อาจมี กรรมมารับหรือไม่มีก็ได้ สกรรมกริยา อกรรมกริยา ฉันหิวข้าว ฉันหิว ลมพัดใบไม้ ลมพัด หมาเห่าคนแปลกหน้า หมาเห่า ๓. วิกตรรถกริยา ( วิ-กะ-ตัด-ถะ-กริ-ยา ) กริยาที่ไม่มี ความหมายในตัวเอง บทวิกัติการกที่ตามหลังบทวิกตรรถกริยา มี ๓ ประเภท ก. บทวิกัติการกที่เป็นคานาม ซึ่งอาจจะมีบุพ บท “กับ” นาหน้าก็ได้ เช่น เขาเป็นหมอ เขาเหมือนกับ เด็ก เขาคล้ายสรพงษ์ เขาเป็นคนดี ข. บทวิกัติการกที่เป็นสรรพนาม ซึ่งอาจจะมี บุพบท “กับ” นาหน้าก็ได้เช่น เขาเท่ากับฉัน ถ้าฉัน เป็นเธอ ฉันก็คือฉัน ฉันอยู่กับเขา ค. บทวิกัติการกที่เป็นคาวิเศษณ์ เช่น เขาเป็น ใหญ่ เขาเป็นบ้า เขาเป็นใบ้ คากริยา คือ คาที่แสดงอาการของคานามหรือ สรรนาม เพื่อให้รู้ว่านามหรือสรรพนามนั้นๆ ทา อะไร หรือเป็นอย่างไร เช่น เดิน วิ่ง กิน นั่ง นอน เป็นต้น คากริยา แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ อกรรมกริยา สกรรมกริยา วิกตรรถกริยา กริยานุเคราะห์ กริยาสภามาลา