SlideShare a Scribd company logo
จัดทำโดย
1. น.ส ณัฐชำ คำบุญเกิด ชั้น ม.6/5 เลขที่ 34
2. น.ส จตุรพร พรมมินทร์ ชั้น ม.6/5 เลขที่ 37
start
การกาเนิด
ปิโตรเลียม
กระบวนการแยก
ก๊าซธรรมชาติ
กระบวนกำร
กลั่นน้ำมันดิบ
กระบวนการปรับปรุง
คุณภาพน้ามัน
ผลิตภัณฑ์ที่ได้
จากการแยก
ปิโตรเลียม
แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย
วัตถุประสงค์
ศึกษำเกี่ยวกับแหล่งพลังงำนที่สำคัญของมนุษย์ เพื่อให้มนุษย์ทุกคนตระหนักถึง
ปัญหำของทรัพยำกรธรรมชำติและแหล่งพลังงำนที่กำลังจะหมดไป เพื่อศึกษำขั้นตอน
วิธีกำร กำรผลิตพลังงำนต่ำงๆ ที่ได้จำกปิโตรเลียม เพื่อศึกษำว่ำพลังงำนต่ำงๆที่ได้จำก
ปิโตรเลียม สำมำรถนำไปใช้เป็นพลังงำนในแบบใดบ้ำง
ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน
เนื่องจำกปัจจุบันในมนุษย์ได้มีกำรพัฒนำในด้ำนเทคโนโลยีที่ก้ำวหน้ำไม่ว่ำจะเป็น ด้ำน
กำรแพทย์ ด้ำนกำรคมนำคม และด้ำนอื่นๆ ทำให้มนุษย์ต้องเสำะหำทรัพยำกรธรรมชำติเพื่อนำมำใช้
เป็นวัตถุดิบในกำรผลิตและพัฒนำเทคโนโลยี ซึ่งทรัพยำกรธรรมชำติก็มีส่วนที่เป็นเแหล่งพลังงำนที่
สำคัญ คือปิโตรเลียม ที่สำมำรถนำไปแหล่งพลังงำนของเทคโนโลยีต่ำงๆ เพรำะฉะนั้นมนุษย์จึง
จำเป็นต้องมีแหล่งพลังงำนเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน จึงต้องศึกษำกำรกำเนิดปิโตรเลี่ยม และ
กระบวนกำรวิธีผลิตพลังงำนจำกปิโตรเลียม และกำรนำปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์ต่ำงๆ
• ปิโตรเลียม คือ สารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นของผสมของโฮโดร
คาร์บอนชนิดต่างๆ ที่ยุ่งยากและซับซ้อน ทั้งที่อยู่ในสภาพของแข็ง
ของเหลว และก๊าซ หรือทั้งสามสภาพปะปนกัน แต่เมื่อต้องการจะ
แยกประเภทออกเป็นปิโตรเลียมชนิดต่างๆ จะใช้คาว่า น้ามันดิบ
(Crude oil) ก๊าซธรรมชาติ (Natural gas) และก๊าซธรรมชาติเหลว
(Condensate) โดยปกติน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติมักจะเกิดร่วมกัน
ในแหล่งปิโตรเลียม แต่บางแหล่งอาจมีเฉพาะน้ามันดิบ บางแหล่ง
อาจมีเฉพาะก๊าซธรรมชาติก็ได้ส่วนก๊าซธรรมชาติเหลวนั้นหมายถึง
ก๊าซธรรมชาติในแหล่งที่อยู่ลึกลงไปใต้ดินภายใต้สภาพอุณหภูมิและ
ความกดดันที่สูง เมื่อถูกนาขึ้นมาถึงระดับผิวดินในขั้นตอนของการ
ผลิต อุณหภูมิและความกดดันจะลดลง ทาให้ก๊าซธรรมชาติกลาย
สภาพไปเป็นของเหลว เรียกว่า ก๊าซธรรมชาติเหลว
• เมื่อหลายล้านปี ทะเละเต็มไปด้วยสัตว์ และพืชเล็ก ๆ จาพวกจุลินทรีย์
เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงจานวนมหาศาล ก็จะตกลงสู่ก้นทะเล และถูกทับถม
ด้วยโคลน และทราย
• แม่น้า จะพัดพากรวดทราย และโคลนสู่ทะเล ปีละหลายแสนตัน ซึ่ง
กรวด ทราย และโคลน จะทับถมสัตว์ และพืชสลับทับซ้อนกัน เป็นชั้น ๆ
อยู่ตลอดเวลา นับเป็นล้านปี
• การทับถมของชั้นตะกอนต่าง ๆ มากขึ้น จะหนานับ
ร้อยฟุต ทาให้เพิ่มน้าหนักความกดและบีบอัด จน
ทาให้ทราย และชั้นโคลน กลายเป็นหินทราย และ
หินดินดาน ตลอดจนเกิดกลั่นสลายตัว ของซาก
สัตว์ และพืชทะเล โดยมีจุลินทรีย์บางชนิดช่วยย่อย
สลายในสภาวะที่ไม่มี ออกซิเจน (Anaerobic
process) ภายใต้อิทธิพลของอุณหภูมิ และ
ความดันสูง ในชั้นหินภายใต้พื้นโลก กลายเป็น
น้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
• น้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ มีความเบา จะเคลื่อนย้าย ไปกักเก็บอยู่ใน
ชั้นหินเนื้อพรุน เฉพาะบริเวณที่สูงของโครงสร้างแต่ละแห่ง และจะถูก
กักไว้ด้วยชั้นหินเนื้อแน่น ที่ปิดทับอยู่
• 1. ทำงธรณีวิทยำ - จากแผนที่ ภาพถ ายทางอากาศ ภายถ ายดาวเทียม
รายงานทางธรณีวิทยา
• 2. ทำงธรณีฟ สิกส - การหาความเข มของสนามแม เหล็ก แรงโน
มถ วงของโลก การเคลื่อนไหวสั่นสะเทือนของโลก และ การเจาะ
สารวจ
• การสารวจวัดคลื่นไหวสะเทือน เป็นการสารวจเพื่อตรวจสอบลักษณะและโครงสร้าง
ทางธรณีวิทยาใต้ผิวดิน โดยการทาให้เกิดสัญญาณคลื่น แล้ววัดระยะเวลาที่คลื่น
เดินทางจากจุดกาเนิด ถึงตัวรับคลื่น (Geophoneหรือ Hydrophone) ความเร็วคลื่นจะ
แปรผันตรงกับความหนาแน่นของชั้นหิน และชนิดของหินนั้นชั้นหินที่มีความ
หนาแน่นต่า มีความพรุน และมีของเหลวแทรกอยู่คลื่นเสียงจะเดินทางผ่านได้ช้ากว่า (
ใช้เวลามากกว่า) การเดินทางในชั้นหินที่มีเนื้อแน่นนอกจากนี้รอยเลื่อน และการโค้ง
งอของชั้นหิน ทาให้เกิดการหักเหของคลื่น แสดงให้เห็นลักษณะโครงสร้างธรณีวิทยา
ของชั้นหินอีกด้วย
• การสารวจวัดคลื่นไหวสะเทือน เป็นวิธีที่ใช้ในการสารวจหาปิโตรเลียม มีความถูก
ต้องสูง ให้รายละเอียดของลักษณะทางธรณีวิทยาได้ดี สารวจได้ลึกจากผิวดินหลาย
กิโลเมตร และเสียค่าใช้จ่ายสูง
• แหล่งกาเนิดคลื่น ที่ใช้ในการสารวจที่อยู่บนผิวดินมี 2 ชนิด คือ ใช้ดินระเบิด และ รถสั่นสะเทือน
(Vibroseis) ซึ่งแต่ละชนิด มีความเหมาะสมกับการใช้งานต่าง ๆ กัน การใช้ Vibroseis เหมาะสม
กับการสา
• รวจตามริมถนน ซึ่งสามารถจากัด Noise ซึ่งเกิดจากการวิ่งของยานพาหนะต่าง ๆ ได้
• 1. เรือสารวจพร้อมอุปกรณ์การสารวจ และระบบสื่อสารที่ทันสมัย เรือ
สารวจมีความยาวประมาณ 50- 80 เมตร กว้าง 15- 20 เมตร TonnageGross
ประมาณ 3,000-6,000ตัน
2. อุปกรณ์ต้นกาเนิดสัญญาณคลื่น (Air Gun) เป็นรูปทรงกระบอก ใช้อัด
อากาศ ให้มีความดัน ประมาณ 2,000ปอนด์ต่อตารางนิ้ว แล้วปล่อยอากาศ
ออกมา ทาให้เกิดสัญญาณคลื่น
3. อุปกรณ์รับสัญญาณคลื่น (Hydrophone) อยู่ลึกจากผิวน้า 5- 8 เมตร ต่อ
พ่วงกัน ยาวประมาณ 3,000 เมตร มีจานวน 1 สาย หรือมากกว่า ดังนั้นจึง
จาเป็นต้องเคลื่อนย้าย สิ่งกีดขว้างต่างๆ ออกจากแนวสารวจ
•
• การเจาะสารวจ เป็นขั้นตอนที่จะบอกให้ทราบถึงความยากง่ายของการขุดเจาะปิโตรเลียมมาใช้
และสิ่งที่กักอยู่ในแหล่งนั้น ว่าจะเป็นก๊าซธรรมชาติหรือน้ามันดิบ และยังเป็นสิ่งที่บอกถึง
ปริมาณสารองที่มีอยู่ ซึ่งจะเป็นตัวบอกและตัดสินความเป็นไปได้ในการผลิตในเชิงเศรษฐกิจ
1. แท่นเจาะ (Drilling Rig)
• ความยากง่ายของกระบวนการเจาะจะเป็นตัวกาหนดระดับของความซับซ้อนในองค์ประกอบ
ของแท่นเจาะเอง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแท่นเจาะจะมีอยู่มากมายหลากหลายประเภท แต่
ส่วนประกอบพื้นฐานของแท่นเจาะทั้งหลายนั้นก็คล้ายคลึงกัน
แท่นเจาะโดยทั่วไปจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ
• บนบก (Onshore)
• ในทะเล (Offshore)
• 2. เครื่องขุดเจาะ (Drill String)
• เพื่อการสารวจปิโตรเลียมทั้งบนบกและในทะเลนั้นคล้ายคลึงกัน คือมีลักษณะ ที่เป็นสว่านหมุน
โดยมีส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่
• หัวเจาะ ทาด้วยโลหะแข็ง มีฟันคม ซึ่งเมื่อถูกหมุนด้วยแรงหมุน และแรงกดที่มากมหาศาลฟันคม
ของมันจะตัดหินและดินที่ขวางหน้าให้ขาดสะบั้นเป็น เศษเล็กเศษน้อย ทาให้ก้านเจาะสามารถ
ทะลวงลงใต้ดินให้ลึกยิ่ง ๆ ขึ้น
• ก้านเจาะ เป็นท่อนตรงกลางซึ่งยาวท่อนละประมาณ 10 เมตร และเพื่อจะเจาะให้ได้ลึกตาม
ต้องการจึงจะต้องนาก้านเจาะแต่ละท่อนมาขันเกลียวต่อกัน ให้ยาวขึ้น
back
ก๊าซธรรมชาติเป็นปิโตรเลียมชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดและสาร
อื่นๆ ที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน ดังตาราง
ตำรำง แสดงองค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติ
• กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ เริ่มต้นด้วยการกาจัดก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2) และน้าที่เจือปน อยู่ในก๊าซธรรมชาติออกก่อน โดย
กระบวนการ Benfield ซึ่งใช้โปตัสเซียมคาร์บอเนต (K 2CO 3) เป็นตัวจับ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และกระบวนการดูดซับ โดยใช้สารจาพวก
molecular sieve ซึ่งมีลักษณะเป็นรูพรุน ทาหน้าที่ดูดซับน้า ก๊าซธรรมชาติ
ที่แห้งจากหน่วยนี้จะผ่านเข้าไปใน turbo-expander เพื่อลดอุณหภูมิจาก
250O K เป็น 170O K และลดความดันลงจาก 43 บาร์ เป็น 16 บาร์ก่อนแล้วจึง
เข้าสู่หอแยกมีเทน (de-methanizer)
• มีเทนจะถูกกลั่นแยกออกไป และส่วนที่เหลือคือส่วนผสมของ ก๊าซ
ไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนตั้งแต่ 2 อะตอมขึ้นไป (ethane plus stream)
ซึ่งอยู่ในสถานะของเหลวและจะออกทางส่วนล่างของหอ ผลิตภัณฑ์ที่เป็น
ของเหลวหอดังกล่าวจะถูกนาเข้าสู่หอแยกอีเทน (de-ethanizer) และหอแยก
โพรเพน (de-propanizer) เพื่อแยกอีเทนและโพรเพนออกตามลาดับต่อไป
ในหอแยกโพรเพนนี้ โพรเพนจะถูกแยกออกทางด้านบนของหอ ส่วนแอพีจี ซึ่ง
เป็นส่วนผสมของโพรเพนและบิวเทนจะถูกแยกออกมาจากส่วนกลางของหอ และ
ส่วนผลิตภัณฑ์ที่ออกจากหอทางด้านล่างคือ ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (natural
gasoline)
ภาพแสดงกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท. จังหวัดระยอง back
กระบวนกำรกลั่นน้ำมันดิบ
• น้ามันดิบเป็นของผสมที่มีสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดปนกัน
เนื่องจากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่างๆ มีประโยชน์ในการใช้งานต่างกัน
ดังนั้นจึงจาเป็นต้องแยกสารผสมออกจากกัน โดยอาศัยสมบัติที่ต่างกัน คือ มวล
โมเลกุล ความหนาแน่น และจุดเดือด แต่จุดเดือดของสารแต่ละชนิดแตกต่างน้อย
จึงต้องแยกสารออกด้วยวิธี กำรกลั่นลำดับส่วน (Fractional distillation)
ดังภาพ
• จากภาพกระบวนการแยกปิโตรเลียมเริ่มจาก การใส่น้ามันดิบเข้าไปใน
เตาเพื่อให้ความร้อน น้ามันดิบจะระเหยขึ้นไปในหอกลั่นในสถานะก๊าซ หอก
ลั่นลาดับส่วนจะร้อนที่ส่วนล่างและเย็นสงที่ส่วนบน หมายความว่า
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนขนาดใหญ่ที่มีจุดเดือดสูงจะกลั่นตัวเป็น
ของเหลวที่ด้านล่างของหอกลั่นที่อุณหภูมิสูงๆ ส่วนสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลเล็กจะอยู่ในสถานะก๊าซและลอยตัวสูงขึ้นสู่ชั้นบน
หอกลั่น ซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วนจะควบแน่นที่ความสูงต่างกัน โดยส่วน
ยอดของหอกลั่นจะมีไฮโดรคาร์บอนที่มีจุดเดือดต่า ที่อุณหภูมิ 70 º C
ไฮโดรคาร์บอนส่วนนี้จะไม่ควบแน่น และออกจากยอดของหอกลั่นใน
สถานะก๊าซ แต่อย่างไรก็ตามสารที่กลั่นได้ก็ไม่บริสุทธิ์ เพราะมีสารหลาย
ชนิดมีการควบแน่นที่อุณหภูมิใกล้เคียงกัน โดยทั่วไปน้ามันดิบที่ผ่าน
กระบวนการกลั่นลาดับส่วนจะได้สารดังแสดงในตารางต่อไปนี้
back
กระบวนกำรปรับปรุงคุณภำพน้ำมัน
• 1. กระบวนกำรแตกสลำย (Cracking process) เป็นการเปลี่ยนสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่ซึ่งไม่ค่อยมีประโยชน์ ให้กลายเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
โมเลกุลเล็กที่มีประโยชน์มากกว่า โดยใช้ความร้อนสูงและตัวเร่งปฏิกิริยา
• 2. กระบวนกำรรีฟอร์มมิง (Reforming process) เป็นการเปลี่ยนสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนแบบโซ่ตรงให้เป็นโซ่กิ่งเช่นไอโซออกเทน ซึ่งมีประสิทธิภาพในการเป็น
เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนได้ดี โดยใช้ความร้อนสูงและตัวเร่งปฏิกิริยา เช่น
• 3. กำรทำแอลคิเลชัน (Alkylation) เป็นการรวมสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดแอลเคน (
แอลเคน คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตร C nH 2n+2) กับสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนชนิดแอลคีน ( แอลคีนคือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตร C nH 2n
หรือมีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล) ให้ได้เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโครงสร้างแบบโซ่กิ่ง ซึ่ง
มีประสิทธิภาพในการเป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนได้ดี โดยมีกรดซัลฟิวริก (H 2SO
4) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
• 4. กำรทำโอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization) เป็นการรวมสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนชนิดแอลคีน เข้าด้วยกันโดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนชนิดแอลคีน ที่มีจานวนคาร์บอนเพิ่ม
• ขึ้น เช่น
back
• ก๊าซธรรมชาติ
• องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่จะเป็นก๊าซมีเทนและมี ไฮโดรคาร์บอนเบาตัวอื่นๆ ติด
มาด้วย ก่อนยาไปใช้งานต้องมีการแยกมลทิน ( Impurity ) บางชนิดออกก่อน (ดูเรื่องการ
แยก ก๊าซธรรมชาติ) ในประเทศไทยได้นาเอาก๊าซธรรมชาติไปเป็นเชื้อเพลิงเครื่องยนต์แทน
น้ามัน โดยการอัดก๊าซใส่ถังภายใต้ความดันสูง เพื่อนาติดไปกับรถ ซึ่งเราเรียกว่า
Compressed Natural Gas; CNG
• ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว Liquefied Petroleuml Gas; LPG หรือก๊าซหุงต้ม เป็น
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากส่วนบนสุดของหอกลั่นน้ามันดิบ หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกก๊าซ
ธรรมชาติ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวเป็นส่วนผสมของโพรเพน ( C 3H 8) และบิวเทน ( C 4H
10) หรืออาจอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ในประเทศเขตร้อนจะใช้โพเพนผสมบิวเทนในอัตราส่วน
โดยปริมาตร 40 : 60 ถึง 70 : 30 ปกติก๊าซปิโตรเลียมเหลวจะไม่มีสี และกลิ่น แต่เพื่อเป็นการ
เตือนภัยให้ผู้ใช้ทราบถึงการรั่วไหลจึงเติมสารให้กลิ่น เช่น เอทิลเมอร์แคปแทน
(ethylmercaptan )
เปรียบเทียบ NGV และ LPG
• น้ำมันเบนซิน
• น้ามันเบนซิน ( Gasoline) เป็นน้ามันที่ได้จากการปรุงแต่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก
การกลั่นโดยตรง และจากการแยกก๊าซธรรมชาติเหลว น้ามันเบนซินใช้กันมากสาหรับเครื่องยนต์
สันดาปภายในแบบใช้หัวเทียนจุดระเบิด มีการกาหนดปริมาณของสารประกอบตะกั่วต้องไม่เกิน
0.013 กรัมต่อลิตร
• ในการกาหนดคุณภาพน้ามันเบนซินจะพิจารณาจาก เลขออกเทน (Octane number) เป็น
ประเด็นแรก ซึ่งเลขออกเทน คือ ตัวเลขแสดงคุณสมบัติการ Knock ของน้ามันเบนซินใน
สภาพการทางานปกติของเครื่องยนต์โดยสมาคมทดสอบและวัสดุแห่งอเมริกา (ASTM)
กาหนดให้
• น้ามันเบนซิน ที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโซออกเทนหมด เรียกน้ามันเบนซินนั้นว่ามี
เลขออกเทนเป็น 100
• น้ามันเบนซิน ที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับเฮปเทนหมด เรียกน้ามันเบนซินนั้นว่ามีเลขออก
เทนเป็น 0
ดังนั้น ถ้าน้ามันเบนซินมีเลขออกเทนเท่ากับ 95 จะมีสมบัติเทียบได้กับน้ามันที่มีส่วนผสม
ระหว่างไอโซออกเทน ร้อยละ 95 กับนอร์มองเฮปเทน ร้อยละ 5 โดยปริมาตร นั่นเอง
อนึ่งน้ามันเบนซินในปัจจุบันมักจะพบว่ามีเลขออกเทนต่า เพื่อปรับปรุงน้ามันให้มีเลขออกเทนสูงขึ้นด้วย
การเติม เตตระเอธิลเลด (CH 3CH 2) 4Pb ย่อว่า TEL ลงในน้ามันเบนซิน ทาให้น้ามันมีเลขออกเท
นสูงขึ้น แต่ก็ก่อให้เกิดสารตะกั่ว (Pb) เป็นสารมลพิษ
จึงได้พัฒนาส่วนผสมใหม่ที่ช่วยเพิ่มเลขออกเทนของน้ามันเบนซิน คือ เมทิลเทอร์เทียรี บิวทิล อีเทอร์
(MTBE)
• น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบิน
• น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบิน ( Aviation Fuels) มี 2 ประเภท ตามลักษณะดังนี้
• น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินใบพัด ( Aviation Gasoline) คล้ายกับเครื่องยนต์เบนซินที่ใช้กับ
รถยนต์ แต่มีแรงม้าสูง และออกแบบให้ทางานได้ในภาวะที่ความดัน และอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
ในช่วงกว้าง ดังนั้นน้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินต้องมีสมบัติที่พิเศษกว่าน้ามันเบนซินหลายอย่าง เช่น
มีเลขออกเทนสูงเป็นพิเศษ จุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ากว่า เป็นต้น
• น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น ( Aviation Turbine Fuels หรือ Jet Fuels) ในสมัย
แรกได้ใช้น้ามันก๊าดที่มีจาหน่ายทั่วไปเป็นเชื้อเพลิง เนื่องจากน้ามันก๊าดมีการระเหยตัวต่า อันเป็น
สมบัติที่สาคัญของเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่นแต่ในปัจจุบันเครื่องบินไอพ่นของสายการบิน
พาณิชย์หันมาใช้เชื้อเพลิงที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกับน้ามันก๊าด แต่มีความบริสุทธิ์กว่า และสมบัติ
บางอย่างดีกว่าน้ามันก๊าด
• น้ามันดีเซล
• น้ามันดีเซล ( Desel Fuel) ได้จากการกลั่นน้ามันดิบ แต่มีช่วงจุดเดือดและความข้นใสสูง
กว่าน้ามันเบนซิน เนื่องจากการจุดระเบิดของเครื่องยนดีเซลใช้ความร้อนที่เกิดจากการอัดอากาศ
อย่างมากภายในกระบอกสูบแล้วฉีดเชื้อเพลิงเข้าไปทาการเผาไหม้ ซึ่งประเภทของน้ามันเบนซิน
แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
• ดีเซลหมุนเร็ว ( Automotive Desel Oil) ซึ่งรัฐบาลกาหนดให้มีเลขซีเทนไม่ต่ากว่า 47
สามารถนาไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลหมุนเร็ว
• ดีเซลหมุนช้า ( Indudtrial Desel Oil) ซึ่งรัฐบาลกาหนดให้มีเลขซีเทนไม่ต่ากว่า 45
สามารถนาไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลหมุนปานกลางและหมุนช้า
• การกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซลจะบอกด้วย เลขซีเทน (Cetane Number) ซึ่ง
หมายถึง ค่าตัวเลขที่แสดงเป็นร้อยละโดยมวลของซีเทน ในของผสมระหว่างซีเทน ( C 16H
34 ) และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (C 11H 10 ) ซึ่งเกิดการเผาไหม้หมด
• น้ามันก๊าด
น้ามันก๊าด (Kerosine) ได้จากการกลั่นน้ามันดิบ สมัยก่อนนิยมนาน้ามันก๊าดไปใช้
สาหรับจุดตะเกียงเพื่อให้ความร้อนและแสงสว่างตามครัวเรือน แต่ปัจจุบันมีการนาน้ามันก๊าดไป
ใช้ประโยชน์อื่นอีกมากมาย เช่น ใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องยนต์หรือเครื่องบิน นาไปเป็นส่วนผสม
ของยาฆ่าแมลง น้ามันชักเงา สีน้ามัน และอุตสาหกรรมอื่นๆ เป็นต้น
น้ามันเตา
น้ามันเตา (Fuel Oils) ได้จากส่วนล่างของหอกลั่นน้ามันดิบ น้ามันเตาจัดเป็นเชื้อเพลิง
ที่มีความสาคัญกับอุตสาหกรรมมาก เพราะมีราคาถูก ใช้ง่าย ให้ค่าความร้อนสูง ซึ่งส่วนใหญ่
นาไปใช้กับเตาเผา หม้อไอน้า เครื่องยนต์ผลิตไฟฟ้า หรือเรือเดินทะเล
ยางมะตอย
ยางมะตอย ( Asphalt) เป็นสารผสมที่ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนหลายชนิด และ
สารอินทรีย์อื่นๆ ซึ่งเรียกรวมๆ กันว่า บิทูเมน มีลักษณะเป็นของเหลวหนืดกึ่งแข็ง สีดาหรือ
น้าตาลเข้ม เป็นผลพลอยได้จากการกลั่นน้ามันดิบ ซึ่งอยู่ด้านล่างสุดของหอกลั่น นาไปใช้
ประโยชน์ในการทาผิวถนน และทาวัสดุกันซึมต่างๆ
back
• ก๊าซโซฮอล์ ( Gasohol )
• คือ น้ามันเบนซินที่ถอดเอาสารเพิ่มออกเทน MTBE ออกไป เพราะมีการค้นพบว่าสารตกค้างที่
ได้รับจาก MTBE มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเมื่อเข้าไปปนเปื้อนในน้า ที่มาของชื่อ
ก๊าซโซฮอล์นั้น มาจากการผสมคาของ ก๊าซโซลีน ที่หมายถึง เบนซิน บวกกับคาว่า แอลกอฮอล์
จึงกลายมาเป็น ก๊าซโซฮอล์
• ก๊าซโซฮอลล์ใช้น้ามันเบนซินผสมกับเอทานอล ( เอทานอลผลิตจากพืชเกษตร เช่น มัน
สาปะหลัง อ้อย ข้าวโพด) โดยต้องนาเอทานอลไปทาให้มีความบริสุทธิ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.5
เสียก่อน ในระดับความบริสุทธิ์ระดับนั้น แอลกอฮอล์จะถูกเรียกว่า เอธานอล โดยที่ก๊าซโซฮอลล์
ในประเทศไทยจะมีส่วนผสมตามที่ประกาศกันอย่างเป็นทางการอยู่ที่ น้ามันเบนซินร้อยละ 90
และเอธานอลร้อยละ 10 นั่นเอง
• ก๊าซโซฮอล์ 95 มีส่วนผสมของน้ามันเบนซินกับเอทานอล ซึ่งเป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ดังนั้น
นอกจากจะคุณสมบัติการใช้งานเทียบเท่าน้ามันเบนซิน 95 ทั่วไป
• ข้อดีของกำรใช้น้ำมันก๊ำซโซฮอล์
• 1. ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศ ในการนาเข้าสาร MTBE ถึงปีละ 3,000 ล้านบาท
2. ลดการนาเข้าน้ามันจากต่างประเทศ ทาให้เกิดการพึ่งพาตัวเองด้านพลังงาน
3. ใช้ประโยชน์จากพืชผลทางการเกษตรในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด
4. สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตทางการเกษตร เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยให้ดีขึ้น
5. ช่วยลดปริมาณมลพิษจากท่อไอเสีย โดยสามารถลดปริมาณไฮโดรคาร์บอนและคาร์บอนมอน
นอกไซด์ 20 – 25% ส่งผลให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น
6. เป็นพลังงานหมุนเวียน จึงถือเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรโลก ซึ่งเป็นแนวทางในการพัฒนา
ประเทศให้ยั่งยืน
• ไบโอดีเซล
คือน้ามันเชื้อเพลิงที่ผลิตมาจากน้ามันพืชหรือไขมันสัตว์ โดยผ่านขบวนการที่ทาให้โมเลกุล
เล็กลง ให้อยู่ในรูปของเอทิลเอสเตอร์(Ethyl esters) หรือเมทิลเอสเตอร์(Methyl
esters) ซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน้ามันดีเซลมาก สามารถใช้ทดแทนน้ามันดีเซลได้โดยตรง
ดังปฏิกิริยา
• ไบโอดีเซลชนิดเอสเทอร์นี้มี คุณสมบัติที่เหมือนกับน้ามันดีเซลมากที่สุด ทาให้ไม่มีปัญหากับ
เครื่องยนต์เราสามารถนามาใช้กับรถยนต์ได้ แต่ปัญหาที่จะมีก็คือต้นทุนการผลิตที่แพงนั่นเอง
ข้อดีในด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตก็คือ ช่วยลดมลพิษในอากาศ ทาให้ลดการสูญเสียจาก
การรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับมลพิษจากอากาศ เป็นต้น
• “ ไบโอดีเซล ” จึงเชื้อเพลิงชีวภาพแห่งยุคสมัย และ น่าจะเป็นเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งแห่งความหวัง
ของไทยเราได้ในอนาคต
• ก๊าซธรรมชาติ หรือของก๊าซ NGV
• ก๊าซธรรมชาติเป็นก๊าซเชื้อเพลิงที่มีก๊าซมีเทนเป็นส่วนประกอบหลักสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงใน
รถยนต์ได้เช่นเดียวกับน้ามันเบนซินและดีเซล
ก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (Natural Gas for Vehicle หรือ NGV)
โดยทั่วไปเรียกว่า ก๊าซ NGV คือ ก๊าซธรรมชาติที่ถูกอัดจนมีความดันสูง ( มากกว่า 3,000
ปอนด์/ ตารางนิ้ว; psi) ซึ่งในบางประเทศเรียกว่า Compressed Natural Gas
(CNG) หรือก๊าซธรรม-ชาติอัด ดังนั้นก๊าซ NGV และก๊าซ CNG เป็นก๊าซตัวเดียวกันนั่นเอง
• คุณสมบัติพิเศษของก๊ำซ NGV
• 1. มีสัดส่วนของคาร์บอนน้อยกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น และมีคุณสมบัติเป็นก๊าซ ทาให้การเผาไหม้
สมบูรณ์มากกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น และปริมาณไอเสีย ที่ปล่อยออกจากเครื่องยนต์ใช้ก๊าซ
ธรรมชาติ มีปริมาณต่ากว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น
2. เป็นเชื้อเพลิงที่สะอาดไม่ก่อให้เกิดควันดาหรือสารพิษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน
จึงสามารถลดปัญหามลพิษทางอากาศซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น
• เนื่องด้วยก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงที่สะอาดและมีราคาถูกกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น สามารถ
ผลิตได้ในประเทศ และมีคุณสมบัติที่ทาให้ปริมาณของไอเสียจากรถยนต์ต่ากว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น
ซึ่งปัจจุบันนี้มีหลายประเทศสนใจและมีนโยบายที่จะปรับเปลี่ยนรถยนต์มาใช้ก๊าซธรรมชาติมาก
ขึ้น ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งสาหรับผู้บริโภคซึ่งเชื่อว่าในอนาคตเราก็จะมีรถใช้ก๊าซธรรมชาติใน
ประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น
• ก๊าซชีวภาพ ( Bio-gas)
คือ ก๊าซที่เกิดจากมูลสัตว์หรือสารอินทรีย์ต่าง ๆ ถูกย่อยสลายโดยเชื้อจุลินทรีย์ในสภาพ
ไม่มีอากาศ ทาให้เกิดก๊าซขึ้น ซึ่งก๊าซที่เกิดขึ้นเป็นก๊าซที่ผสมกันระหว่างก๊าซชนิดต่าง ๆ ได้แก่
ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซไนโตรเจน (N2) และก๊าซ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แต่ส่วนใหญ่แล้วจะประกอบด้วยก๊าซมีเทนเป็นหลัก ซึ่งมีคุณสมบัติ
ติดไฟได้
• จากผลการเจาะสุ่ม ถ้าพบร่องรอยปิโตรเลียมที่หลุมใดก็จะเจาะหลุมเพิ่มเติมใน
บริเวณนั้นอีกจานวนหนึ่ง เพื่อหา ขอบเขตความกว้างยาวของแหล่ง และปริมาณ
ปิโตรเลียมที่น่าจะกักเก็บอยู่ในแหล่งนั้น ก่อนที่จะเจาะหลุมทดลองผลิตต่อไป
• การเจาะหลุมทดลองผลิตก็เพื่อคานวณหาปริมาณน้ามันที่คาดว่าจะผลิตได้ในแต่ละ
วัน และปริมาณน้ามันสารองว่าจะมีมากพอในเชิงพาณิชย์หรือไม่ กล่าวคือ จะ
ได้ผลคุ้มกับ การลงทุนผลิตหรือไม่
•
• ตามปกติปิโตรเลียมหรือน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติที่สะสมตัวลึกลงไปใต้ผิวโลก
จะมีค่าความดันสูงกว่าบรรยากาศอยู่แล้ว การนาน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติจาก
พื้นดินขึ้นมา จึงอาศัยแรงดันธรรมชาติดังกล่าว โดยให้มีการควบคุมการไหลที่
เหมาะสม
• จากปากหลุมปิโตรเลียมจะไหลผ่านท่อไปยังเครื่องแยกและตอนนี้เองน้าและเม็ด
หินดินทรายที่เจือปนจะถูกแยกออกไปก่อนจากนั้นปิโตรเลียมจะถูกส่งผ่านท่อรวม
ไปยัง สถานี ใหญ่เพื่อแยกน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติออกจากกันในการแยกขั้น
สุดท้ายจะมีก๊าซ เจือปนส่วนน้อยที่ต้องเผาทิ้งเพราะคุณสมบัติของมันไม่ตรงกับ
ก๊าซส่วนใหญ่ที่จะทาการ ซื้อขาย
back
• ประเทศไทยมีการสารวจค้นพบ แหล่งปิโตรเลียมของประเทศ แล้ว 79 แหล่ง และทาการผลิตอยู่
41 แหล่ง โดยแบ่งเป็น
แหล่งปิโตรเลียมบนบก 21 แหล่ง ผลิตอยู่ 20 แหล่ง
แหล่งปิโตรเลียมในทะเล 58 แหล่ง ผลิตอยู่ 21 แหล่ง
• ที่มา : http://www.dmf.go.th
ในปี 2544 ประเทศไทยผลิตปิโตรเลียม รวมทั้งประเทศคิดเทียบเท่า
น้ามันดิบ 160,859,880 บาร์เรล หรือ เฉลี่ยวันละ 440,712 บาร์เรล
แบ่งเป็นแก๊สธรรมชาติ 694,230 ล้านลูกบาศก์ฟุต เฉลี่ยวันละ 1,900 ล้าน
ลูกบาศก์ฟุต แอลพีจีจากโรงแยกแก๊สพลังเพชร
น้ามันดิบ 22,364,402 บาร์เรล เฉลี่ยวันละ 61,273 บาร์เรลซึ่งสามารถ
แยกตามแหล่งผลิตได้ดังนี้
• แก๊สธรรมชาติ
แหล่งแก๊สบริษัทยูโนแคล
ประกอบด้วย แหล่งแก๊สเอราวัณ บรรพต สตูล ปลาทอง ปลาแดง กะพง ฟูนาน
จักรวาล สุราษฎร์ ปลาหมึก โกมินทร์ และไพลิน ในอ่าวไทย
แหล่งแก๊สน้ำพอง
อยู่ในเขตอาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น
แหล่งบงกช
เป็น แหล่งแก๊สในอ่าวไทย
• น้ามันดิบ
แหล่งฝำง
อยู่ในเขตอาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มแหล่งน้ามันสิริกิติ์
ประกอบด้วย แหล่งสิริกิติ์ทับแรดหนองมะขาม
หนองมะขาม - อีประดู่เฒ่า หนองตูม วัดแตน และ ปรือกระเทียม บริเวณอาเภอ
ลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร
อาเภอบางระกา จังหวัดพิษณุโลก และอาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
• แหล่งน้ำมันกำแพงแสนและอู่ทอง
ประกอบด้วย แหล่งกาแพงแสน อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม และ แหล่ง
อู่ทอง อาเภอเมือง และอาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
• แหล่งน้ำมันบึงม่วงและบึงหญ้ำ
ประกอบด้วย แหล่งบึงม่วง อาเภอลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร และ แหล่ง
บึงหญ้า อาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
• แหล่งนำงนวล
เป็นแหล่งน้ามันดิบในอ่าวไทย อยู่นอกชายฝั่ง จังหวัดชุมพร
• แหล่งน้ำมันวิเชียรบุรีและศรีเทพ
อยู่ในเขตอาเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
• แหล่งทำนตะวันและเบญจมำศ
เป็นแหล่งน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย
back
วิดีโอ
https://www.youtube.com/watch?v
=KlMr7eTyjNw&index=12&list=WL
หน้ำแรก
ผู้จัดทำ
1. น.ส ณัฐชา คาบุญเกิด ชั้น ม.6/5 เลขที่ 34 2. น.ส จตุรพร พรมมินทร์ ชั้น ม.6/5 เลขที่ 37
เสนอ
คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์

More Related Content

What's hot

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
oraneehussem
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
orasa1971
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
Varin D' Reno
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
Nuttakit Wunprasert
 
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
PamPaul
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมpatcharapun boonyuen
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
พัน พัน
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงานKobwit Piriyawat
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติKobwit Piriyawat
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
Flook Owen'zl
 
การผลิตเกลือ
การผลิตเกลือการผลิตเกลือ
การผลิตเกลือ
Thaweekoon Intharachai
 

What's hot (17)

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
07.น้ำมัน
07.น้ำมัน07.น้ำมัน
07.น้ำมัน
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
 
08.ชีวมวล
08.ชีวมวล08.ชีวมวล
08.ชีวมวล
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
ปิโตรเคมี
ปิโตรเคมีปิโตรเคมี
ปิโตรเคมี
 
05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
 
การผลิตเกลือ
การผลิตเกลือการผลิตเกลือ
การผลิตเกลือ
 

Viewers also liked

Microsoft power point ปิโตรเลียม
Microsoft power point   ปิโตรเลียมMicrosoft power point   ปิโตรเลียม
Microsoft power point ปิโตรเลียม
Thanyamon Chat.
 
ยลดา 4-10 เลขที่ 10
ยลดา 4-10 เลขที่ 10ยลดา 4-10 เลขที่ 10
ยลดา 4-10 เลขที่ 10Yuan Yuan'
 
01 p&id - 1
01 p&id - 101 p&id - 1
01 p&id - 1
MaloNe Wanger
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
Sircom Smarnbua
 
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมโครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมfirstnarak
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
 

Viewers also liked (7)

Microsoft power point ปิโตรเลียม
Microsoft power point   ปิโตรเลียมMicrosoft power point   ปิโตรเลียม
Microsoft power point ปิโตรเลียม
 
ยลดา 4-10 เลขที่ 10
ยลดา 4-10 เลขที่ 10ยลดา 4-10 เลขที่ 10
ยลดา 4-10 เลขที่ 10
 
01 p&id - 1
01 p&id - 101 p&id - 1
01 p&id - 1
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมโครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 

More from Meen Jaturaporn

2557 project
2557 project2557 project
2557 project
Meen Jaturaporn
 
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์Meen Jaturaporn
 
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์Meen Jaturaporn
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
Meen Jaturaporn
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาMeen Jaturaporn
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทยข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทยMeen Jaturaporn
 
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาMeen Jaturaporn
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Meen Jaturaporn
 

More from Meen Jaturaporn (8)

2557 project
2557 project2557 project
2557 project
 
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทยข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
 
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

กำเนิดปิโตรเลียม

  • 1. จัดทำโดย 1. น.ส ณัฐชำ คำบุญเกิด ชั้น ม.6/5 เลขที่ 34 2. น.ส จตุรพร พรมมินทร์ ชั้น ม.6/5 เลขที่ 37 start
  • 3. วัตถุประสงค์ ศึกษำเกี่ยวกับแหล่งพลังงำนที่สำคัญของมนุษย์ เพื่อให้มนุษย์ทุกคนตระหนักถึง ปัญหำของทรัพยำกรธรรมชำติและแหล่งพลังงำนที่กำลังจะหมดไป เพื่อศึกษำขั้นตอน วิธีกำร กำรผลิตพลังงำนต่ำงๆ ที่ได้จำกปิโตรเลียม เพื่อศึกษำว่ำพลังงำนต่ำงๆที่ได้จำก ปิโตรเลียม สำมำรถนำไปใช้เป็นพลังงำนในแบบใดบ้ำง
  • 4. ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน เนื่องจำกปัจจุบันในมนุษย์ได้มีกำรพัฒนำในด้ำนเทคโนโลยีที่ก้ำวหน้ำไม่ว่ำจะเป็น ด้ำน กำรแพทย์ ด้ำนกำรคมนำคม และด้ำนอื่นๆ ทำให้มนุษย์ต้องเสำะหำทรัพยำกรธรรมชำติเพื่อนำมำใช้ เป็นวัตถุดิบในกำรผลิตและพัฒนำเทคโนโลยี ซึ่งทรัพยำกรธรรมชำติก็มีส่วนที่เป็นเแหล่งพลังงำนที่ สำคัญ คือปิโตรเลียม ที่สำมำรถนำไปแหล่งพลังงำนของเทคโนโลยีต่ำงๆ เพรำะฉะนั้นมนุษย์จึง จำเป็นต้องมีแหล่งพลังงำนเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน จึงต้องศึกษำกำรกำเนิดปิโตรเลี่ยม และ กระบวนกำรวิธีผลิตพลังงำนจำกปิโตรเลียม และกำรนำปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์ต่ำงๆ
  • 5. • ปิโตรเลียม คือ สารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นของผสมของโฮโดร คาร์บอนชนิดต่างๆ ที่ยุ่งยากและซับซ้อน ทั้งที่อยู่ในสภาพของแข็ง ของเหลว และก๊าซ หรือทั้งสามสภาพปะปนกัน แต่เมื่อต้องการจะ แยกประเภทออกเป็นปิโตรเลียมชนิดต่างๆ จะใช้คาว่า น้ามันดิบ (Crude oil) ก๊าซธรรมชาติ (Natural gas) และก๊าซธรรมชาติเหลว (Condensate) โดยปกติน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติมักจะเกิดร่วมกัน ในแหล่งปิโตรเลียม แต่บางแหล่งอาจมีเฉพาะน้ามันดิบ บางแหล่ง อาจมีเฉพาะก๊าซธรรมชาติก็ได้ส่วนก๊าซธรรมชาติเหลวนั้นหมายถึง ก๊าซธรรมชาติในแหล่งที่อยู่ลึกลงไปใต้ดินภายใต้สภาพอุณหภูมิและ ความกดดันที่สูง เมื่อถูกนาขึ้นมาถึงระดับผิวดินในขั้นตอนของการ ผลิต อุณหภูมิและความกดดันจะลดลง ทาให้ก๊าซธรรมชาติกลาย สภาพไปเป็นของเหลว เรียกว่า ก๊าซธรรมชาติเหลว
  • 6. • เมื่อหลายล้านปี ทะเละเต็มไปด้วยสัตว์ และพืชเล็ก ๆ จาพวกจุลินทรีย์ เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงจานวนมหาศาล ก็จะตกลงสู่ก้นทะเล และถูกทับถม ด้วยโคลน และทราย
  • 7. • แม่น้า จะพัดพากรวดทราย และโคลนสู่ทะเล ปีละหลายแสนตัน ซึ่ง กรวด ทราย และโคลน จะทับถมสัตว์ และพืชสลับทับซ้อนกัน เป็นชั้น ๆ อยู่ตลอดเวลา นับเป็นล้านปี
  • 8. • การทับถมของชั้นตะกอนต่าง ๆ มากขึ้น จะหนานับ ร้อยฟุต ทาให้เพิ่มน้าหนักความกดและบีบอัด จน ทาให้ทราย และชั้นโคลน กลายเป็นหินทราย และ หินดินดาน ตลอดจนเกิดกลั่นสลายตัว ของซาก สัตว์ และพืชทะเล โดยมีจุลินทรีย์บางชนิดช่วยย่อย สลายในสภาวะที่ไม่มี ออกซิเจน (Anaerobic process) ภายใต้อิทธิพลของอุณหภูมิ และ ความดันสูง ในชั้นหินภายใต้พื้นโลก กลายเป็น น้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
  • 9. • น้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ มีความเบา จะเคลื่อนย้าย ไปกักเก็บอยู่ใน ชั้นหินเนื้อพรุน เฉพาะบริเวณที่สูงของโครงสร้างแต่ละแห่ง และจะถูก กักไว้ด้วยชั้นหินเนื้อแน่น ที่ปิดทับอยู่
  • 10.
  • 11. • 1. ทำงธรณีวิทยำ - จากแผนที่ ภาพถ ายทางอากาศ ภายถ ายดาวเทียม รายงานทางธรณีวิทยา • 2. ทำงธรณีฟ สิกส - การหาความเข มของสนามแม เหล็ก แรงโน มถ วงของโลก การเคลื่อนไหวสั่นสะเทือนของโลก และ การเจาะ สารวจ
  • 12. • การสารวจวัดคลื่นไหวสะเทือน เป็นการสารวจเพื่อตรวจสอบลักษณะและโครงสร้าง ทางธรณีวิทยาใต้ผิวดิน โดยการทาให้เกิดสัญญาณคลื่น แล้ววัดระยะเวลาที่คลื่น เดินทางจากจุดกาเนิด ถึงตัวรับคลื่น (Geophoneหรือ Hydrophone) ความเร็วคลื่นจะ แปรผันตรงกับความหนาแน่นของชั้นหิน และชนิดของหินนั้นชั้นหินที่มีความ หนาแน่นต่า มีความพรุน และมีของเหลวแทรกอยู่คลื่นเสียงจะเดินทางผ่านได้ช้ากว่า ( ใช้เวลามากกว่า) การเดินทางในชั้นหินที่มีเนื้อแน่นนอกจากนี้รอยเลื่อน และการโค้ง งอของชั้นหิน ทาให้เกิดการหักเหของคลื่น แสดงให้เห็นลักษณะโครงสร้างธรณีวิทยา ของชั้นหินอีกด้วย • การสารวจวัดคลื่นไหวสะเทือน เป็นวิธีที่ใช้ในการสารวจหาปิโตรเลียม มีความถูก ต้องสูง ให้รายละเอียดของลักษณะทางธรณีวิทยาได้ดี สารวจได้ลึกจากผิวดินหลาย กิโลเมตร และเสียค่าใช้จ่ายสูง
  • 13. • แหล่งกาเนิดคลื่น ที่ใช้ในการสารวจที่อยู่บนผิวดินมี 2 ชนิด คือ ใช้ดินระเบิด และ รถสั่นสะเทือน (Vibroseis) ซึ่งแต่ละชนิด มีความเหมาะสมกับการใช้งานต่าง ๆ กัน การใช้ Vibroseis เหมาะสม กับการสา • รวจตามริมถนน ซึ่งสามารถจากัด Noise ซึ่งเกิดจากการวิ่งของยานพาหนะต่าง ๆ ได้
  • 14. • 1. เรือสารวจพร้อมอุปกรณ์การสารวจ และระบบสื่อสารที่ทันสมัย เรือ สารวจมีความยาวประมาณ 50- 80 เมตร กว้าง 15- 20 เมตร TonnageGross ประมาณ 3,000-6,000ตัน 2. อุปกรณ์ต้นกาเนิดสัญญาณคลื่น (Air Gun) เป็นรูปทรงกระบอก ใช้อัด อากาศ ให้มีความดัน ประมาณ 2,000ปอนด์ต่อตารางนิ้ว แล้วปล่อยอากาศ ออกมา ทาให้เกิดสัญญาณคลื่น 3. อุปกรณ์รับสัญญาณคลื่น (Hydrophone) อยู่ลึกจากผิวน้า 5- 8 เมตร ต่อ พ่วงกัน ยาวประมาณ 3,000 เมตร มีจานวน 1 สาย หรือมากกว่า ดังนั้นจึง จาเป็นต้องเคลื่อนย้าย สิ่งกีดขว้างต่างๆ ออกจากแนวสารวจ •
  • 15.
  • 16. • การเจาะสารวจ เป็นขั้นตอนที่จะบอกให้ทราบถึงความยากง่ายของการขุดเจาะปิโตรเลียมมาใช้ และสิ่งที่กักอยู่ในแหล่งนั้น ว่าจะเป็นก๊าซธรรมชาติหรือน้ามันดิบ และยังเป็นสิ่งที่บอกถึง ปริมาณสารองที่มีอยู่ ซึ่งจะเป็นตัวบอกและตัดสินความเป็นไปได้ในการผลิตในเชิงเศรษฐกิจ 1. แท่นเจาะ (Drilling Rig) • ความยากง่ายของกระบวนการเจาะจะเป็นตัวกาหนดระดับของความซับซ้อนในองค์ประกอบ ของแท่นเจาะเอง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแท่นเจาะจะมีอยู่มากมายหลากหลายประเภท แต่ ส่วนประกอบพื้นฐานของแท่นเจาะทั้งหลายนั้นก็คล้ายคลึงกัน แท่นเจาะโดยทั่วไปจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ
  • 19. • 2. เครื่องขุดเจาะ (Drill String) • เพื่อการสารวจปิโตรเลียมทั้งบนบกและในทะเลนั้นคล้ายคลึงกัน คือมีลักษณะ ที่เป็นสว่านหมุน โดยมีส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่ • หัวเจาะ ทาด้วยโลหะแข็ง มีฟันคม ซึ่งเมื่อถูกหมุนด้วยแรงหมุน และแรงกดที่มากมหาศาลฟันคม ของมันจะตัดหินและดินที่ขวางหน้าให้ขาดสะบั้นเป็น เศษเล็กเศษน้อย ทาให้ก้านเจาะสามารถ ทะลวงลงใต้ดินให้ลึกยิ่ง ๆ ขึ้น • ก้านเจาะ เป็นท่อนตรงกลางซึ่งยาวท่อนละประมาณ 10 เมตร และเพื่อจะเจาะให้ได้ลึกตาม ต้องการจึงจะต้องนาก้านเจาะแต่ละท่อนมาขันเกลียวต่อกัน ให้ยาวขึ้น back
  • 21. • กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ เริ่มต้นด้วยการกาจัดก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2) และน้าที่เจือปน อยู่ในก๊าซธรรมชาติออกก่อน โดย กระบวนการ Benfield ซึ่งใช้โปตัสเซียมคาร์บอเนต (K 2CO 3) เป็นตัวจับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และกระบวนการดูดซับ โดยใช้สารจาพวก molecular sieve ซึ่งมีลักษณะเป็นรูพรุน ทาหน้าที่ดูดซับน้า ก๊าซธรรมชาติ ที่แห้งจากหน่วยนี้จะผ่านเข้าไปใน turbo-expander เพื่อลดอุณหภูมิจาก 250O K เป็น 170O K และลดความดันลงจาก 43 บาร์ เป็น 16 บาร์ก่อนแล้วจึง เข้าสู่หอแยกมีเทน (de-methanizer)
  • 22. • มีเทนจะถูกกลั่นแยกออกไป และส่วนที่เหลือคือส่วนผสมของ ก๊าซ ไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนตั้งแต่ 2 อะตอมขึ้นไป (ethane plus stream) ซึ่งอยู่ในสถานะของเหลวและจะออกทางส่วนล่างของหอ ผลิตภัณฑ์ที่เป็น ของเหลวหอดังกล่าวจะถูกนาเข้าสู่หอแยกอีเทน (de-ethanizer) และหอแยก โพรเพน (de-propanizer) เพื่อแยกอีเทนและโพรเพนออกตามลาดับต่อไป ในหอแยกโพรเพนนี้ โพรเพนจะถูกแยกออกทางด้านบนของหอ ส่วนแอพีจี ซึ่ง เป็นส่วนผสมของโพรเพนและบิวเทนจะถูกแยกออกมาจากส่วนกลางของหอ และ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่ออกจากหอทางด้านล่างคือ ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (natural gasoline)
  • 24. กระบวนกำรกลั่นน้ำมันดิบ • น้ามันดิบเป็นของผสมที่มีสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดปนกัน เนื่องจากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่างๆ มีประโยชน์ในการใช้งานต่างกัน ดังนั้นจึงจาเป็นต้องแยกสารผสมออกจากกัน โดยอาศัยสมบัติที่ต่างกัน คือ มวล โมเลกุล ความหนาแน่น และจุดเดือด แต่จุดเดือดของสารแต่ละชนิดแตกต่างน้อย จึงต้องแยกสารออกด้วยวิธี กำรกลั่นลำดับส่วน (Fractional distillation) ดังภาพ
  • 25.
  • 26. • จากภาพกระบวนการแยกปิโตรเลียมเริ่มจาก การใส่น้ามันดิบเข้าไปใน เตาเพื่อให้ความร้อน น้ามันดิบจะระเหยขึ้นไปในหอกลั่นในสถานะก๊าซ หอก ลั่นลาดับส่วนจะร้อนที่ส่วนล่างและเย็นสงที่ส่วนบน หมายความว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอนขนาดใหญ่ที่มีจุดเดือดสูงจะกลั่นตัวเป็น ของเหลวที่ด้านล่างของหอกลั่นที่อุณหภูมิสูงๆ ส่วนสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลเล็กจะอยู่ในสถานะก๊าซและลอยตัวสูงขึ้นสู่ชั้นบน หอกลั่น ซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วนจะควบแน่นที่ความสูงต่างกัน โดยส่วน ยอดของหอกลั่นจะมีไฮโดรคาร์บอนที่มีจุดเดือดต่า ที่อุณหภูมิ 70 º C ไฮโดรคาร์บอนส่วนนี้จะไม่ควบแน่น และออกจากยอดของหอกลั่นใน สถานะก๊าซ แต่อย่างไรก็ตามสารที่กลั่นได้ก็ไม่บริสุทธิ์ เพราะมีสารหลาย ชนิดมีการควบแน่นที่อุณหภูมิใกล้เคียงกัน โดยทั่วไปน้ามันดิบที่ผ่าน กระบวนการกลั่นลาดับส่วนจะได้สารดังแสดงในตารางต่อไปนี้
  • 27. back
  • 28. กระบวนกำรปรับปรุงคุณภำพน้ำมัน • 1. กระบวนกำรแตกสลำย (Cracking process) เป็นการเปลี่ยนสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่ซึ่งไม่ค่อยมีประโยชน์ ให้กลายเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน โมเลกุลเล็กที่มีประโยชน์มากกว่า โดยใช้ความร้อนสูงและตัวเร่งปฏิกิริยา
  • 29. • 2. กระบวนกำรรีฟอร์มมิง (Reforming process) เป็นการเปลี่ยนสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนแบบโซ่ตรงให้เป็นโซ่กิ่งเช่นไอโซออกเทน ซึ่งมีประสิทธิภาพในการเป็น เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนได้ดี โดยใช้ความร้อนสูงและตัวเร่งปฏิกิริยา เช่น
  • 30. • 3. กำรทำแอลคิเลชัน (Alkylation) เป็นการรวมสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดแอลเคน ( แอลเคน คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตร C nH 2n+2) กับสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนชนิดแอลคีน ( แอลคีนคือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตร C nH 2n หรือมีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล) ให้ได้เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโครงสร้างแบบโซ่กิ่ง ซึ่ง มีประสิทธิภาพในการเป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนได้ดี โดยมีกรดซัลฟิวริก (H 2SO 4) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
  • 31. • 4. กำรทำโอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization) เป็นการรวมสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนชนิดแอลคีน เข้าด้วยกันโดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนชนิดแอลคีน ที่มีจานวนคาร์บอนเพิ่ม • ขึ้น เช่น back
  • 32. • ก๊าซธรรมชาติ • องค์ประกอบของก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่จะเป็นก๊าซมีเทนและมี ไฮโดรคาร์บอนเบาตัวอื่นๆ ติด มาด้วย ก่อนยาไปใช้งานต้องมีการแยกมลทิน ( Impurity ) บางชนิดออกก่อน (ดูเรื่องการ แยก ก๊าซธรรมชาติ) ในประเทศไทยได้นาเอาก๊าซธรรมชาติไปเป็นเชื้อเพลิงเครื่องยนต์แทน น้ามัน โดยการอัดก๊าซใส่ถังภายใต้ความดันสูง เพื่อนาติดไปกับรถ ซึ่งเราเรียกว่า Compressed Natural Gas; CNG
  • 33. • ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซปิโตรเลียมเหลว Liquefied Petroleuml Gas; LPG หรือก๊าซหุงต้ม เป็น ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากส่วนบนสุดของหอกลั่นน้ามันดิบ หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกก๊าซ ธรรมชาติ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวเป็นส่วนผสมของโพรเพน ( C 3H 8) และบิวเทน ( C 4H 10) หรืออาจอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ในประเทศเขตร้อนจะใช้โพเพนผสมบิวเทนในอัตราส่วน โดยปริมาตร 40 : 60 ถึง 70 : 30 ปกติก๊าซปิโตรเลียมเหลวจะไม่มีสี และกลิ่น แต่เพื่อเป็นการ เตือนภัยให้ผู้ใช้ทราบถึงการรั่วไหลจึงเติมสารให้กลิ่น เช่น เอทิลเมอร์แคปแทน (ethylmercaptan )
  • 35. • น้ำมันเบนซิน • น้ามันเบนซิน ( Gasoline) เป็นน้ามันที่ได้จากการปรุงแต่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก การกลั่นโดยตรง และจากการแยกก๊าซธรรมชาติเหลว น้ามันเบนซินใช้กันมากสาหรับเครื่องยนต์ สันดาปภายในแบบใช้หัวเทียนจุดระเบิด มีการกาหนดปริมาณของสารประกอบตะกั่วต้องไม่เกิน 0.013 กรัมต่อลิตร • ในการกาหนดคุณภาพน้ามันเบนซินจะพิจารณาจาก เลขออกเทน (Octane number) เป็น ประเด็นแรก ซึ่งเลขออกเทน คือ ตัวเลขแสดงคุณสมบัติการ Knock ของน้ามันเบนซินใน สภาพการทางานปกติของเครื่องยนต์โดยสมาคมทดสอบและวัสดุแห่งอเมริกา (ASTM) กาหนดให้ • น้ามันเบนซิน ที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโซออกเทนหมด เรียกน้ามันเบนซินนั้นว่ามี เลขออกเทนเป็น 100 • น้ามันเบนซิน ที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับเฮปเทนหมด เรียกน้ามันเบนซินนั้นว่ามีเลขออก เทนเป็น 0
  • 36. ดังนั้น ถ้าน้ามันเบนซินมีเลขออกเทนเท่ากับ 95 จะมีสมบัติเทียบได้กับน้ามันที่มีส่วนผสม ระหว่างไอโซออกเทน ร้อยละ 95 กับนอร์มองเฮปเทน ร้อยละ 5 โดยปริมาตร นั่นเอง อนึ่งน้ามันเบนซินในปัจจุบันมักจะพบว่ามีเลขออกเทนต่า เพื่อปรับปรุงน้ามันให้มีเลขออกเทนสูงขึ้นด้วย การเติม เตตระเอธิลเลด (CH 3CH 2) 4Pb ย่อว่า TEL ลงในน้ามันเบนซิน ทาให้น้ามันมีเลขออกเท นสูงขึ้น แต่ก็ก่อให้เกิดสารตะกั่ว (Pb) เป็นสารมลพิษ จึงได้พัฒนาส่วนผสมใหม่ที่ช่วยเพิ่มเลขออกเทนของน้ามันเบนซิน คือ เมทิลเทอร์เทียรี บิวทิล อีเทอร์ (MTBE)
  • 37. • น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบิน • น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบิน ( Aviation Fuels) มี 2 ประเภท ตามลักษณะดังนี้ • น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินใบพัด ( Aviation Gasoline) คล้ายกับเครื่องยนต์เบนซินที่ใช้กับ รถยนต์ แต่มีแรงม้าสูง และออกแบบให้ทางานได้ในภาวะที่ความดัน และอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ในช่วงกว้าง ดังนั้นน้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินต้องมีสมบัติที่พิเศษกว่าน้ามันเบนซินหลายอย่าง เช่น มีเลขออกเทนสูงเป็นพิเศษ จุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ากว่า เป็นต้น • น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น ( Aviation Turbine Fuels หรือ Jet Fuels) ในสมัย แรกได้ใช้น้ามันก๊าดที่มีจาหน่ายทั่วไปเป็นเชื้อเพลิง เนื่องจากน้ามันก๊าดมีการระเหยตัวต่า อันเป็น สมบัติที่สาคัญของเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่นแต่ในปัจจุบันเครื่องบินไอพ่นของสายการบิน พาณิชย์หันมาใช้เชื้อเพลิงที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกับน้ามันก๊าด แต่มีความบริสุทธิ์กว่า และสมบัติ บางอย่างดีกว่าน้ามันก๊าด
  • 38. • น้ามันดีเซล • น้ามันดีเซล ( Desel Fuel) ได้จากการกลั่นน้ามันดิบ แต่มีช่วงจุดเดือดและความข้นใสสูง กว่าน้ามันเบนซิน เนื่องจากการจุดระเบิดของเครื่องยนดีเซลใช้ความร้อนที่เกิดจากการอัดอากาศ อย่างมากภายในกระบอกสูบแล้วฉีดเชื้อเพลิงเข้าไปทาการเผาไหม้ ซึ่งประเภทของน้ามันเบนซิน แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ • ดีเซลหมุนเร็ว ( Automotive Desel Oil) ซึ่งรัฐบาลกาหนดให้มีเลขซีเทนไม่ต่ากว่า 47 สามารถนาไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลหมุนเร็ว • ดีเซลหมุนช้า ( Indudtrial Desel Oil) ซึ่งรัฐบาลกาหนดให้มีเลขซีเทนไม่ต่ากว่า 45 สามารถนาไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลหมุนปานกลางและหมุนช้า • การกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซลจะบอกด้วย เลขซีเทน (Cetane Number) ซึ่ง หมายถึง ค่าตัวเลขที่แสดงเป็นร้อยละโดยมวลของซีเทน ในของผสมระหว่างซีเทน ( C 16H 34 ) และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (C 11H 10 ) ซึ่งเกิดการเผาไหม้หมด
  • 39. • น้ามันก๊าด น้ามันก๊าด (Kerosine) ได้จากการกลั่นน้ามันดิบ สมัยก่อนนิยมนาน้ามันก๊าดไปใช้ สาหรับจุดตะเกียงเพื่อให้ความร้อนและแสงสว่างตามครัวเรือน แต่ปัจจุบันมีการนาน้ามันก๊าดไป ใช้ประโยชน์อื่นอีกมากมาย เช่น ใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องยนต์หรือเครื่องบิน นาไปเป็นส่วนผสม ของยาฆ่าแมลง น้ามันชักเงา สีน้ามัน และอุตสาหกรรมอื่นๆ เป็นต้น
  • 40. น้ามันเตา น้ามันเตา (Fuel Oils) ได้จากส่วนล่างของหอกลั่นน้ามันดิบ น้ามันเตาจัดเป็นเชื้อเพลิง ที่มีความสาคัญกับอุตสาหกรรมมาก เพราะมีราคาถูก ใช้ง่าย ให้ค่าความร้อนสูง ซึ่งส่วนใหญ่ นาไปใช้กับเตาเผา หม้อไอน้า เครื่องยนต์ผลิตไฟฟ้า หรือเรือเดินทะเล
  • 41. ยางมะตอย ยางมะตอย ( Asphalt) เป็นสารผสมที่ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนหลายชนิด และ สารอินทรีย์อื่นๆ ซึ่งเรียกรวมๆ กันว่า บิทูเมน มีลักษณะเป็นของเหลวหนืดกึ่งแข็ง สีดาหรือ น้าตาลเข้ม เป็นผลพลอยได้จากการกลั่นน้ามันดิบ ซึ่งอยู่ด้านล่างสุดของหอกลั่น นาไปใช้ ประโยชน์ในการทาผิวถนน และทาวัสดุกันซึมต่างๆ back
  • 42. • ก๊าซโซฮอล์ ( Gasohol ) • คือ น้ามันเบนซินที่ถอดเอาสารเพิ่มออกเทน MTBE ออกไป เพราะมีการค้นพบว่าสารตกค้างที่ ได้รับจาก MTBE มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเมื่อเข้าไปปนเปื้อนในน้า ที่มาของชื่อ ก๊าซโซฮอล์นั้น มาจากการผสมคาของ ก๊าซโซลีน ที่หมายถึง เบนซิน บวกกับคาว่า แอลกอฮอล์ จึงกลายมาเป็น ก๊าซโซฮอล์ • ก๊าซโซฮอลล์ใช้น้ามันเบนซินผสมกับเอทานอล ( เอทานอลผลิตจากพืชเกษตร เช่น มัน สาปะหลัง อ้อย ข้าวโพด) โดยต้องนาเอทานอลไปทาให้มีความบริสุทธิ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.5 เสียก่อน ในระดับความบริสุทธิ์ระดับนั้น แอลกอฮอล์จะถูกเรียกว่า เอธานอล โดยที่ก๊าซโซฮอลล์ ในประเทศไทยจะมีส่วนผสมตามที่ประกาศกันอย่างเป็นทางการอยู่ที่ น้ามันเบนซินร้อยละ 90 และเอธานอลร้อยละ 10 นั่นเอง • ก๊าซโซฮอล์ 95 มีส่วนผสมของน้ามันเบนซินกับเอทานอล ซึ่งเป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ดังนั้น นอกจากจะคุณสมบัติการใช้งานเทียบเท่าน้ามันเบนซิน 95 ทั่วไป
  • 43. • ข้อดีของกำรใช้น้ำมันก๊ำซโซฮอล์ • 1. ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศ ในการนาเข้าสาร MTBE ถึงปีละ 3,000 ล้านบาท 2. ลดการนาเข้าน้ามันจากต่างประเทศ ทาให้เกิดการพึ่งพาตัวเองด้านพลังงาน 3. ใช้ประโยชน์จากพืชผลทางการเกษตรในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4. สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตทางการเกษตร เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยให้ดีขึ้น 5. ช่วยลดปริมาณมลพิษจากท่อไอเสีย โดยสามารถลดปริมาณไฮโดรคาร์บอนและคาร์บอนมอน นอกไซด์ 20 – 25% ส่งผลให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น 6. เป็นพลังงานหมุนเวียน จึงถือเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรโลก ซึ่งเป็นแนวทางในการพัฒนา ประเทศให้ยั่งยืน
  • 44. • ไบโอดีเซล คือน้ามันเชื้อเพลิงที่ผลิตมาจากน้ามันพืชหรือไขมันสัตว์ โดยผ่านขบวนการที่ทาให้โมเลกุล เล็กลง ให้อยู่ในรูปของเอทิลเอสเตอร์(Ethyl esters) หรือเมทิลเอสเตอร์(Methyl esters) ซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน้ามันดีเซลมาก สามารถใช้ทดแทนน้ามันดีเซลได้โดยตรง ดังปฏิกิริยา
  • 45. • ไบโอดีเซลชนิดเอสเทอร์นี้มี คุณสมบัติที่เหมือนกับน้ามันดีเซลมากที่สุด ทาให้ไม่มีปัญหากับ เครื่องยนต์เราสามารถนามาใช้กับรถยนต์ได้ แต่ปัญหาที่จะมีก็คือต้นทุนการผลิตที่แพงนั่นเอง ข้อดีในด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตก็คือ ช่วยลดมลพิษในอากาศ ทาให้ลดการสูญเสียจาก การรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับมลพิษจากอากาศ เป็นต้น • “ ไบโอดีเซล ” จึงเชื้อเพลิงชีวภาพแห่งยุคสมัย และ น่าจะเป็นเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งแห่งความหวัง ของไทยเราได้ในอนาคต
  • 46.
  • 47. • ก๊าซธรรมชาติ หรือของก๊าซ NGV • ก๊าซธรรมชาติเป็นก๊าซเชื้อเพลิงที่มีก๊าซมีเทนเป็นส่วนประกอบหลักสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงใน รถยนต์ได้เช่นเดียวกับน้ามันเบนซินและดีเซล ก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (Natural Gas for Vehicle หรือ NGV) โดยทั่วไปเรียกว่า ก๊าซ NGV คือ ก๊าซธรรมชาติที่ถูกอัดจนมีความดันสูง ( มากกว่า 3,000 ปอนด์/ ตารางนิ้ว; psi) ซึ่งในบางประเทศเรียกว่า Compressed Natural Gas (CNG) หรือก๊าซธรรม-ชาติอัด ดังนั้นก๊าซ NGV และก๊าซ CNG เป็นก๊าซตัวเดียวกันนั่นเอง
  • 48. • คุณสมบัติพิเศษของก๊ำซ NGV • 1. มีสัดส่วนของคาร์บอนน้อยกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น และมีคุณสมบัติเป็นก๊าซ ทาให้การเผาไหม้ สมบูรณ์มากกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น และปริมาณไอเสีย ที่ปล่อยออกจากเครื่องยนต์ใช้ก๊าซ ธรรมชาติ มีปริมาณต่ากว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น 2. เป็นเชื้อเพลิงที่สะอาดไม่ก่อให้เกิดควันดาหรือสารพิษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน จึงสามารถลดปัญหามลพิษทางอากาศซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น • เนื่องด้วยก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงที่สะอาดและมีราคาถูกกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น สามารถ ผลิตได้ในประเทศ และมีคุณสมบัติที่ทาให้ปริมาณของไอเสียจากรถยนต์ต่ากว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น ซึ่งปัจจุบันนี้มีหลายประเทศสนใจและมีนโยบายที่จะปรับเปลี่ยนรถยนต์มาใช้ก๊าซธรรมชาติมาก ขึ้น ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งสาหรับผู้บริโภคซึ่งเชื่อว่าในอนาคตเราก็จะมีรถใช้ก๊าซธรรมชาติใน ประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น
  • 49. • ก๊าซชีวภาพ ( Bio-gas) คือ ก๊าซที่เกิดจากมูลสัตว์หรือสารอินทรีย์ต่าง ๆ ถูกย่อยสลายโดยเชื้อจุลินทรีย์ในสภาพ ไม่มีอากาศ ทาให้เกิดก๊าซขึ้น ซึ่งก๊าซที่เกิดขึ้นเป็นก๊าซที่ผสมกันระหว่างก๊าซชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซไนโตรเจน (N2) และก๊าซ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แต่ส่วนใหญ่แล้วจะประกอบด้วยก๊าซมีเทนเป็นหลัก ซึ่งมีคุณสมบัติ ติดไฟได้
  • 50. • จากผลการเจาะสุ่ม ถ้าพบร่องรอยปิโตรเลียมที่หลุมใดก็จะเจาะหลุมเพิ่มเติมใน บริเวณนั้นอีกจานวนหนึ่ง เพื่อหา ขอบเขตความกว้างยาวของแหล่ง และปริมาณ ปิโตรเลียมที่น่าจะกักเก็บอยู่ในแหล่งนั้น ก่อนที่จะเจาะหลุมทดลองผลิตต่อไป
  • 51. • การเจาะหลุมทดลองผลิตก็เพื่อคานวณหาปริมาณน้ามันที่คาดว่าจะผลิตได้ในแต่ละ วัน และปริมาณน้ามันสารองว่าจะมีมากพอในเชิงพาณิชย์หรือไม่ กล่าวคือ จะ ได้ผลคุ้มกับ การลงทุนผลิตหรือไม่ • • ตามปกติปิโตรเลียมหรือน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติที่สะสมตัวลึกลงไปใต้ผิวโลก จะมีค่าความดันสูงกว่าบรรยากาศอยู่แล้ว การนาน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติจาก พื้นดินขึ้นมา จึงอาศัยแรงดันธรรมชาติดังกล่าว โดยให้มีการควบคุมการไหลที่ เหมาะสม
  • 52. • จากปากหลุมปิโตรเลียมจะไหลผ่านท่อไปยังเครื่องแยกและตอนนี้เองน้าและเม็ด หินดินทรายที่เจือปนจะถูกแยกออกไปก่อนจากนั้นปิโตรเลียมจะถูกส่งผ่านท่อรวม ไปยัง สถานี ใหญ่เพื่อแยกน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติออกจากกันในการแยกขั้น สุดท้ายจะมีก๊าซ เจือปนส่วนน้อยที่ต้องเผาทิ้งเพราะคุณสมบัติของมันไม่ตรงกับ ก๊าซส่วนใหญ่ที่จะทาการ ซื้อขาย back
  • 53. • ประเทศไทยมีการสารวจค้นพบ แหล่งปิโตรเลียมของประเทศ แล้ว 79 แหล่ง และทาการผลิตอยู่ 41 แหล่ง โดยแบ่งเป็น แหล่งปิโตรเลียมบนบก 21 แหล่ง ผลิตอยู่ 20 แหล่ง แหล่งปิโตรเลียมในทะเล 58 แหล่ง ผลิตอยู่ 21 แหล่ง
  • 54. • ที่มา : http://www.dmf.go.th
  • 55. ในปี 2544 ประเทศไทยผลิตปิโตรเลียม รวมทั้งประเทศคิดเทียบเท่า น้ามันดิบ 160,859,880 บาร์เรล หรือ เฉลี่ยวันละ 440,712 บาร์เรล แบ่งเป็นแก๊สธรรมชาติ 694,230 ล้านลูกบาศก์ฟุต เฉลี่ยวันละ 1,900 ล้าน ลูกบาศก์ฟุต แอลพีจีจากโรงแยกแก๊สพลังเพชร น้ามันดิบ 22,364,402 บาร์เรล เฉลี่ยวันละ 61,273 บาร์เรลซึ่งสามารถ แยกตามแหล่งผลิตได้ดังนี้
  • 56. • แก๊สธรรมชาติ แหล่งแก๊สบริษัทยูโนแคล ประกอบด้วย แหล่งแก๊สเอราวัณ บรรพต สตูล ปลาทอง ปลาแดง กะพง ฟูนาน จักรวาล สุราษฎร์ ปลาหมึก โกมินทร์ และไพลิน ในอ่าวไทย แหล่งแก๊สน้ำพอง อยู่ในเขตอาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น แหล่งบงกช เป็น แหล่งแก๊สในอ่าวไทย
  • 57. • น้ามันดิบ แหล่งฝำง อยู่ในเขตอาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มแหล่งน้ามันสิริกิติ์ ประกอบด้วย แหล่งสิริกิติ์ทับแรดหนองมะขาม หนองมะขาม - อีประดู่เฒ่า หนองตูม วัดแตน และ ปรือกระเทียม บริเวณอาเภอ ลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร อาเภอบางระกา จังหวัดพิษณุโลก และอาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย • แหล่งน้ำมันกำแพงแสนและอู่ทอง ประกอบด้วย แหล่งกาแพงแสน อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม และ แหล่ง อู่ทอง อาเภอเมือง และอาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี • แหล่งน้ำมันบึงม่วงและบึงหญ้ำ ประกอบด้วย แหล่งบึงม่วง อาเภอลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร และ แหล่ง บึงหญ้า อาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
  • 58. • แหล่งนำงนวล เป็นแหล่งน้ามันดิบในอ่าวไทย อยู่นอกชายฝั่ง จังหวัดชุมพร • แหล่งน้ำมันวิเชียรบุรีและศรีเทพ อยู่ในเขตอาเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ • แหล่งทำนตะวันและเบญจมำศ เป็นแหล่งน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย back
  • 60. ผู้จัดทำ 1. น.ส ณัฐชา คาบุญเกิด ชั้น ม.6/5 เลขที่ 34 2. น.ส จตุรพร พรมมินทร์ ชั้น ม.6/5 เลขที่ 37