SlideShare a Scribd company logo
1 of 174
Download to read offline
๑. สร้างพลเมืองให้เป็นใหญ่
๒. การเมืองใสสะอาดและสมดุล
๓. หนุนสังคมที่เป็นธรรม
๔. นาชาติสู่สันติสุข
1
มีมาตรการสาคัญดังนี้
๑. ยกระดับราษฎร (subject)
ให้เป็นพลเมือง (citizen) มีทั้งสิทธิ
เสรีภาพ หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ต่อบ้านเมือง โดยไม่เห็นแก่ผลตอบแทน
2
๒. ขยายและเพิ่มสิทธิต่าง ๆ ที่เป็นสิทธิมนุษยชน
และสิทธิพลเมือง
- สิทธิในครอบครัวที่เป็นปึกแผ่น และเป็นสุข
- สิทธิในการศึกษา ๑๕ ปี
- กสทช. ต้องให้ความสาคัญกับบริการที่มีคุณภาพ
ทั่วถึง และประชาชนเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ไม่ใช่มุ่งหา
รายได้ 3
- กาหนดให้ทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทเป็น
ทรัพยากรชาติ เพื่อประโยชน์สาธารณะ
- รัฐมีหน้าที่ต้องดาเนินการให้สิทธิพลเมืองเกิดผล
ตามความสามารถทางการคลัง
4
๓. เพิ่มส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหาร
- ส่วนร่วมของพลเมือง และชุมชนในการกาหนดนโยบายสาธารณะ
ในการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
- ให้หน่วยงานของรัฐช่วยประชาชนจัดทาร่างกฎหมาย และสภาต้อง
พิจารณากฎหมายของประชาชนภายใน 180 วัน และร่างกฎหมายที่
ประชาชนเสนอ แม้ยุบสภาหรือสภาสิ้นอายุ ก็ต้องพิจารณาต่อไป โดยไม่ต้อง
ขอให้รัฐสภาเห็นชอบเหมือนร่างของ ครม. และ ส.ส. และหากร่างกฎหมาย
ของประชาชนตกไปในสภาใด ส.ส. หรือ ส.ว. 1 ใน 10 เข้าชื่อกัน ส่งร่างนั้น
ให้ประชาชนออกเสียงประชามติได้เอง
5
- ให้สมัชชาพลเมืองเป็นที่รวมของผู้แทนองค์กรชุมชน
ประชาสังคม เอกชน นักวิชาการ ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ เพื่อให้
ความเห็นในการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัด และองค์กร
บริหารท้องถิ่น
- ให้มีสภาตรวจสอบภาคพลเมือง ประกอบด้วยผู้แทนจาก
สมัชชาพลเมือง ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน
เพื่อส่งเสริมความซื่อตรง ตรวจสอบทุจริต และการผิดจริยธรรม
ในทุกจังหวัด 6
- ให้การฝ่าฝืนจริยธรรมอย่างร้ายแรงของนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรี ส.ส. และ ส.ว. ที่สมัชชาคุณธรรมชี้มูลส่งเรื่องไปให้
กกต. จัดให้ประชาชนลงมติถอดถอน (กรณี ส.ว.) หรือห้าม
ดารงตาแหน่ง ๕ ปี (นรม., รมต., ส.ส.) ในการเลือกตั้งทั่วไป
- ถ้าเป็น นรม., รมต. ต้องลงคะแนนโดยประชาชน
ทั่วประเทศ
- ถ้าเป็น ส.ส., ส.ว., ลงคะแนนในภาคที่ได้รับเลือกตั้ง
หรือมีภูมิลาเนา 7
ส่วนกรณีทุจริต ร่ารวยผิดปกติ
ทาผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ ฯลฯ
คงให้ ปปช. ไต่สวน และ
ถอดถอนโดยรัฐสภา และ
ดาเนินคดีอาญาในศาลฎีกา
แผนกคดีอาญาเหมือนเดิม
เพราะเป็นเรื่องซับซ้อนทางกฎหมาย
8
เลือกพรรค
เลือกคน
ให้พลเมืองเลือก
จัดลาดับคนในบัญชี
รายชื่อ (party list)
ได้แทนที่จะให้เป็นการ
จัดลาดับของพรรค
9
ให้ประชาชนออกเสียงประชามติ
- ในการแก้ไขหลักการสาคัญพื้นฐานทางรัฐธรรมนูญ
- ในเรื่องที่กฎหมายบัญญัติ
- ในเรื่องที่ ครม. มีมติให้ขอประชามติ
- ในเรื่องระดับท้องถิ่น
10
11
- ถ้าร่างกฎหมายที่พลเมืองเสนอตกไป ส.ส. ส.ว.
หรือสมาชิกทั้งสองสภารวมกันมีจานวนไม่น้อยกว่า
หนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่ของทั้งสอง
สภา อาจร้องขอให้มีการออกเสียงประชามติได้
มีมาตรการสาคัญดังนี้
12
มีมาตรการดังนี้
๑. กาหนดลักษณะผู้นาการเมืองที่ดีมีคุณธรรม
จริยธรรมและพรรคการเมืองที่ดี
๒. ให้มีสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติกากับการปฏิบัติ
ตามจริยธรรม และประเมินจริยธรรมของผู้นาการเมือง
ทุกปี รวมทั้งไต่สวนการฝ่าฝืนจริยธรรมอย่างร้ายแรง และ
ส่งเรื่องให้รัฐสภา หรือประชาชนถอดถอน
13
๓. กาหนดให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งทั้งระดับชาติ และ
ท้องถิ่น ต้องแสดงหลักฐานการเสียภาษีย้อนหลังสามปี
เพื่อการตรวจสอบ
๔. กาหนดให้มีการเปิดเผยข้อมูลการใช้เงินแผ่นดิน
ของหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่มีธุรกรรมกับหน่วยงาน
ภาครัฐ เพื่อให้ประชาชนตรวจสอบได้
14
๕. กาหนดให้พลเมืองมีส่วนร่วมตรวจสอบทุจริต และ
คุ้มครองผู้กระทาการตรวจสอบโดยสุจริต แต่หากทาโดย
ไม่สุจริตก็ต้องรับโทษ
๖. ให้ กกต. เป็นผู้ออกกฎเกณฑ์ ควบคุมเลือกตั้ง และ
วินิจฉัยให้เลือกตั้งใหม่ แต่ให้ กจต. เป็นผู้จัดเลือกตั้ง
เพื่อให้ กกต. ตรวจสอบทั้งผู้สมัครที่ซื้อเสียง และ
เจ้าหน้าที่จัดเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม
15
๗. ให้ ปปช. มีอานาจตรวจสอบทุจริตผู้ดารงตาแหน่ง
การเมือง และหัวหน้าส่วนราชการเท่านั้น เพื่อให้คดีรวดเร็ว
ส่วนเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาให้หน่วยงานอื่นตรวจสอบ
๘. ตั้งแผนกคดีวินัยการคลัง และงบประมาณ ใน
ศาลปกครองเพื่อควบคุมการดาเนินการที่ก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่เงินแผ่นดิน โดยให้ ปปช. และ สตง. ซึ่งมี
หลักฐานอันควรเชื่อว่ามีการกระทาดังกล่าวฟ้องคดีได้
16
๙. – มีสภาตรวจสอบภาคพลเมืองทุกจังหวัด และมี
มาตรการป้องกันมิให้สภานี้ใช้อานาจกลั่นแกล้งเจ้าหน้าที่
ของรัฐ
- มีการถอดถอนโดยประชาชน
17
มีมาตรการดังนี้
๑. ความสมดุลระหว่างการเมืองของนักการเมืองกับการเมือง
ของพลเมือง
๒. ความสมดุลระหว่างสภาล่างกับสภาบน
สภาผู้แทนราษฎรเป็นสภาการเมืองเสียงข้างมาก
(majoritarian politics) ของพรรคการเมือง มีอานาจตั้งรัฐบาล
ควบคุมรัฐบาล และถอดรัฐบาล และเมื่อขัดแย้งกันในเรื่องกฎหมาย
ให้สภาผู้แทนราษฎรชี้ขาด
18
วุฒิสภาเป็นสภาพหุนิยม (pluralist chamber)
ของพลเมืองหลากหลายอาชีพ เพื่อถ่วงดุลสภาผู้แทนราษฎร
เป็นสภาที่ดึงส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคมที่ไม่ได้
สังกัดพรรค จนเรียกได้ว่าเป็น “สภาผู้แทนพลเมือง”
Montesquieu กล่าวว่า โครงสร้างทางการเมืองที่ดีต้อง
เป็นโครงสร้างที่ดึงกลุ่มพลังอานาจที่แท้จริงในสังคมทุกกลุ่มให้
เข้ามาอยู่ในโครงสร้างได้ (inclusive political structure)
วุฒิสภาที่ดีก็ต้องให้ทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมได้ โดยต้องไม่เป็น
สมาชิกพรรคการเมือง 19
1. ผู้เคยดำรงตำแหน่ง
ผู้บริหำรระดับสูงใน
ภำครัฐ เลือกกันเองไม่
เกิน 20 คน
3. ผู้แทนองค์กร
ด้ำนต่ำง ๆ เช่น
เกษตรกรรม แรงงำน
ท้องถิ่น วิชำกำร
ชุมชน เลือกกันเอง
ไม่เกิน 30 คน
2. ผู้แทนองค์กร
วิชำชีพที่มีกฎหมำย
จัดตั้ง เลือกกันเอง
ไม่เกิน 15 คน
5. เลือกตั้งจำก
ประชำชน 77 จังหวัด
จังหวัดละ 1 คน รวม
เป็น 77 คน
วุฒิสภา (สภาผู้แทนพลเมือง)
สภาพหุนิยม
ไม่เกิน 200 คน
ที่มำของวุฒิสภำ (สภำผู้แทนพลเมือง)
ตำมร่ำงรัฐธรรมนูญ
4. ผู้ทรงคุณวุฒิ
คุณธรรมด้ำนชุมชน
สังคม ปรำชญ์ชำวบ้ำน
ด้ำนสตรี เด็ก ผู้พิกำร
ด้ำนเศรษฐกิจ ฯลฯ
58 คน
คณะกรรมกำรสรรหำ
ประชำชน
คณะกรรมกำรกลั่นกรองฯ
21
(๑) ผู้ซึ่งเคยเป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือนซึ่งดารงตาแหน่ง
ปลัดกระทรวงหรือเทียบเท่าซึ่งเป็นตาแหน่งบริหาร และข้าราชการ
ฝ่ายทหารซึ่งดารงตาแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหมผู้บัญชาการทหาร
สูงสุด หรือผู้บัญชาการเหล่าทัพ ซึ่งเลือกกันเองในแต่ละประเภท
ประเภทละไม่เกินสิบคน
(๒) ผู้แทนสภาวิชาชีพ องค์กรวิชาชีพ หรืออาชีพที่มีกฎหมาย
จัดตั้ง ซึ่งเลือกกันเอง จานวนไม่เกินสิบห้าคน
22
(๓) ผู้แทนองค์กรด้านเกษตรกรรม ด้านแรงงาน ด้านวิชาการ
ด้านชุมชนและด้านท้องถิ่น ซึ่งเลือกกันเอง จานวนไม่เกินสามสิบคน
(๔) ผู้ทรงคุณวุฒิและคุณธรรมด้านการเมือง ความมั่นคง การบริหาร
ราชการแผ่นดิน กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม การปกครองท้องถิ่น
การศึกษา การเศรษฐกิจ การสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม ผังเมือง
ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม
ชาติพันธุ์ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม คุ้มครอง ผู้บริโภค ด้านเด็กเยาวชน
สตรี ด้านผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ
และด้านอื่น ซึ่งมาจากการสรรหา จานวนห้าสิบแปดคน
23
(๕) ผู้ซึ่งมาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน
โดยให้เลือกตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิและคุณธรรมตามด้านต่าง ๆ ใน (๔)
ซึ่งได้รับการสรรหาจังหวัดละไม่เกินสิบคน
ให้มีคณะกรรมการสรรหาบุคคลด้านต่าง ๆ ตาม (๔) ทั้งนี้ ให้ผู้เข้า
รับการสรรหาตาม (๔) มีสิทธิสมัครเข้ารับการสรรหาตาม (๕) ด้วย
ให้มีคณะกรรมการสรรหาทาหน้าที่สรรหาบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิและ
คุณธรรมในแต่ละจังหวัด จานวนไม่เกินสิบคน เพื่อให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ออกเสียงคะแนนเลือกตั้งได้หนึ่งเสียงตาม (๕) โดยให้เป็นการเลือกตั้ง
โดยตรงและลับและให้ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
24
ตัวอย่างของวุฒิสภาที่มาจากการเลือกโดยฐานวิชาชีพ (Vocational
Base) จานวน ๓ ประเทศ เช่น
- ไอร์แลนด์ Seanad Eireann ๖๐ คน มาจากการเลือกโดยฐานวิชาชีพ
(Vocational Base) ๔๓ คน
๓. ระบบเลือกตั้ง ส.ส. เดิมเป็นระบบที่ทาให้พรรค
การเมืองใหญ่ได้คะแนนเกินกว่าความนิยมที่ประชาชน
ลงคะแนน
25
ปัญหำของระบบเลือกตั้งเสียงข้ำงมำกธรรมดำเขตละคน
: กรณีศึกษำผลกำรเลือกตั้ง ๓ กรกฎำคม ๒๕๕๔
พรรค แบ่งเขตเลือกตั้ง แบบสัดส่วน ส.ส.ทั้งหมด
จำนวน ส.ส. คะแนน จำนวน ส.ส. คะแนน
พรรคใหญ่ 1 205 คน
(54.67 %)
14,125,219
(44.47 %)
60 คน
(48 %)
15,752,470
(48.82 %)
265 คน
พรรคใหญ่ 2 114 คน
(30.40 %)
10,095,250
(31.78 %)
45 คน
(35 %)
11,435,640
(35.15 %)
159 คน
พรรค 3 29 คน
(7.73%)
3,483,153
(10.97 %)
5 คน
(4 %)
1,281,652
(3.94 %)
34 คน
พรรค 4 15 คน
(4 %)
1,515,320
(4.77 %)
4 คน
(3.2 %)
907,106
(2.79 %)
19 คน
พรรค 5 - - 4 คน
(3.2 %)
998,668
(3.07 %)
4 คน
พรรคอื่นๆ 12 คน
(3.2 %)
2,542,046
(8 %)
7 คน
(5.69 %)
2,159,691
(6.64 %)
19 คน
รวม 375 คน 31,760,968 125 คน 32,535,227 500 คน
ควรได้ 30 คน
= ขำดไป 18 คน
ควรได้ 18 คน
= ขำดไป 3 คน
ควรได้ 167 คน
= เกินไป 38 คน
ควรได้ 119 คน
= ขำดไป 5 คน
ควรได้ 41 คน
= ขำดไป 12 คน
26
การเลือกตั้ง ส.ส. ใหม่ ต้องปรับระบบให้สมดุล
ระหว่างความนิยมที่ประชาชนมีในพรรคการเมืองและ
จานวน ส.ส. ที่ได้อย่างแท้จริง โดยใช้ระบบสัดส่วนผสม
ระหว่าง ส.ส. บัญชีรายชื่อ กับ ส.ส. เขต โดยใช้สัดส่วน
จากบัญชีรายชื่อ
27
28
ตัวอย่างการแบ่งภาคโดยไม่เป็นทางการ
ระบบการเลือกตั้งนี้ จะไม่ทาให้พรรคใหญ่ได้ ส.ส.
เกินจริง และเป็นประโยชน์กับพรรคขนาดกลางและเล็ก
ทาให้เกิดรัฐบาลผสมที่เอื้อต่อบรรยากาศการปรองดอง
30
เลือกพรรค
เลือกคน
31
สร้างความสมดุลระหว่าง
นายทุนพรรคในบัญชีกับเสียง
ที่แท้จริงของประชาชนโดยให้
ประชาชนจัดลาดับ ผู้ที่จะ
ได้รับเลือกตั้งในบัญชีรายชื่อ
ของพรรคและกลุ่มการเมือง
(open list) ทาให้ผู้ที่
อยู่ในบัญชีรายชื่อต้องลง
ไปทาดีกับประชาชน
ในพื้นที่
๔. ความสมดุลระหว่างพรรคการเมือง ซึ่งต้องใช้ทุน
มหาศาลกับกลุ่มการเมือง ที่ตั้งมาจากสมาคม ให้กลุ่ม
การเมืองสามารถส่งผู้สมัคร ส.ส. บัญชีรายชื่อ และผู้สมัคร
ส.ส. เขตได้ เพื่อให้กลุ่มต่าง ๆ เข้ามาร่วมในการเมือง
มากขึ้น และมีมาตรการไม่ให้กลุ่มการเมือง “ขายตัว”
กับพรรคการเมือง
32
๕. สร้างสมดุลในอานาจ ๒ สภา
- สภาผู้แทนราษฎร - ประธานสภาผู้แทนฯ เป็นประธานรัฐสภา
(สภาเสียงข้างมาก - เลือกนายกรัฐมนตรี
ของพรรคการเมือง) - ควบคุมรัฐบาล / ไม่ไว้วางใจ
นายกรัฐมนตรีได้
- เสนอกฎหมายได้
- หากเห็นไม่ตรงกับวุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎรฯ ชี้ขาดขั้นสุดท้าย
ในร่างกฎหมาย
33
- วุฒิสภา - เสนอกฎหมายได้
- ประชุมร่วมกับ ส.ส. ถอดถอน
ด้วยคะแนนเกินกึ่งหนึ่งของรัฐสภา
- ประชุมร่วมกับ ส.ส. แก้รัฐธรรมนูญ
โดยใช้ คะแนน ๒ ใน ๓ ของรัฐสภา
34
๖. สร้างสมดุลระหว่างวินัยพรรคกับอิสระของ ส.ส.
- ห้ามผู้ที่มิใช่ ส.ส. ในคณะกรรมการบริหารพรรคมีมติ
ให้ ส.ส. ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประชาชนเลือกตั้งเข้ามาลงมติในสภา
- หาก ส.ส. ลาออกจากพรรคหรือกลุ่มการเมืองพ้นจาก
การเป็น ส.ส. เพื่อไม่ให้มีการ “ขายตัว” เกิดขึ้น
- ส.ส. ลงมติโดยอิสระในสภา ถ้าพรรคมีมติให้พ้นจาก
การเป็นสมาชิก ส.ส. ผู้นั้นไม่พ้นสมาชิกภาพ ส.ส. เพื่อให้ ส.ส. มี
อิสระทาตามความต้องการประชาชนได้
35
๗. สร้างสมดุลโดยแยกอานาจนิติบัญญัติจากอานาจบริหาร : ส.ส.
เป็นรัฐมนตรีไม่ได้
มีมาตรการป้องกันไม่ให้ ส.ส. ที่ไม่ได้เป็นรัฐมนตรีทาลาย
เสถียรภาพรัฐบาลโดย
๗.๑ การอภิปรายไม่ไว้วางใจ ให้ถามมติและนับเฉพาะคะแนน
เสียงไม่ไว้วางใจ (ห้ามถามว่า “ไว้วางใจ” หรือ “งดออกเสียง” อีกต่อไป)
และกรณีนายกรัฐมนตรีขอความไว้วางจากสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ได้รับ
ความไว้วางจากสภา ก็ห้ามมิให้ ส.ส. ยื่นญัตติไม่ไว้วางใจอีกในสมัย
ประชุมนั้น
36
๗.๒ นรม. ขอความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎร ถ้าไม่ได้รับ
ความไว้วางใจก็ยุบสภาได้ และถ้าได้รับความไว้วางใจ ส.ส. ก็จะยื่นญัตติ
ไม่ไว้วางใจอีกในสมัยประชุมนั้น
๗.๓ นรม. แถลงว่าร่างกฎหมายทั้งฉบับ หรือบางมาตรา
เป็นการให้ความไว้วางใจต่อรัฐบาล
- รอพิจารณาร่างกฎหมาย ต้องยื่นญัตติไม่ไว้วางใจใน
๔๘ ชั่วโมง ถ้าไม่ยื่น ร่างกฎหมายนั้นผ่านสภาผู้แทนราษฎร
- ถ้ายื่นญัตติไม่ไว้วางใจ และรัฐบาลชนะ ร่างกฎหมายก็ผ่าน
- ถ้ายื่นญัตติไม่ไว้วางใจ และรัฐบาลแพ้ คณะรัฐมนตรีก็ต้อง
พ้นตาแหน่ง และตั้งนายกรัฐมนตรีใหม่ที่มีชื่ออยู่ญัตติไม่ไว้วางใจ 37
๘. สร้างสมดุลระหว่างฝ่ายการเมืองซึ่งกาหนดนโยบายกับฝ่ายประจา
ซึ่งต้องทาตามนโยบาย
- คณะกรรมการดาเนินการแต่งตั้งข้าราชการโดยใช้ระบบคุณธรรม
- ห้ามแทรกแซงการแต่งตั้ง โยกย้ายข้าราชการ เจ้าหน้าที่ เว้นแต่ทา
ตามกฎหมาย
38
๙. สร้างสมดุลระหว่างพรรคฝ่ายรัฐบาลและพรรคฝ่ายค้าน
ในสภาผู้แทนราษฎร
๙.๑ มีบทบัญญัติกาหนดกลไกไม่ให้พรรครัฐบาลรวบอานาจในทาง
นิติบัญญัติโดยกาหนดให้ตาแหน่งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร
คนที่หนึ่ง เป็นของฝ่ายค้าน
๙.๒ กาหนดให้ประธานคณะกรรมาธิการสาคัญในสภาผู้แทนราษฎร
บางคณะต้องเป็นสมาชิกพรรคฝ่ายค้าน
39
ให้มีการปฏิรูปด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
- ให้ประชาชนเข้าถึงกฎหมาย และกฎโดยง่าย ให้ตรา
กฎหมายว่าด้วยการจัดทาประมวลกฎหมายเพื่อรวบรวม
และปรับปรุงกฎหมาย และกฎในเรื่องต่าง ๆ ไว้อย่าง
ครบถ้วนและทันสมัยขึ้นเผยแพร่ให้ประชาชนได้ทราบ
40
- ให้ประชาชนผู้มีรายได้น้อยได้รับความช่วยเหลือ
ทางกฎหมายและคดีอย่างมีประสิทธิภาพ
- ปรับปรุงกฎหมายซึ่งกาหนดเรื่องการออกใบอนุญาต
ที่มีลักษณะเป็นการผูกขาด ให้สัมปทาน หรือให้สิทธิ
ให้ใช้วิธีประมูลโดยเปิดเผยเป็นหลัก
41
มาตรา ๒๑๘ วรรคสี่ : ความโปร่งใส
• คาพิพากษา คาวินิจฉัย และคาสั่ง ต้องแสดงเหตุผลประกอบการวินิจฉัยหรือ
การมีคาสั่ง ต้องอ่านโดยเปิดเผย และต้องให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถเข้าถึงได้
โดยง่าย เว้นแต่เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะ ประชาชนทั่วไปอาจ
เข้าถึงได้ด้วย
มาตรา ๒๒๐ วรรคสอง : การสร้างความเป็นธรรม
• ในกรณีที่ศาลหรือหน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายเห็นว่ากฎหมาย
หรือกฎใดก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมต่อประชาชน ให้ศาลหรือหน่วยงานของรัฐ
ดังกล่าวส่งความเห็นไปยังคณะรัฐมนตรีหรือรัฐสภาเพื่อดาเนินการแก้ไขต่อไป
๑. สิทธิและเสรีภาพ ๒. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
กฎหมายและกระบวนการ
ยุติธรรม (ม. ๘๗)
สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
(ม. ๔๔)
๓. ศาลและกระบวนการยุติธรรม
หลักนิติธรรม (ม.๒๑๗)
ความโปร่งใส (ม.๒๑๘)
การสร้างความเป็นธรรม (ม.๒๒๐)
๔. การปฏิรูป
รวม ๗ เรื่องสาคัญ
(ม. ๒๘๒)
ด้านกฎหมายและ
กระบวนการยุติธรรม
๒. ปฏิรูปด้านการเงิน การคลัง และภาษีอากร
- จัดระบบภาษีเป็น ๒ ระดับ คือ ระดับชาติ และระดับ
ท้องถิ่น
- ให้มีกฎหมายกาหนดให้บุคคลต้องแสดงรายได้ของตน
ต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้มีรายได้ทุกคนเข้าสู่
ระบบภาษีอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และ
ให้ผู้ซึ่งได้เสียภาษี มีสิทธิประโยชน์
ตามกฎหมาย 44
- ปฏิรูประบบภาษี ให้เกิดประสิทธิภาพ เป็นกลาง
เป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ โดย
พิจารณายกเลิกมาตรการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีให้
เหลือน้อยที่สุด
- จัดให้มีระบบบานาญแห่งชาติ เพื่อให้ครอบคลุม
กลุ่มประชากรที่ยังไม่ได้อยู่ในระบบบานาญให้ดารงชีพ
ได้อย่างพอเพียง และยั่งยืน
45
๓. ปฏิรูปด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
- ให้มีองค์กรบริหารการพัฒนาภาค ทาหน้าที่
สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภาคและ
กากับดูแลหน่วยงานของรัฐในพื้นที่ จัดทาแผนและ
บริหารงบประมาณแบบพื้นที่เพื่อดาเนินการพัฒนาภาค
ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ ซึ่งไม่ซ้าซ้อนกับงาน
ของจังหวัดและองค์กรบริหารท้องถิ่น
46
๔. ปฏิรูปด้านการบริหารท้องถิ่น
- ตรากฎหมายและจัดให้มีกลไกที่
จาเป็นสาหรับการจัดตั้งองค์กร
บริหารท้องถิ่นเต็มพื้นที่จังหวัด
และดาเนินการจัดตั้งองค์กรบริหาร
ท้องถิ่นดังกล่าวขึ้นในพื้นที่ที่มี
ความพร้อมและเหมาะสมโดยเร็ว
47
๕. การปฏิรูปด้านการศึกษา
๑. สิทธิและเสรีภาพ ๒. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
การจัดการศึกษาอบรม
ทุกระดับ ทุกรูปแบบ (ม. ๘๔)
สิทธิในการรับการศึกษา
(ม. ๕๒)
๓. การปฏิรูป
รวม ๑๒ เรื่องสาคัญ
(ม. ๒๘๖)
ด้านการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษา: ม. ๒๘๖
• ลดบทบาทของรัฐ จากการเป็น “ผู้จัดการศึกษา” เป็น “ผู้จัด
ให้มีการศึกษา” + ให้สถานศึกษาบริหารจัดการการศึกษาได้
อย่างมีอิสระ มีประสิทธิภาพ และรับผิดชอบต่อ โดยให้เอกชน
ชุมชน และองค์กรบริหารท้องถิ่น มีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม
• จัดสรรค่าใช้จ่ายรายหัวโดยตรง แก่ผู้เรียนทุกคนอย่าง
เพียงพอ ตามความจาเป็นและเหมาะสมของผู้เรียน
• ปรับปรุง “ระบบการพัฒนาเด็กปฐมวัย” ตั้งแต่ในครรภ์
• ปรับปรุง “การอาชีวศึกษา”
• ปรับปรุง “ระบบอุดมศึกษา” + วิชาการรับใช้สังคม
• พัฒนา “ระบบการเรียนรู้” โดยเน้นกระบวนการคิด การใช้เหตุผล
การปฎิบัติ , ส่งเสริมการศึกษาด้านวิชาการควบคู่กับคุณธรรม จริยธรรม
และธรรมาภิบาล
• ปรับปรุง “ระบบการผลิต การพัฒนา และประเมิน” ครู อาจารย์ บุคลากร
ทางการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษา: ม. ๒๘๖
• พัฒนา “ระบบธรรมาภิบาล” ในวงการการศึกษา
• ปรับปรุง “ระบบการทดสอบและประเมินผลการศึกษา”
• ปรับปรุง “โครงสร้างการบริหารการศึกษา” ทั้งระดับชาติ ระดับพื้นที่
และระดับท้องถิ่น
• จัดทา “ประมวลกฎหมายการศึกษา” เพื่อสนับสนุนการปฏิรูปในทุกด้าน
• ให้มี “คณะกรรมการนโยบายการศึกษาและพัฒนามนุษย์แห่งชาติ”
อยู่ในกากับนายกรัฐมนตรี
การปฏิรูปการศึกษา: ม. ๒๘๖
๖. การปฏิรูปด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
และการผังเมือง
๑. สิทธิและเสรีภาพ ๒. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสมบัติ
ของชาติเพื่อประโยชน์
สาธารณะ (ม. ๙๒)
สิทธิดารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ
ต่อสุขภาพที่ดี (ม. ๕๘)
สิทธิชุมชน (ม.๖๓)
สิทธิพลเมือง (ม.๖๔)
๓. การปฏิรูป
รวม ๔ ด้านสาคัญ (ม. ๒๘๗)
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม และการผังเมือง
๑. องค์กร กฎหมาย ๒. เครื่องมือ กลไก
 การทารายงาน EIA / EHIA
 การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับ
ยุทธศาสตร์ (SEA)
 การผังเมือง การจัดเขตการใช้
ประโยชน์ที่ดิน ระบบการจัดเขต
การใช้ประโยชน์พื้นที่ในทะเล
 ระบบบัญชี Green GDP
 ระบบภาษีสิ่งแวดล้อม
 ระบบกองทุนด้านสิ่งแวดล้อม
 ประมวลกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 ประมวลกฎหมายทรัพยากรด้าน
ต่างๆ
 ตรากฎหมายทรัพยากรน้า , พื้นที่
คุ้มครองทางทะเล, ขยะและของเสีย
อันตราย, สิทธิชุมชนและกระจาย
อานาจ
 ปรับปรุงกฎหมายสิ่งแวดล้อม การผัง
เมือง
3. กระบวนการยุติธรรม
 การคานวณต้นทุนความเสียหาย
ด้านสิ่งแวดล้อม
 กฎหมายการดาเนินคดีและ
การเยียวยาความเสียหาย
 องค์กรและสถาบันเกี่ยวกับ
ความยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อม
 การบังคับคดีด้านสิ่งแวดล้อม
4. การมีส่วนร่วม
กลไกและกระบวนการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน และชุมชนอย่างแท้จริง
หลักปรัชญาเศรษกิจพอเพียง
+
หลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม
+
การเข้าถึงทรัพยากรอย่างเป็นธรรม
และยั่งยืน +
การพัฒนาที่ยั่งยืน
๗. ปฏิรูปด้านพลังงาน
- บริหารจัดการพลังงานอย่างมีธรรมาภิบาลและยั่งยืน ให้
ปิโตรเลียมและเชื้อเพลิงธรรมชาติอื่นเป็นทรัพยากรของชาติ และ
มีไว้เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศและประชาชนอย่างแท้จริง
- ดาเนินการจัดทาหรือปรับปรุงกฎหมาย
ว่าด้วยการปิโตรเลียมและกฎหมายอื่นที่
เกี่ยวข้องกับพลังงานให้สอดคล้องกับ
หลักการข้างต้น 57
๘. ปฏิรูปด้านเศรษฐกิจมหภาค
- ปรับปรุงกฎหมายเพื่อป้องกัน ลด จากัดหรือขจัด
การผูกขาด และการกีดกันการแข่งขันอย่างเป็นระบบ
และมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้ธุรกิจมีการแข่งขัน
อย่างเสรีและเป็นธรรม รวมทั้งป้องกันมิให้ผู้ประกอบการ
รายใหญ่ใช้อานาจเหนือตลาด
58
- ในกรณีที่รัฐจาเป็นต้องทาการผูกขาดในกิจการ
อันเป็นสาธารณประโยชน์เพื่อประชาชนส่วนใหญ่ รัฐต้อง
กากับดูแลเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้บริโภค
- จัดสรรงบประมาณพิเศษเพิ่มเติมตามความ
เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาพื้นที่ยากจนและกลุ่ม
คนผู้มีรายได้น้อย เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งและลดความ
เหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ
59
- บริหารจัดการรัฐวิสาหกิจอย่างเป็นระบบ ทบทวน
ความจาเป็นในการดารงอยู่ของรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่ง
ตลอดจนให้มีการปฎิรูปรัฐวิสาหกิจที่ขาดทุนหรือ
ขาดประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีองค์กรที่มีความเป็นอิสระ
รับผิดชอบในการฟื้นฟูรัฐวิสาหกิจดังกล่าว
60
- ปรับโครงสร้างการกากับดูแลและการส่งเสริม
สหกรณ์ โดยยกระดับมาตรฐานการดาเนินงานของ
สหกรณ์ เพื่อการออมทรัพย์ให้เป็นสถาบันการเงินที่มั่นคง
และมีธรรมาภิบาล และยกระดับมาตรฐานสหกรณ์
ประเภทอื่น เพื่อส่งเสริมการรวมตัวและความเข้มแข็ง
ของสมาชิกโดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
61
การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้า
- ให้มีหน่วยงานกลางในการแก้ไขปัญหาความยากจนและ
ปัญหาความเหลื่อมล้าด้านรายได้และโอกาสทางสังคม
- จัดสรรงบประมาณพิเศษเพิ่มเติมตามความเหมาะสมอย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาพื้นที่ยากจนและกลุ่มคนผู้มีรายได้น้อย เพื่อให้
ชุมชนเข้มแข็งและลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ
- ดาเนินการให้ประชาชนมีความเท่าเทียมในเชิงโอกาส
มีความรู้พื้นฐานทางการเงิน และเข้าถึงบริการทางการเงิน
ขั้นพื้นฐาน และสาธารณูปโภคสาคัญด้านต่างๆ 62
๙. ปฏิรูปด้านเศรษฐกิจรายสาขา
ภาคการเกษตร
- กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม จัดหา จัดรูป และบริหาร
จัดการที่ดินของรัฐและของเอกชนที่ไม่ใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เพื่อเอื้อ
ให้เกษตรกรและชุมชนสามารถเข้าถึงที่ดินเพื่อทากิน รวมทั้งรักษาที่ดิน
ทากินไว้ได้ โดยใช้มาตรการในการจัดตั้งธนาคารที่ดิน การให้สิทธิชุมชน
ในการจัดการที่ดินและทรัพยากร การจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูก
สร้าง เพื่อให้ประสานกันอย่างเป็นระบบ และนาไปสู่การใช้ประโยชน์
สูงสุดจากที่ดิน 63
- คุ้มครองเกษตรกรให้ได้รับความเป็นธรรม
จากการผูกขาดทางการเกษตร ระบบเกษตร
พันธสัญญา และการทาสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
โดยการปรับปรุงกฎหมาย
- สร้างระบบประกันความเสี่ยงแก่เกษตรกรกรณีเกิดความเสี่ยง
ทางการผลิตหรือการตลาด
- ส่งเสริมการพัฒนาและขยายพื้นที่การทาระบบเกษตรกรรมยั่งยืนให้
มีสัดส่วนพื้นที่อย่างน้อยหนึ่งในสี่ของพื้นที่เกษตรกร
64
ภาคอื่นๆ
- ส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว
คุณภาพ ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับอัตลักษณ์
วัฒนธรรม เพื่อเพิ่มรายได้แก่ประเทศและกระจายรายได้สู่ประชาชน
อย่างทั่วถึง
- ปฏิรูปเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ ปฏิรูป
ระบบการขนส่ง และเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งทุกรูปแบบ ทุก
ระดับทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยสร้างกลไกในความร่วมมือ
ระหว่างภาครัฐและเอกชนในการปฏิรูปดังกล่าว 65
- สร้างและพัฒนาสังคมผู้ประกอบการ โดยสนับสนุนให้เกิด
วิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการลงทุน
สร้างความสามารถในการเข้าถึงแหล่งทุน ใช้นวัตกรรมในการสร้าง
ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ รวมทั้งส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์
- สนับสนุนและส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนไทยใน
ต่างประเทศอย่างเป็นระบบ ทั้งในด้านการสร้างโอกาส การให้ข้อมูล
จัดให้มีมาตรการทางภาษีและมาตรการคุ้มครองอื่น ธนาคารเพื่อการ
ลงทุน และการอื่นที่เกี่ยวข้อง
66
๑๐. ปฏิรูปสังคม
- ปฏิรูประบบสวัสดิการสังคม ทั้งด้านการให้บริการสังคม
การประกันสังคมทุกกลุ่มวัย การช่วยเหลือทางสังคม และการ
สนับสนุนหุ้นส่วนทางสังคม ที่มีความครอบคลุมเพียงพอ ยั่งยืน
มีคุณภาพ เข้าถึงได้ และมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ โดย
เน้นครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน
67
- รัฐ หน่วยงานของรัฐ องค์กรบริหารท้องถิ่นและ
ศาสนสถาน ต้องจัดให้มีพื้นที่สาธารณะเพื่อให้คนในชุมชน
ใช้ประโยชน์ร่วมกันในการทากิจกรรมเพื่อสร้างสัมพันธ์
ทางสังคม กิจกรรมนันทนาการ และกีฬา
68
- จัดทาแผนระยะยาวและดาเนินการเพื่อรองรับสังคม
ผู้สูงอายุของประเทศไทย โดยเฉพาะการจัดให้มีระบบการออม
เพื่อการดารงชีพในยามชรา และการเตรียมความพร้อมสู่วัย
สูงอายุที่เหมาะสมของประชาชน การปรับปรุงระบบการ
เกษียณอายุที่เหมาะสม การปฏิรูประบบสวัสดิการผู้สูงอายุที่ไม่
มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ ระบบการดูแลระยะยาว และ
การใช้ทุนทางปัญญาของผู้สูงอายุ ฯลฯ
69
๑๑. ปฏิรูปด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- ให้มีคณะกรรมการปฏิรูปด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทาหน้าที่กาหนดยุทธศาสตร์ นโยบายและแผนเพื่อการปฏิรูป
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- ลงทุนด้านการศึกษา วิจัย การสร้างนวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศอย่างพอเพียง
- สนับสนุนหรือลงทุนให้องค์กรบริหารท้องถิ่น ชุมชน
ผู้ประกอบการรายย่อย ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสร้างมูลค่าเพิ่ม
ให้กับสินค้าและบริการ เพื่อให้พึ่งพาตนเองได้ 70
๑๒. การปฏิรูปด้านการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การปฏิรูปสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีฯ : ม. ๒๙๖
• กลไกส่งเสริมผู้ปฎิบัติงานในวิชาชีพสื่อมวลชน ให้มี “เสรีภาพ”
ควบคู่กับ “ความรับผิดชอบ” + ส่งเสริม “สวัสดิภาพและสวัสดิการ”
ของผู้ปฏิบัติงานฯ
• พัฒนากลไกและมาตรการ “กากับดูแลสื่อสารมวลชน” ทั้งการกากับดูแล
ตนเองด้านจริยธรรม การกากับโดยภาคประชาชน + ส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อ
• กลไก “การจัดสรรและแบ่งปันทรัพยากรสื่อสารของชาติ” เพื่อการเข้าถึง
และใช้ประโยชน์ร่วมกัน + สื่อทางเลือก และการกากับดูแลโดยหน่วยงานที่
มีอานาจทางกฎหมาย
73
- เพื่อประโยชน์ในการสร้างบรรยากาศของความ
สมานฉันท์เสริมสร้างความปรองดองระหว่างคนในชาติ
และสร้างแนวทางที่จะนาพาประเทศไปสู่ความมี
เสถียรภาพและสันติสุขอย่างแท้จริง ให้มีคณะกรรมการ
เสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติ จานวน ๑๕ คน
- ให้มีกฎหมายว่าด้วยการเสริมสร้างความปรองดอง
แห่งชาติ
74
75
- อยู่ในร่างรัฐธรรมนูญภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้าง
ความปรองดอง ที่จะมีอายุอยู่เพียง ๕ ปี ยกเว้นจะมีการลง
ประชามติให้ต่ออายุได้อีกไม่เกิน ๕ ปี
- มีกลไกแยกต่างหากจากการบริหารประเทศตามปรกติ
๒ กลไก คือ คณะกรรมการเสริมสร้างความปรองดอง
แห่งชาติ และคณะกรรมการหรือสภาดาเนินการปฏิรูป
76
- กระบวนการตรากฎหมายในภาค ๔ จะแตกต่างจาก
กระบวนการตรากฎหมายตามปรกติ
(๑) ให้เริ่มต้นที่วุฒิสภา
(๒) ให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาร่างกฎหมายที่ผ่าน
การพิจารณาจากวุฒิสภา ได้เพียงเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ
เท่านั้น
(๓) หากสภาผู้แทนราษฎรไม่เห็นชอบ วุฒิสภาก็อาจ
ยืนยันได้ด้วยเสียงสองในสาม
77
78
มาตรา ๒๗๙ เพื่อประโยชน์แห่งการดาเนินการปฏิรูปประเทศให้ต่อเนื่องจนบรรลุผล
ให้มีสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศและคณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปแห่งชาติ
ซึ่งมีองค์ประกอบและที่มา ดังต่อไปนี้
(๑) สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบคน
ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากบุคคลดังต่อไปนี้
(ก) สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช ๒๕๕๗ จานวนหกสิบคน
(ข) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ จานวนสามสิบคน
(ค) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการปฏิรูปด้านต่างๆ จานวนสามสิบคน
79
(๒) คณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปแห่งชาติ ประกอบด้วย กรรมการซึ่งปฏิบัติ
หน้าที่เต็มเวลาและมาจากผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการปฏิรูปด้านต่างๆ
ไม่เกินสิบห้าคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามมติสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ขับเคลื่อนการปฏิรูปโดยการเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปฏิรูป
ต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(๒) นาแผนและขั้นตอนการออกกฎหมายและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการปฏิรูป
ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
(๓) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการปฏิรูป
(๔) เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของประชาชนเพื่อความเป็นพลเมืองที่ดี
(๕) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มี
การปฏิรูป
กำรได้มำซึ่งนำยกรัฐมนตรีของประเทศไทย
80
ก่อนปี พ.ศ. 2535
ประธาน
วุฒิสภาจาก
การแต่งตั้ง
เป็นประธาน
รัฐสภา
ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
ซึ่งจะเป็น ส.ส. หรือไม่ก็ได้
สภาผู้แทนราษฎร
ไม่มีบทบาทใด
นำควำมกรำบบังคมทูลเพื่อทรง
แต่งตั้งนำยกรัฐมนตรี
พระมหำกษัตริย์
มีจดหมำยสนับสนุนบุคคลให้
เป็นนำยกรัฐมนตรี
หัวหน้ำ
พรรค 2
หัวหน้ำ
พรรค 1
หัวหน้ำ
พรรค 3
81
ก่อนปี พ.ศ. 2535 - 2540
1. ประธานสภา
ผู้แทนราษฎรเป็น
ประธานรัฐสภา
ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
จาก ส.ส.
สภาผู้แทนราษฎร
ไม่มีบทบาทใด
นำควำมกรำบบังคมทูลเพื่อทรง
แต่งตั้งนำยกรัฐมนตรี
พระมหำกษัตริย์
มีจดหมำยสนับสนุนบุคคลให้
เป็นนำยกรัฐมนตรี
หัวหน้ำ
พรรค 2
หัวหน้ำ
พรรค 1
หัวหน้ำ
พรรค 3
2. ผู้ที่จะเป็น
นายกรัฐมนตรีต้อง
เป็น ส.ส.
82
ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540, 2550
1. ประธานสภา
ผู้แทนราษฎรเป็น
ประธานรัฐสภา
ทรงแต่งตั้ง
นายกรัฐมนตรี
จาก ส.ส.
3. สภาผู้แทนราษฎร
ลงมติเลือกโดย
เปิดเผย
นำควำมกรำบบังคมทูลเพื่อทรง
แต่งตั้งนำยกรัฐมนตรี
พระมหำกษัตริย์
เกิดวิกฤตในปี 2557 หำทำงออกไม่ได้
2. ผู้ที่จะเป็น
นายกรัฐมนตรี
ต้องเป็น ส.ส.
83
ตามร่างรัฐธรรมนูญ
1. ประธานสภา
ผู้แทนราษฎร
เป็นประธานรัฐสภา
ทรงแต่งตั้ง
นายกรัฐมนตรี
2.สภาผู้แทนราษฎร
ลงมติเลือกโดย
เปิดเผย
นำควำมกรำบบังคมทูล
เพื่อทรงแต่งตั้ง
นำยกรัฐมนตรี
พระมหำกษัตริย์
โดยปกติ สภำผู้แทนรำษฎรจะลงมติเลือก ส.ส. เป็นนำยกรัฐมนตรี
84
ประเทศที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ
ว่านายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกรัฐสภา
(ทั่วโลกมีเพียง 30 ประเทศ)
เช่น ออสเตรเลีย, รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี, สหพันธรัฐมาเลเซีย,
ราชอาณาจักรกัมพูชา, ญี่ปุ่น, ราชอาณาจักรภูฏาณ, ไอร์แลนด์,
ศรีลังกา, สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ, สาธารณรัฐมอลตา,
สาธารณรัฐสิงคโปร์, สาธารณรัฐฟิจิ, สหพันธ์สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยเอธิโอเปีย , สาธารณรัฐกายอานา, รัฐอิสราเอล,
สาธารณรัฐตุรกี, สาธารณรัฐวานูอาตู, สาธารณรัฐตรินิแดดและ
โตเบโก, สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล, อินเดีย
ประเทศที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติว่า
นายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกรัฐสภา
(ประมาณ 60 ประเทศในระบบรัฐสภา)
เช่น สาธารณรัฐออสเตรีย, ราชอาณาจักรเบลเยียม
, สาธารณรัฐบัลแกเรีย, แคนาดา, สาธารณรัฐโครเอเชีย,
สาธารณรัฐเช็ก, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, สาธารณรัฐฟินแลนด์,
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี, ฮังการี, ไอซ์แลนด์,สาธารณรัฐอิตาลี,
นิวซีแลนด์,ราชรัฐลักเซมเบิร์ก, ราชอาณาจักรสเปน,
ราชอาณาจักรสวีเดน, สหราชอาณาจักร,สาธารณรัฐมาซิโดเนีย,
มองโกเลีย, มอนเตรเนโกร, สาธารณรัฐนาอูลู, ปากีสถาน,
สาธารณรัฐโปแลนด์, สาธารณรัฐโปรตุเกส, ซานมาริโอ, เซอร์เบีย,.
สโลวาเกีย, สโลวิเนีย, แอฟริกาใต้ ,สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
85
1“สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
“สาระสำ�คัญ
ของร่างรัฐธรรมนูญ
ฉบับปฏิรูป”
2 “สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
ที่ปรึกษา	 	
ศ.กิตติคุณ ดร.เทียนฉาย กีระนันทน์	 ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ศ.กิตติคุณ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ	 ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
	 และรองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ คนที่ 1
รศ.ดร.ทัศนา บุญทอง	 รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ คนที่ 2
รศ.วุฒิสาร ตันไชย	 เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า
	 และกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
นางสาวสมสุข บุญญะบัญชา	 กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
นางสาวสุภัทรา นาคะผิว	 กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
นายธนภน วัฒนกุล	 อนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชนในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
บรรณาธิการ
ดร.ถวิลวดี บุรีกุล	 กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ และประธาน
อนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชน ในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
ดร.เลิศพร อุดมพงษ์	 อนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชนในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
ผู้เขียน	 	 	
ดร.ถวิลวดี บุรีกุล
นางสาวปัทมา สูบกำ�ปัง
ดร.สติธร ธนานิธิโชติ
นางสาวจารุวรรณ กาบซ้อน
มีนาคม 2558
สนับสนุนโดย
สภาปฏิรูปแห่งชาติ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
สถาบันพระปกเกล้า
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
สงวนลิขสิทธิ์© 2558
ลิขสิทธิ์ของสถาบันพระปกเกล้า และสำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
พิมพ์ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2558
จำ�นวน 1,000 เล่ม
พิมพ์ครั้งที่ 2 : เมษายน 2558
จำ�นวน 4,000 เล่ม
สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฏิรูป
เอกสารประกอบการสัมมนาการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ
และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ
3“สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
คำ�นำ�
	 กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญมีความมุ่งหวังให้กระบวนการยกร่าง
รัฐธรรมนูญครั้งนี้ได้ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง  รวมทั้ง  มีความ
ต้องการเผยแพร่สาระของร่างรัฐธรรมนูญต่อประชาชนและรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชนจากทุกภาคส่วนต่อร่างรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการยกร่าง
แล้วเสร็จ  คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ในคณะกรรมาธิการการยกร่างรัฐธรรมนูญจึงได้จัดการสัมมนาเพื่อเผยแพร่สาระ
ของร่างรัฐธรรมนูญและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนต่อร่างรัฐธรรมนูญตาม
ภูมิภาคต่าง  ๆ โดยมุ่งหวังให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจสาระของร่างรัฐธรรมนูญ
และเสนอแนะความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อร่างรัฐธรรมนูญ  เพื่อนำ�ไปสู่การ
ปรับปรุงแก้ไขให้เกิดความสอดคล้องกับความต้องการ  และเป็นรัฐธรรมนูญที่
ประชาชนพึงปรารถนาอย่างแท้จริง
	 เอกสารประกอบการสัมมนา ในโครงการ “การเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ
และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนต่อร่างรัฐธรรมนูญ”  จัดทำ�ขึ้นโดยกรรมาธิการ
ยกร่างรัฐธรรมนูญและนักวิชาการของสถาบันพระปกเกล้า  เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน
ให้แก่ผู้เข้าร่วมการสัมมนาในการทำ�ความเข้าใจในสาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญ
ได้โดยง่าย  โดยได้จำ�แนกเนื้อหาสาระตามประเด็นของกลุ่มย่อยทั้งห้าประเด็นสำ�คัญ
ในร่างรัฐธรรมนูญ  ซึ่งจะช่วยให้ผู้เข้าร่วมการสัมมนาสามารถที่จะแสดงความคิดเห็น
บนพื้นฐานของข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คณะผู้จัดทำ�
5“สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
หน้าเรื่อง
สารบัญ
ภาค 1 	 พลเมือง สิทธิ เสรีภาพ และการมีส่วนร่วม	 7
	 ของประชาชน
ภาค 2 	 ผู้นำ�การเมืองที่ดีและสถาบันการเมือง	 29
	
ภาค 3 	 หลักนิติธรรม ศาล และองค์กรตรวจสอบ	 55	
	 การใช้อำ�นาจรัฐ
ภาค 4 	 การปฏิรูปประเทศและสร้างความปรองดอง	 67
ภาค 5 	 การกระจายอำ�นาจและการบริหารท้องถิ่น	 79
6 “สาระสำาคัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
เจตนารมณร่างรัฐธรรมนูญ
7“สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
9“สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
	 	 	 พลเมือง สิทธิ เสรีภาพ
	 	 	 และการมีส่วนร่วมของประชาชน1
	 ร่างรัฐธรรมนูญได้บัญญัติประเด็นที่เกี่ยวกับพลเมือง  สิทธิเสรีภาพ  และ
การมีส่วนร่วมของประชาชนไว้อย่างชัดเจน
	 ในภาคที่  1  ของรัฐธรรมนูญเป็นเรื่องบททั่วไปที่กล่าวถึงอำ�นาจอธิปไตย
เป็นของปวงชนชาวไทย
	 l	ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล
ย่อมได้รับความคุ้มครอง
	 l	 เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ  บังคับคู่กรณีใดให้กระทำ�ไป
ตามประเพณีการปกครองระบอบประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
	 พระมหากษัตริย์
	 เป็นหมวดที่ว่าด้วย  พระมหากษัตริย์ 
องคมนตรี  ผู้สำ�เร็จราชการ  แทนพระองค์และการ
สืบราชสันตติวงศ์  ซึ่งมิได้มีการเปลี่ยนแปลงในสาระ
สำ�คัญไปจากรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 และปี 2550
	 ประชาชน มี 4 ส่วน คือความเป็นพลเมือง
และหน้าที่พลเมือง
	 1.	สิทธิและเสรีภาพของบุคคล
	 2.	การมีส่วนร่วมทางการเมือง
	 3.	การมีส่วนในการตรวจสอบ
ภาค 1
1
ดร.ถวิลวดี บุรีกุล กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
10 “สาระสำาคัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
ส่วนที่	1	ความเปนพลเมืองและหน้าที่พลเมือง
ส่วนนี้ เป็นส่วนที่มีความสำาคัญสำาหรับประชาชนเพราะได้กำาหนดถึงคำาว่า
พลเมือง และหน้าที่ของพลเมืองไว้อย่างชัดเจน
ทั้งนี้กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้มีการบัญญัติคำาใหม่ขึ้นมา คือ
“ประชาชน” ซึ่งหมายถึง คนทั้งหมด หรือแต่ละบุคคลก็ได้
“บุคคล” คือคนสัญชาติใดก็ได้ หรือคนไม่มีสัญชาติก็ได้
“พลเมือง” ต้องเป็นคนที่มีสัญชาติไทยเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นสัญชาติไทย
โดยการเกิด หรือการแปลงสัญชาติก็ตาม
พลเมืองต้องทำาอะไร	/	ไม่ทำาอะไร
ประชาชนชาวไทย ในฐานะเป็นพลเมืองต้องเคารพและปฏิบัติตาม
รัฐธรรมนูญและกฎหมาย
l	 เคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น
l เคารพหลักความเสมอภาค
l	 ยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม
l มีค่านิยมที่ดี มีวินัยตระหนักในหน้าที่
l	 รับผิดชอบต่อสังคม ส่วนรวม
l	 รู้รักสามัคคี มีความเพียร และพึ่งตนเอง
* พลเมืองต้องไม่กระทำาการที่ทำาให้เกิดความเกลียดชังระหว่างคนในชาติ
รัฐต้องปลูกให้พลเมือง ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุขรัฐต้องปลูกฝังให้พลเมืองมีค่านิยมประชาธิปไตย
11“สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
หน้าที่พลเมือง พลเมืองมีหน้าที่ ดังนี้
	 1.	ปกป้องและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ  ศาสนา  พระมหากษัตริย์  การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
	 2.	ป้องกันประเทศ รับราชการทหาร รักษาผลประโยชน์ของชาติ ปฏิบัติ
ตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
	 3.	เสียภาษีอากรโดยสุจริต
	 4.	ใช้สิทธิทางการเมืองโดยสุจริตและมุ่งถึงประโยชน์ส่วนรวม
	 5.	ช่วยเหลือราชการ  ช่วยเหลือการป้องกันและขจัดการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ ป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ
	 6.	รับการศึกษาอบรม ประกอบอาชีพโดยสุจริต ปกป้อง พิทักษ์ อนุรักษ์
และสืบสาน ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม
ของชาติ สงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 สิทธิและเสรีภาพของบุคคล
	 ส่วนนี้ คงหลักการเดิมของรัฐธรรมนูญ 2550 เป็นการให้ความสำ�คัญกับ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพ
	 พลเมืองต้องเสียสละและ
ช่วยทำ�หน้าที่สำ�คัญ
	 นอกจากนี้  พลเมืองยัง
สามารถเข้าไปทำ�หน้าที่ในสมัชชา
คุณธรรมแห่งชาติ  สมัชชาพลเมือง
สภาตรวจสอบภาคพลเมือง  และ
องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
12 “สาระสำาคัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
	 สาระสำาคัญ คือ
- บุคคลจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดการล้มล้าง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมิได้ และ
ศาลรัฐธรรมนูญมีอำานาจสั่งให้เลิกกระทำาดังกล่าว
ทั้งนี้ เพื่อให้บุคคลมีสิทธิมาปกป้องระบอบการปกครองและเป็นระบอบ
ประชาธิปไตยมีกลไกปกป้องตนเองด้วย
- บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีเสรีภาพที่จะกระทำาใด ๆ และ
เท่าที่ไม่ละเมิด สิทธิ เสรีภาพของผู้อื่น ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญ ไม่ขัดต่อความ
สงบเรียบร้อย หรือศีลธรรม อันดีของประชาชน
- การจำากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองจะกระทำา
มิได้
สิทธิมนุษยชน
รัฐธรรมนูญนี้ ให้ความสำาคัญกับสิทธิมนุษยชน โดยมีสาระสำาคัญคือ
- ความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียม
กัน โดยยังให้สอดคล้องกับหลักการ อนุสัญญาว่าด้วย การขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี
ในทุกรูปแบบ ซึ่งเป็นอนุสัญญาที่จัดทำาขึ้น โดยสหประชาชาติ
ดังนั้น รัฐธรรมนูญ จึงมีการบัญญัติในสาระสำาคัญคือ
- ชายและหญิง มีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน
- การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่าง
ในเรื่องถิ่นกำาเนิด เชื้อชาติ ภาษาและ เพศสภาพ อายุ ความพิการ สภาพทางกาย
ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิด
เห็นทางการเมือง อันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญจะกระทำามิได้
(ทั้งนี้ คำาว่า “เพศสภาพ” หมายถึง สภาพทางเพศ ที่ปรากฏให้เห็น
และหมายความรวมถึงเพศวิถี ซึ่งหมายถึงบทบาทและรสนิยมทางเพศ หรือวิถีชีวิต
13“สาระสำาคัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
ทางเพศที่อาจจะไม่ตรงกันเพศสภาพ และเพศ และ “สถานะของบุคคล” หมายความ
รวมถึง ‘ชาติพันธุ์’ และ‘ชนเผ่าพื้นเมือง’ ด้วย)
- สิทธิเสรีภาพของข้าราชการ ทหาร ตำารวจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ
- บุคคล ย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกายการกระทำาการ
ทารุณกรรมจับคุมขังต่างๆ จะกระทำามิได้
- ให้สันนิษฐาน ไว้ก่อนว่า ผู้ต้องหาหรือจำาเลยไม่มีความผิด ก่อนมีคำา
พิพากษาอันถึงที่สุด
สิทธิของบุคคลที่ได้รับการคุ้มครอง
- สิทธิในการสมรสและครอบครัว (ซึ่งการใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างเพศ
เดียวกัน อาจเรียกคู่ชีวิต ไม่ใช่การสมรส)
- สิทธิในเกียรติยศ ชื่อเสียง ข้อมูลส่วนบุคคล ความเป็นอยู่
- ได้รับการคุ้มครองจากการแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบจากข้อมูล
ส่วนบุคคล
- สิทธิในทรัพย์สิน
- สิทธิในกระบวนการยุติธรรมเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม โดยง่าย
สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึงเท่าเทียมกันและเสียค่าใช้จ่ายน้อย
- สิทธิที่จะให้คดีของตน ได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
- สิทธิพื้นฐานในกระบวนพิจารณา
14 “สาระสำ�คัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
เสรีภาพ พลเมืองมีเสรีภาพ ดังนี้
	 -	 เสรีภาพในเคหสถาน
	 -	 เสรีภาพในการสื่อสารทางกฎหมาย  (เว้นแต่เพื่อรักษาความมั่นคง
ของรัฐ)
	 -	 เสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนา
	 -	 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและเผยแพร่ความคิดเห็นของตน โดย
การพูด เขียน โฆษณา และสื่อโดยวิธีอื่น
	 (การจำ�กัดเสรีภาพกระทำ�มิได้ เว้นแต่เฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ
เพื่อคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ เกียรติยศ ชื่อเสียง)
	 -	 ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา โจทก์ จำ�เลย คู่กรณี ผู้มีส่วนได้เสีย และพยานในคดี
ย่อมได้รับการปฏิบัติผู้ที่เหมาะสม
	 -	 ในคดีอาญา ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จำ�เลยและพยาน มีสิทธิได้รับความ
คุ้มครองและความช่วยเหลือที่จำ�เป็นและเหมาะสมจากรัฐ	
	 -	 ได้รับการเยียวยาในกรณีที่มีการละเมิด สิทธิ หรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญ
รับรองไว้
15“สาระสำาคัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูป”
- ผู้ต้องหาและจำาเลยมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือทางคดีจากทนายความ
ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ
เรื่องสิทธิพลเมือง เป็นเรื่องที่บัญญัติขึ้นมาใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับ
กติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICCPR –
International Covenant on Civil and Political Rights) ซึ่งเป็นสนธิสัญญา
พหุภาคี ที่ผ่านมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ เมื่อ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1966 และมี
ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1976 เป็นต้นมา
	 สิทธิและเสรีภาพของพลเมือง									
สิทธิพลเมืองที่สำาคัญที่มีการบัญญัติไว้ คือ
	 1.	การได้รับความคุ้มครองและสวัสดิการ
	 -	 ครอบครัวมีสิทธิได้รับความคุ้มครองและช่วยเหลือจากรัฐให้อยู่ร่วมกัน
เป็นปกแผ่น และเป็นสุข มีมาตรฐานการดำารงชีวิตที่เหมาะสม (เพื่อเสริมสร้างสถาบัน
ครอบครัว ซึ่งเป็นสถาบันหลักของชาติให้มีความเข้มแข็ง)
- มารดาย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองเป็นพิเศษ ได้รับสวัสดิการตามควร
จากรัฐและนายจ้างก่อนและหลังการให้กำาเนิดบุตร (เพื่อให้มารดาได้รับการคุ้มครอง
พิเศษ)
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป
สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
 
30 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __230 แนวข อสอบความรอบร __2
30 แนวข อสอบความรอบร __2
 
คู่มือ You tube
คู่มือ You tubeคู่มือ You tube
คู่มือ You tube
 
คู่มือ Twitter
คู่มือ Twitterคู่มือ Twitter
คู่มือ Twitter
 
วิชาการศึกษา
วิชาการศึกษาวิชาการศึกษา
วิชาการศึกษา
 
Web social network
Web social networkWeb social network
Web social network
 
คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpress
 
คู่มือ Google docs
คู่มือ Google docsคู่มือ Google docs
คู่มือ Google docs
 
ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3ข อสอบกฎหมาย 3
ข อสอบกฎหมาย 3
 
Undo การกลับไปใช้สิทธิในบาเหน็จบานาญตาม พรบ.บาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 ส...
Undo การกลับไปใช้สิทธิในบาเหน็จบานาญตาม พรบ.บาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 ส...Undo การกลับไปใช้สิทธิในบาเหน็จบานาญตาม พรบ.บาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 ส...
Undo การกลับไปใช้สิทธิในบาเหน็จบานาญตาม พรบ.บาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 ส...
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
คู่มือ Picasa
คู่มือ Picasaคู่มือ Picasa
คู่มือ Picasa
 
ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2
 
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศน
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศนทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศน
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง กศน
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
8
88
8
 
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpress
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ (20)

รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษารวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
 
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค กคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบคู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 

สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... ฉบับปฏิรูป