SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก เช่น
มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการทางาน ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูล หรือรับ-ส่งข้อมูลระหว่างกัน
ตลอดจนใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile phone) หรือโทรศัพท์มือถือในการติดต่อสื่อสาร
องค์การทั้งภาครัฐและเอกชนได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ามาใช้งานในทุกระดับชั้น
ขององค์กร เช่น งานด้านการบริหาร การจัดการ และการปฏิบัติการ
- เทคโนโลยี (technology) หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ในการพัฒนา
เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ วิธีการหรือกระบวนการ เพื่อช่วยในการทางานหรือแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
บุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร
- สารสนเทศ (information) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนาข้อมูลมาผ่านกระบวนการต่างๆ อย่างมีระบบ จะได้
สิ่งที่เป็นประโยชน์ มีคุณค่าและสาระ หรือมีเนื้อหาและรูปแบบที่เหมาะสมตามความต้องการของผู้ใช้
- เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างหรือจัดการกับสารสนเทศ
อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ
องค์กร
- เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูล และการสื่อสารนับตั้งแต่การ
สร้าง การนามาวิเคราะห์หรือการประมวลผล การรับและการส่งข้อมูล การจัดเก็บและการนาข้อมูลกลับไปใช้งานใหม่
ระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบ
สารสนเทศประกอบด้วย
1.2.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
ต่างๆ เช่น คีย์บอร์ด (keyboard) เมาส์ (mouse) จอภาพ (monitor) จอภาพสัมผัส
(touch screen) ปากกาแสง (ligh pen) เครื่องอ่านรหัส
แท่ง (barcode reader) เครื่องพิมพ์ (printer) ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) รวมทั้ง
อุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น โมเด็ม (modem) และสายสัญญาณ
1.2.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง (instruction)
ที่ใช้ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เพื่อให้ทางานตามคาสั่งของ
ผู้ใช้ โดยทั่วไปโปรแกรม หรือชุดคาสั่งจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
• ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ และทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ระบบ
แบ่งออกเป็น
1) ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์
และซอฟแวร์ทั้งหมดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังรูปที่ 1.5 โดยจะทาหน้าที่ดูแลและจัดการให้ฮาร์ดแวร์และ
ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งอยู่ทางานประสานกันอย่างเป็นระบบ ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์ (Windows) ลี
นุกซ์ (Linux) และแมคโอเอส (Mac OS)
2) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utilities program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยเสริมการทางานของคอมพิวเตอร์ หรือ
ช่วยโปรแกรมใช้งานอื่นๆ ให้มีความสามารถใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการจัดการข้อมูล
(file manager) โปรแกรมที่ใช้ในการสารองและเรียกคืนข้อมูล (back and restore) และ โปรแกรมที่ใช้
ในการบีบอัดแฟ้ มข้อมูล (file compression)
3) โปรแกรมขับอุปกรณ์ หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ (device driver) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการติดตั้งระบบ
เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อหรือใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้
• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทางานตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง ซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก
(Basic) ปาสคาล (Pascal) โคบอล (Cobol) ซี (C) ซีพลัสพลัส (C++) และจาวา (Java) ซอฟต์แวร์
ประยุกต์แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้
1.2.3 ข้อมูล (data) ข้อมูลจะถูกรวบรวมและป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านอุปกรณ์ของหน่วย
รับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และสแกนเนอร์ (scanner) ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบเพื่อ
การสืบค้นที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจา (memory unit) ก่อนที่จะถูก
ย้ายไปเก็บที่หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) เช่น ฮาร์ดดิสก์ และแผ่นซีดี (Compact Disc:
CD) การป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
1.2.4 บุคลากร (people) บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ ในที่นี้หมายถึงบุคลากรที่
เป็นผู้ใช้ระบบสารสนเทศ บุคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ จะต้องมีความรู้ความสามารถในการพัฒนา
ระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพให้สามารถทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้ใช้ง่ายและสะดวก ส่วนผู้ใช้ต้องมี
ความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้งานระบบสารสนเทศและการสื่อสารต่างๆ ได้อย่างถูกต้องจึงจะเกิด
สารสนเทศที่เป็นประโยชน์
1.2.5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedure) ระบบสารสนเทศต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้น
ชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย และดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานการณ์ปกติและ
สถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับ
ความเสียหาย หรือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ควร
ได้รับการรวบรวมและจัดทาให้เป็นรูปเล่ม ของคู่มือการใช้งาน
1.3.1 ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เพื่ออานวยความสะดวกในการบริหาร ด้านการ
บริหารด้านการศึกเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีส่วนทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในปัจจุบันมีความ
สะดวกสบายมากขึ้น ทาให้คนในสังคมมีการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ง่ายและรวดเร็ว มีการทากิจกรรมหลายสิ่งหลายอย่าง
ร่วมกันง่ายขึ้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ระบบการลงทะเบียน
และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่ม ประสิทธิภาพ
การเรียนการสอน
1.3.2 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เริ่มตั้งแต่การ
ทาทะเบียนคนไข้ การรักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
และแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลอง การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ งานศึกษาโมเลกุล
สารเคมี สามารถค้นคว้าข้อมูลทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่าน
เครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ (EMI
scanner) ถูกนามาถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง
1.3.3 ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้
ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบข้อมูลเพื่อการเกษตรและพยากรณ์ผลผลิตด้าน
การเกษตร นอกจากนี้ยังช่วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม การประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้
ทางานบ้าน และหุ่นยนต์เพื่องานอุตสาหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น โรงงาน
สารเคมี โรงผลิตและการจ่ายไฟฟ้ า รวมถึงงานที่ต้องทาซ้าๆ
1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึง
ปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็น
เครื่องรับข้อความ มาเป็นถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้
นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกข้อมูลสั้นๆ
บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสามารถ
เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส
(stylus)
1.4.2 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ใช้
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงโดยจุดเดียว (stand alone) ต่อมามีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็นระบบรับ
และให้บริการ หรือที่เรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ (client-server system) โดยมีเครื่องให้บริการ
(server) และเครื่องรับบริการ (client) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของระบบรับ-ให้บริการมาใช้
ช่วยให้การทางานง่ายขึ้น สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ต โดยมี
เว็บเซอร์เวอร์ (web server) เป็นเครื่องให้บริการ
1.4.3 ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามา
แทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนวนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่ง
ของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบที่ทางานอัตโนมัติเช่นนี้ อาจ
กลายเป็นระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดยเข้ามาแทนที่การทางาน
ของมนุษย์ มีการเชื่อมต่ออย่างกว้างขวางไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ใน
ปัจจุบัน
1.5.1 ด้านสังคม สภาพเสมือนจริง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่าง ๆ
จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไซเบอร์สเปซ
(Cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้าและบริการ การ
ทางานผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง (virtual)
เช่น เกมเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ที่ทางาน
เสมือน ซึ่งทาให้ช่วยลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ ทุกที่ทุกเวลา
1.5.2 ด้านเศรษฐกิจ ทาให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์ (globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการ
โทรทัศน์ ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่าง ๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ต ใน
การติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจกระจายเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้า
และบริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
1.5.3 ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือ
ภาพถ่ายทางอากาศร่วมกับการจัดเก็บรักษาข้อมูลระดับน้าทะเล ความสูงของคลื่นจากระบบ
เรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุและนาข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้ องกันการกัด
เซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม
1. นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer)
ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่นโปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อ
ขายสินค้า โปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
2. ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (webmaster)
ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ให้มีความทันสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ต้องมีการปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
3. ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (database administrator)
ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล (database) รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษา
ข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้การกาหนดสิทธิ์
ผู้ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

More Related Content

What's hot

คอมโวยยยยยย
คอมโวยยยยยยคอมโวยยยยยย
คอมโวยยยยยยpattarapong kotpong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNawaminthrachinuthit Bodindecha School
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารmay18323
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารChuan Fsk
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1Nuttapoom Tossanut
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศKrooIndy Csaru
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNew Prapairin
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารiamopg
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..noppakao raumros
 

What's hot (20)

คอมโวยยยยยย
คอมโวยยยยยยคอมโวยยยยยย
คอมโวยยยยยย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพรjunyapron
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นTitima
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศTitima
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sakorn patinthu
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ kiwikiiwii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Resource2
Resource2Resource2
Resource2
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • 1.
  • 2. ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก เช่น มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการทางาน ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูล หรือรับ-ส่งข้อมูลระหว่างกัน ตลอดจนใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile phone) หรือโทรศัพท์มือถือในการติดต่อสื่อสาร องค์การทั้งภาครัฐและเอกชนได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ามาใช้งานในทุกระดับชั้น ขององค์กร เช่น งานด้านการบริหาร การจัดการ และการปฏิบัติการ
  • 3. - เทคโนโลยี (technology) หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ในการพัฒนา เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ วิธีการหรือกระบวนการ เพื่อช่วยในการทางานหรือแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ บุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร - สารสนเทศ (information) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนาข้อมูลมาผ่านกระบวนการต่างๆ อย่างมีระบบ จะได้ สิ่งที่เป็นประโยชน์ มีคุณค่าและสาระ หรือมีเนื้อหาและรูปแบบที่เหมาะสมตามความต้องการของผู้ใช้ - เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างหรือจัดการกับสารสนเทศ อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ องค์กร - เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูล และการสื่อสารนับตั้งแต่การ สร้าง การนามาวิเคราะห์หรือการประมวลผล การรับและการส่งข้อมูล การจัดเก็บและการนาข้อมูลกลับไปใช้งานใหม่
  • 4. ระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบ สารสนเทศประกอบด้วย 1.2.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ต่างๆ เช่น คีย์บอร์ด (keyboard) เมาส์ (mouse) จอภาพ (monitor) จอภาพสัมผัส (touch screen) ปากกาแสง (ligh pen) เครื่องอ่านรหัส แท่ง (barcode reader) เครื่องพิมพ์ (printer) ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) รวมทั้ง อุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น โมเด็ม (modem) และสายสัญญาณ
  • 5. 1.2.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง (instruction) ที่ใช้ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เพื่อให้ทางานตามคาสั่งของ ผู้ใช้ โดยทั่วไปโปรแกรม หรือชุดคาสั่งจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ • ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ และทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งออกเป็น 1) ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ และซอฟแวร์ทั้งหมดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังรูปที่ 1.5 โดยจะทาหน้าที่ดูแลและจัดการให้ฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งอยู่ทางานประสานกันอย่างเป็นระบบ ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์ (Windows) ลี นุกซ์ (Linux) และแมคโอเอส (Mac OS)
  • 6. 2) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utilities program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยเสริมการทางานของคอมพิวเตอร์ หรือ ช่วยโปรแกรมใช้งานอื่นๆ ให้มีความสามารถใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการจัดการข้อมูล (file manager) โปรแกรมที่ใช้ในการสารองและเรียกคืนข้อมูล (back and restore) และ โปรแกรมที่ใช้ ในการบีบอัดแฟ้ มข้อมูล (file compression) 3) โปรแกรมขับอุปกรณ์ หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ (device driver) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการติดตั้งระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อหรือใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้
  • 7. • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางานตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง ซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก (Basic) ปาสคาล (Pascal) โคบอล (Cobol) ซี (C) ซีพลัสพลัส (C++) และจาวา (Java) ซอฟต์แวร์ ประยุกต์แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้ 1.2.3 ข้อมูล (data) ข้อมูลจะถูกรวบรวมและป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านอุปกรณ์ของหน่วย รับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และสแกนเนอร์ (scanner) ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบเพื่อ การสืบค้นที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจา (memory unit) ก่อนที่จะถูก ย้ายไปเก็บที่หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) เช่น ฮาร์ดดิสก์ และแผ่นซีดี (Compact Disc: CD) การป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
  • 8. 1.2.4 บุคลากร (people) บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ ในที่นี้หมายถึงบุคลากรที่ เป็นผู้ใช้ระบบสารสนเทศ บุคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ จะต้องมีความรู้ความสามารถในการพัฒนา ระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพให้สามารถทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้ใช้ง่ายและสะดวก ส่วนผู้ใช้ต้องมี ความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้งานระบบสารสนเทศและการสื่อสารต่างๆ ได้อย่างถูกต้องจึงจะเกิด สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ 1.2.5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedure) ระบบสารสนเทศต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้น ชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย และดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานการณ์ปกติและ สถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับ ความเสียหาย หรือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ควร ได้รับการรวบรวมและจัดทาให้เป็นรูปเล่ม ของคู่มือการใช้งาน
  • 9. 1.3.1 ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เพื่ออานวยความสะดวกในการบริหาร ด้านการ บริหารด้านการศึกเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีส่วนทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในปัจจุบันมีความ สะดวกสบายมากขึ้น ทาให้คนในสังคมมีการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ง่ายและรวดเร็ว มีการทากิจกรรมหลายสิ่งหลายอย่าง ร่วมกันง่ายขึ้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่ม ประสิทธิภาพ การเรียนการสอน
  • 10. 1.3.2 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เริ่มตั้งแต่การ ทาทะเบียนคนไข้ การรักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆได้อย่างรวดเร็ว และแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลอง การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ งานศึกษาโมเลกุล สารเคมี สามารถค้นคว้าข้อมูลทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่าน เครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ (EMI scanner) ถูกนามาถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง
  • 11. 1.3.3 ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบข้อมูลเพื่อการเกษตรและพยากรณ์ผลผลิตด้าน การเกษตร นอกจากนี้ยังช่วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม การประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ ทางานบ้าน และหุ่นยนต์เพื่องานอุตสาหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น โรงงาน สารเคมี โรงผลิตและการจ่ายไฟฟ้ า รวมถึงงานที่ต้องทาซ้าๆ
  • 12. 1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึง ปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็น เครื่องรับข้อความ มาเป็นถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกข้อมูลสั้นๆ บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสามารถ เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus)
  • 13. 1.4.2 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ใช้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงโดยจุดเดียว (stand alone) ต่อมามีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็นระบบรับ และให้บริการ หรือที่เรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ (client-server system) โดยมีเครื่องให้บริการ (server) และเครื่องรับบริการ (client) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของระบบรับ-ให้บริการมาใช้ ช่วยให้การทางานง่ายขึ้น สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ต โดยมี เว็บเซอร์เวอร์ (web server) เป็นเครื่องให้บริการ
  • 14. 1.4.3 ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามา แทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนวนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่ง ของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบที่ทางานอัตโนมัติเช่นนี้ อาจ กลายเป็นระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดยเข้ามาแทนที่การทางาน ของมนุษย์ มีการเชื่อมต่ออย่างกว้างขวางไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ใน ปัจจุบัน
  • 15. 1.5.1 ด้านสังคม สภาพเสมือนจริง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่าง ๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไซเบอร์สเปซ (Cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้าและบริการ การ ทางานผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง (virtual) เช่น เกมเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ที่ทางาน เสมือน ซึ่งทาให้ช่วยลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ ทุกที่ทุกเวลา
  • 16. 1.5.2 ด้านเศรษฐกิจ ทาให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์ (globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการ โทรทัศน์ ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่าง ๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ต ใน การติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจกระจายเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น 1.5.3 ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือ ภาพถ่ายทางอากาศร่วมกับการจัดเก็บรักษาข้อมูลระดับน้าทะเล ความสูงของคลื่นจากระบบ เรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุและนาข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้ องกันการกัด เซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม
  • 17. 1. นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่นโปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อ ขายสินค้า โปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
  • 18. 2. ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (webmaster) ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ให้มีความทันสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต้องมีการปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ 3. ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (database administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล (database) รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษา ข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้การกาหนดสิทธิ์ ผู้ใช้