SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
โสตทัศนวัสดุ เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภท วัสดุไม่ตีพิมพ์
วัสดุไม่ตีพิมพ์
ทรัพยากรสารสนเทศที่ใช้ในการบันทึกความรู้ที่นาเสนอสาระความรู้ผ่าน
ประสาทสัมผัสทางหู และตา ได้แก่ ต้นฉบับตัวเขียน โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ วัสดุ
อิเล็กทรอนิกส์ วัสดุย่อส่วน และโสตทัศนวัสดุ
ความหมายของโสตทัศนวัสดุ
ความหมายตามพจนานุกรม
โสตทัศนวัสดุ [โสตะทัดสะนะวัดสะดุ, โสดทัดสะนะวัดสะดุ] (กฎ) น.งานอัน
ประกอบด้วยลาดับของภาพโดยบันทึกลงในวัสดุไม่ว่าจะมีลักษณะอย่างใดอันสามารถที่จะ
นามาเล่นซ้าได้อีก โดยใช้เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการใช้วัสดุนั้น และหมายความรวมถึง
เสียงประกอบงานนั้น
ความสาคัญของโสตทัศนวัสดุ
ทรัพยากรสารสนเทศที่มีความสาคัญในการให้บริการข้อมูล สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้หลากหลาย และในทุกสถานที่ เป็นแหล่งข้อมูลเคลื่อนที่ในการตอบคาถาม
เฉพาะเรื่อง เป็น แหล่งให้ความรู้ความบันเทิง เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สาคัญใน
กระบวนการเรียนการสอนและปัจจุบันเป็นเครื่องมือที่สาคัญ ในการติดต่อสื่อสาร
ระหว่างบุคคล ในระบบอินเทอร์เน็ต ได้แก่ ภาพยนตร์ สไลด์เสียงประกอบ วีดิทัศน์
จุดเด่นของโสตทัศนวัสดุ
1. ทาให้เกิดความน่าสนใจ เพราะมีทั้งภาพและเสียงประกอบ
2. ทาให้บทเรียนง่ายขึ้น สามารถใช้โสตทัศนวัสดุศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองได้
3. ช่วยให้ประหยัดเวลา
4. ช่วยขจัดข้อยุ่งยากของสิ่งต่างๆ ที่จะนามาศึกษา ในเรื่องของสิ่งที่มีขนาดใหญ่หรือเล็ก ช้าหรือเร็ว
เกินไป
ข้อจากัดของโสตทัศนวัสดุ
1.ผู้เรียนมีโอกาสศึกษาได้ตามอัตภาพของตนเอง
2.ศึกษาได้ด้วยตนเอง และใช้ในการตั้งแสดง (นิทรรศการ)
3.ไม่ต้องใช้อุปกรณ์อื่นประกอบ หรืออาจต้องใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์หลายอย่างประกอบการนาเสนอ
ภาพยนตร์
กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนาออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหวภาพที่
ปรากฏบนฟิล์ม ภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทาแล้วเป็นเพียงภาพ นิ่ง
จานวนมากที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยน แปลงไปทีละน้อย
ต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทาและตัดต่อมา
-มีทั้งแสง สี เสียง และภาพเคลื่อนไหวประกอบดนตรี ทาให้ประทับใจและจดจา
-สามารถเร่งเร้าความสนใจของผู้ชมได้ตลอดเวลาที่ภาพยนตร์ฉายอยู่
- สามารถสอดแทรกความคิดเห็น และเป็นสื่อในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติพฤติกรรมได้
ง่าย
- สามารถเสนอภาพในอดีตที่เราไม่สามารถย้อนกลับไปชมได้อีก
- ใช้เทคนิคสร้างเหตุการณ์ประกอบฉากการถ่ายทาได้อย่างสมจริงสมจังที่สุด
ข้อดีของภาพยนตร์
ข้อจากัดของภาพยนตร์
- ค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการถ่ายทาภาพยนตร์สูงมาก
- ไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มชนเป้าหมายจานวนมาก ๆ ได้ชมได้ในจานวนจากัด
เพราะผู้ชมอยู่ในห้องฉายภาพยนตร์ เท่านั้น
- มีข้อจากัดเกี่ยวกับเครื่องอุปกรณ์และห้องฉายภาพยนตร์
ประโยชน์ของภาพยนตร์
1. ภาพยนตร์ช่วยเชื่อมการเห็นภาพลักษณะเคลื่อนไหวกับเสียงบรรยาย
2.ภาพยนตร์ช่วยขจัดอุปสรรคในด้านความสามารถในการเรียนรู้ภาพยนตร์เป็นเสมือนผู้สื่อสารที่มีแนวคิดที่มี
ประสิทธิภาพ
3. ภาพยนตร์ช่วยสร้างสิ่งต่างๆในอดีตได้เช่น เหตุการณ์ต่างๆในประวัติศาสตร์ ทาให้น่าตื่นเต้นและเชื่อถือได้
โดยการแสดงนาฏกรรมต่างๆ
4. ภาพยนตร์ช่วยสร้างประสบการณ์ “ร่วม”ช่วยเชื่อมประสบการณ์ที่แตกต่างกันของสมาชิกในกลุ่มได้
5.ภาพยนตร์สามารถแสดงการการกระทาที่ติดต่อเนื่องกันให้เห็นและทาได้เหมือนสภาพความเป็นจริงตาม
ธรรมชาติได้
6. สามารถเรียนรู้โลกภาพนอกได้กว้างขวาง เช่น การศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวจีน สเปน ฯลฯ หรือชีวิต
สัตว์ใต้ทะเล การทัศนศึกษา ภูมิประเทศถิ่นทะเลทราย ภูเขา ป่าไม้ฯลฯ โดยภาพยนตร์
7.ภาพยนตร์บางชนิดสามารถใช้ในการทดสอบได้ด้วยคุณสมบัติของภาพยนตร์ที่มีความยืดหยุ่นได้เช่น ใช้
บางตอนไม่จาเป็นจะต้องใช้ทั้งเรื่องก็ได้ปิดเสียงบรรยายตามตอนที่ต้องการก็ได้
บทบาทของภาพยนตร์
ภาพยนตร์มักจะมีจุดประสงค์ด้านการขายความบันเทิง หากใช้ภาพยนตร์
เป็นสื่อสาหรับการศึกษา ก็น่าเชื่อว่าภาพยนตร์จะสามารถถ่ายทอดความรู้ความคิด
ที่เป็นประโยชน์ไปสู่ประชาชนอย่างกว้างขวาง ภาพยนตร์สามารถถ่ายทอด
เรื่องราวต่างๆให้ผู้ชมเข้าใจ หรือเกิดความซาบซึ้งได้ดีกว่าสื่อประเภทอื่น
สไลด์ประกอบเสียง
สื่อประเภทภาพนิ่งโปร่งแสงที่บันทึกไว้บนฟิล์มหรือกระจกใช้ฉายผ่าน
ทางเครื่องฉายให้ภาพปรากฎบนจอและมีเสียงประกอบ
ข้อดีของสไลด์ประกอบเสียง
1. ผลิตง่าย
2. ปรับปรุงแก้ไขได้ง่าย
3. บันทึกภาพจากสื่ออื่นลงสไลด์ได้ง่าย
4. สะดวกในการใช้และการเก็บรักษา
5. ใช้ร่วมกับสื่ออื่นได้ดี เช่น เทป
6. ศึกษานานเท่าไหร่ก็ได้
ข้อจากัดของสไลด์ประกอบเสียง
1. ภาพอาจสับสนได้ง่าย หายได้ง่าย
2. การใส่ภาพอาจกลับหัวหรือกลายซ้ายเป็นขวา
3. สไลด์เป็นภาพนิ่ง ไม่เคลื่อนไหว ไม่เป็นกระบวนการ
บทบาทของสไลด์ประกอบเสียง
ในปัจจุบันมีผู้นิยมใช้สไลด์กันอย่างกว้างขวาง ทั้งในสถานศึกษา หน่วยงานของรัฐ องค์การ
ธุรกิจ เอกชน และตลอดจนนามาใช้ในครอบครัว เพื่อความสนุกสนาน เพื่อบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ
สไลด์ประกอบเสียงนั้นเป็นสื่อที่น่าสนใจเพราะสไลด์ประกอบเสียง เป็นการยกฐานะสไลด์ที่ไม่มีเสียง
ประกอบให้มีประสิทธิภาพที่ดี น่าสนใจมากขึ้น ทั้งนี้นอกจากจะมีเสียงบรรยายแล้วยังอาจมีเสียง
ประกอบพิเศษอื่น ๆ ได้อีกด้วย เช่น เสียงดนตรี เสียงรถ เสียงคนสนทนา เสียงนกร้อง เสียงน้าตก เป็น
ต้น
วิดิทัศน์
เป็นเทปแม่เหล็กที่ใช้บันทึกภาพและเสียงในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สามารถลบและ
บันทึกใหม่ ได้เช่นเดียวกับเทปบันทึกเสียง การใช้ต้องใช้ร่วมกับเครื่องบันทึกภาพ เครื่องเล่นวิดิทัศน์
และเครื่องรับโทรทัศน์
ข้อดีของวิดิทัศน์
1.แสดงการเคลื่อนไหวทั้งภาพและเสียงพร้อมกัน
2.นาเสนอเนื้อหาเป็นลาดับและไม่เรียงลาดับได้
3.นาเสนอได้พร้อมกันในหลายๆพื้นที่
4.สอนได้ทั้งรายบุคคลและกลุ่มใหญ่และหลายกลุ่มใหญ่
5.ย้อนกลับหรือข้ามเนื้อหาหรือหยุดดูรายละเอียดของภาพได้
6.ถ่ายทา/บันทึกภาพแล้วดูได้ทันที
7.เทปบันทึกภาพสามารถนามาใช้ได้อีก
ข้อเสียของวิดิทัศน์
1.ต้นทุนในการผลิตสูงกล้องและอุปกรณ์จัดต่อ อุปกรณ์บันทึกเสียง
2.ต้องมีทักษะในการผลิตรายการ
3.แก้ไขเนื้อหายาก
ประโยชน์ของวิดิทัศน์
1. สามารถฉายกลับดูภาพที่บันทึกไว้ได้ทันที
2. เทปวีดิทัศน์มีราคาถูกใช้บันทึกได้หลายครั้ง ขณะเดียวกันกสามารถทาการตัดต่อภาพด้วย
กระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ได้ภาพและเสียงที่สมบูรณ์ หรือหากจะทาสาเนาเพื่อการเผยแพร่
จานวนมากทาได้
3. ชุดอุปกรณ์แบบกระเป๋ าหิ้ววสามารถนาไปถ่ายทายัง
สถานที่ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
4. วิดิทัศน์มีความเหมาะสมที่จะนาไปใช้ในวงการศึกษาการแพทย์การอุตสาหกรรม และอื่นๆ ที่มี
งบประมาณจากัด
บทบาทของวิดิทัศน์
ปัจจุบันวีดิทัศน์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของหน่วยงานและชีวิตประจาวันของบุคคลทุกคน ภาพ
ทุกภาพ เรื่องทุกเรื่องจากสื่อวีดิทัศน์ มีอิทธิพลต่อทัศนคติ ความเชื่อ ความรู้สึกนึกคิดของบุคคลทั่วไป
เนื่องจากเป็นการบริการถึงบ้าน บางรายการใช้กลยุทธ์ทางการตลาดและจิตวิทยา บางโฆษณา ใช้การ
นาเสนอซ้าบ่อยครั้ง ทาให้ผู้ดูจาติดตา ประทับใจ และเปลี่ยนแปลงตามสื่อนั้นๆ โดยไมรู้ตัว ทาให้วีดิ
ทัศน์เป็นสื่อที่ให้ภาพและเสียงได้สมจริง โดยใช้เครื่องรับวีดิทัศน์เป็นช่องทางสื่อสาร ภาพและการ
แสดงต่างๆ สามารถใช้กล้องบันทึกได้ง่ายเสมือนภาพถ่าย แต่ที่เหนือกว่าภาพถ่ายคือ การนาเสนอภาพที่
บันทึกจากกล้องวีดิทัศน์นั้น มีการเคลื่อนไหวได้อย่างเป็นธรรมชาติ
จัดทำโดย
1. นำงสำวกูฮำมีด๊ะห์ ดอฆอ รหัส 406010001
2. นำงสำวอัสมำ ซำเระ รหัส 406010004
3. นำงสำวอำตีกะฮ์ เดชหล่อหีม รหัส 406010009
4. นำสำวสุพัตรำ แวสำมะ รหัส 406010012

More Related Content

Similar to G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ

โสตทัศนวัสดุ
โสตทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ
โสตทัศนวัสดุ Sofeeyah Taleh
 
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-AduenanDumeedae
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 

Similar to G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ (6)

โสตทัศนวัสดุ
โสตทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ
โสตทัศนวัสดุ
 
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 

More from อาฟีฟะห์ หะยีนอ

More from อาฟีฟะห์ หะยีนอ (6)

G.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วนG.14วัสดุย่อส่วน
G.14วัสดุย่อส่วน
 
G.14สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
G.14สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษG.14สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
G.14สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
 
G14 สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
G14 สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษG14 สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
G14 สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ
 
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสารG14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
 
G14 เรื่องหนังสือพิมพ์
G14 เรื่องหนังสือพิมพ์G14 เรื่องหนังสือพิมพ์
G14 เรื่องหนังสือพิมพ์
 
G14 หนังสือพิมพ์
G14 หนังสือพิมพ์G14 หนังสือพิมพ์
G14 หนังสือพิมพ์
 

G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ