SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
วัสดุไม่ตีพิมพ์
วัสดุไม่ตีพิมพ์ ( Non– Printed Materials) ได้แก่
โสตทัศนวัสดุประเภทต่าง ๆที่สื่อความหมายโดยผ่านทางประสาทหู และตา
เป็นสื่อความรู้ที่อยู่ในรูปของเสียงและภาพ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว
เข้าใจง่าย และชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ ภาพนิ่ง และภาพ
เลื่อน ภาพยนตร์ ไมโครฟิล์ม แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นบันทึกภาพและ
เสียง ลูกโลก หุ่นจาลอง และของตัวอย่างต่าง ๆ ห้องสมุดมีวัสดุที่ไม่ตีพิมพ์
บริการดังนี้เทปบันทึกเสียง( Cassettetape) วิดีทัศน์ ( Videotape
) ภาพนิ่ง ( Slide ) และแผ่นบันทึกภาพและเสียง ( Compactdisc)
ประเภท
วัสดุอิเล็กทรอนิกส์( ELECTRONIC MATERIALS)
เป็นวัสดุสารสนเทษที่จัดเก็บสารสนเทษในรูปอักษรภาพ และเสียงใว้โดยการแปลง
สารสนเทษให้เป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะต้องมีเครื่องมือสาหรับจัดเก็บและ
แสดงผลออกมา โดยการแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ให้เป็นสัญญาณภาพและเสียง
อีกครั้งหนึ่ง เช่น เทปแม่เห็ก จานแม่เหล็ก
เทปแม่เหล็ก ( MAGNETIC TAPE )
เทปแม่เหล็ก (MAGNETIC TAPE )
เทปแม่เหล็ก ( MAGNETIC TAPE )
มาตรฐานของเท็ปแม่เหล็กสาหรับใช้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ปกติใช้ขนาดกว้าง ? นิ้ว เป็นเทปที่ทา
ด้วยสารไมลา (MYLAR ) เคลือบด้วยสารที่ทาให้
เกิดอานาจแม่เหล็กได้ เทปขนาด ? นิ้ว และ 1 นิ้ว ก็มี
ใช้ บิทคือเรคคอร์ดในช่วงที่วิ่งตามความยาวของเทป
เทปรุ่นเก่าเป็นแบบ 7 ช่อง เทปรุ่นใหม่เป็นแบบ 9
ช่อง ตัวอักษรที่บรรจุลงเนื้อเทป จะรวมของแต่ละบิทที่
เกิดตามขวางของเทปที่ถูกแทนรหัสในแต่ละช่องเทปจะ
มีความจุ 800, 1600, 3200, และ 6250
ตัวอักษรต่อนิ้ว เทปจะถูกอ่านด้วยความเร็ว 36 ถึง
200 นิ้วต่อนาที ความยาวของเทปต่อม้วนประมาณ
2400 ฟุต
ลักษณะและรายละเอียด
ข้อดีของเทปแม่เหล็กคือสามารถบันทึก อ่านและลบกี่ครั้งก็ได้ รวมทั้งมีราคาต่า
นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ในสื่อที่มีขนาดใหญ่
มากนัก ความจุของเทปแม่เหล็กจะมีหน่วยเป็น ไบต์ต่อนิ้ว (byte perinch) หรือ บีพีไอ
(bpi) ซึ่งหมายถึงจานวนตัวอักษรที่เก็บได้ในเทปยาวหนึ่งนิ้ว หรือเรียกได้อีกอย่างว่า
ความหนาแน่นของเทปแม่เหล็ก เทปแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นต่า จะเก็บข้อมูลได้
ประมาณ 1,600 บีพีไอ ส่วนเทปแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นสูง จะเก็บข้อมูลได้
ประมาณ 6,250 บีพีไอ นอกจากนี้จะมีเทปแม่เหล็กรุ่นใหม่ ๆ คือ DAT (Digital
Audio Tape) ซึ่งขนาดใหญ่กว่าเครดิตการ์ดเล็กน้อย แต่สามารถจุข้อมูลได้ 2- 5 จิกะ
ไบต์และ R-DATs ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่า 14จิกะไบต์ บนเทปที่ยาว 90
เมตร การที่เทปแม่เหล็กยังคงได้รับความนิยมให้เป็นสื่อที่เก็บสารองข้อมูล ก็เพราะ
ความเร็ว ความจุข้อมูล และราคานั่นเอง
เทปแม่เหล็ก ซึ่งมีลักษณะเหมือนเทปเพลง เทปทุกชนิดที่กล่าวมามีหลักการทางาน
คล้ายกับเทปบันทึกเสียง คือจะอ่านข้อมูลตามลาดับก่อนหลังตามที่ได้บันทึกไว้ เรียก
หลักการนี้ว่าการอ่านข้อมูลแบบลาดับ
จุดเด่น
ข้อเสียของเทปแม่เหล็ก
ข้อเสียของเทปแม่เหล็กบันทึกข้อมูล คือทาให้อ่านข้อมูลได้ช้า เนื่องจากต้องอ่าน
ข้อมูลในม้วนเทปไปเรื่อย ๆ จนถึงตาแหน่งที่ต้องการ
เทปแม่เหล็กเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลที่มีปริมาณมากได้ ทั้งนี้เพราะว่าเทป
แม่เหล็กประมวลผลได้เร็วและยังเก็บบันทึกข้อมูลได้เป็นจานวนมากอีกด้วย ผู้ใช้จึงนิยมใช้เทป
แม่เหล็กเป็นแฟ้มข้อมูลหลัก (MASTER FILE ) ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลจานวนมากของกิจการ เช่น
กรมสรรพากรจะใช้เทปแม่เหล็กเก็บบันทึกข้อมูลของผู้เสียภาษีทั้งหมดไว้
ความสําคํญและ
ประโยชน์
บทบาทในปัจจุบัน
ปัจจุบันได้รับความนิยมน้อยลง เพราะว่าการใช้เทปแม่เหล็กบันทึก
ข้อมูล คือทาให้อ่านข้อมูลได้ช้า เนื่องจากต้องอ่านข้อมูลในม้วนเทปไปเรื่อย ๆ
จนถึงตาแหน่งที่ต้องการ
THANK YOU

More Related Content

Similar to G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์- (9)

ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
 
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ G.14
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ G.14 ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ G.14
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ G.14
 
Non printed
Non printedNon printed
Non printed
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 

G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-

  • 1.
  • 2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ วัสดุไม่ตีพิมพ์ ( Non– Printed Materials) ได้แก่ โสตทัศนวัสดุประเภทต่าง ๆที่สื่อความหมายโดยผ่านทางประสาทหู และตา เป็นสื่อความรู้ที่อยู่ในรูปของเสียงและภาพ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว เข้าใจง่าย และชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ ภาพนิ่ง และภาพ เลื่อน ภาพยนตร์ ไมโครฟิล์ม แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นบันทึกภาพและ เสียง ลูกโลก หุ่นจาลอง และของตัวอย่างต่าง ๆ ห้องสมุดมีวัสดุที่ไม่ตีพิมพ์ บริการดังนี้เทปบันทึกเสียง( Cassettetape) วิดีทัศน์ ( Videotape ) ภาพนิ่ง ( Slide ) และแผ่นบันทึกภาพและเสียง ( Compactdisc) ประเภท
  • 3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์( ELECTRONIC MATERIALS) เป็นวัสดุสารสนเทษที่จัดเก็บสารสนเทษในรูปอักษรภาพ และเสียงใว้โดยการแปลง สารสนเทษให้เป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะต้องมีเครื่องมือสาหรับจัดเก็บและ แสดงผลออกมา โดยการแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ให้เป็นสัญญาณภาพและเสียง อีกครั้งหนึ่ง เช่น เทปแม่เห็ก จานแม่เหล็ก
  • 5. เทปแม่เหล็ก (MAGNETIC TAPE ) เทปแม่เหล็ก ( MAGNETIC TAPE ) มาตรฐานของเท็ปแม่เหล็กสาหรับใช้ในระบบ คอมพิวเตอร์ปกติใช้ขนาดกว้าง ? นิ้ว เป็นเทปที่ทา ด้วยสารไมลา (MYLAR ) เคลือบด้วยสารที่ทาให้ เกิดอานาจแม่เหล็กได้ เทปขนาด ? นิ้ว และ 1 นิ้ว ก็มี ใช้ บิทคือเรคคอร์ดในช่วงที่วิ่งตามความยาวของเทป เทปรุ่นเก่าเป็นแบบ 7 ช่อง เทปรุ่นใหม่เป็นแบบ 9 ช่อง ตัวอักษรที่บรรจุลงเนื้อเทป จะรวมของแต่ละบิทที่ เกิดตามขวางของเทปที่ถูกแทนรหัสในแต่ละช่องเทปจะ มีความจุ 800, 1600, 3200, และ 6250 ตัวอักษรต่อนิ้ว เทปจะถูกอ่านด้วยความเร็ว 36 ถึง 200 นิ้วต่อนาที ความยาวของเทปต่อม้วนประมาณ 2400 ฟุต
  • 6. ลักษณะและรายละเอียด ข้อดีของเทปแม่เหล็กคือสามารถบันทึก อ่านและลบกี่ครั้งก็ได้ รวมทั้งมีราคาต่า นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ในสื่อที่มีขนาดใหญ่ มากนัก ความจุของเทปแม่เหล็กจะมีหน่วยเป็น ไบต์ต่อนิ้ว (byte perinch) หรือ บีพีไอ (bpi) ซึ่งหมายถึงจานวนตัวอักษรที่เก็บได้ในเทปยาวหนึ่งนิ้ว หรือเรียกได้อีกอย่างว่า ความหนาแน่นของเทปแม่เหล็ก เทปแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นต่า จะเก็บข้อมูลได้ ประมาณ 1,600 บีพีไอ ส่วนเทปแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นสูง จะเก็บข้อมูลได้ ประมาณ 6,250 บีพีไอ นอกจากนี้จะมีเทปแม่เหล็กรุ่นใหม่ ๆ คือ DAT (Digital Audio Tape) ซึ่งขนาดใหญ่กว่าเครดิตการ์ดเล็กน้อย แต่สามารถจุข้อมูลได้ 2- 5 จิกะ ไบต์และ R-DATs ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่า 14จิกะไบต์ บนเทปที่ยาว 90 เมตร การที่เทปแม่เหล็กยังคงได้รับความนิยมให้เป็นสื่อที่เก็บสารองข้อมูล ก็เพราะ ความเร็ว ความจุข้อมูล และราคานั่นเอง เทปแม่เหล็ก ซึ่งมีลักษณะเหมือนเทปเพลง เทปทุกชนิดที่กล่าวมามีหลักการทางาน คล้ายกับเทปบันทึกเสียง คือจะอ่านข้อมูลตามลาดับก่อนหลังตามที่ได้บันทึกไว้ เรียก หลักการนี้ว่าการอ่านข้อมูลแบบลาดับ จุดเด่น
  • 7. ข้อเสียของเทปแม่เหล็ก ข้อเสียของเทปแม่เหล็กบันทึกข้อมูล คือทาให้อ่านข้อมูลได้ช้า เนื่องจากต้องอ่าน ข้อมูลในม้วนเทปไปเรื่อย ๆ จนถึงตาแหน่งที่ต้องการ เทปแม่เหล็กเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลที่มีปริมาณมากได้ ทั้งนี้เพราะว่าเทป แม่เหล็กประมวลผลได้เร็วและยังเก็บบันทึกข้อมูลได้เป็นจานวนมากอีกด้วย ผู้ใช้จึงนิยมใช้เทป แม่เหล็กเป็นแฟ้มข้อมูลหลัก (MASTER FILE ) ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลจานวนมากของกิจการ เช่น กรมสรรพากรจะใช้เทปแม่เหล็กเก็บบันทึกข้อมูลของผู้เสียภาษีทั้งหมดไว้ ความสําคํญและ ประโยชน์